SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
15-Aug-14 1
15-Aug-14 2
15-Aug-14 3
15-Aug-14 4
15-Aug-14 5
1. human error เป็นสิ่งที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ในทุกก้าวของชีวิต
2. วิธีการที่มนุษย์รับรู้ เรียนรู้ และกระทา เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิด error
3. เป้ าหมายของ human factors engineering อยู่ที่การหากลยุทธ์
ที่เอื้อต่อปฏิสัมพันธ์ของบุคคลและระบบที่ป้ องกัน error แทนที่
จะมุ่งทาให้แต่ละคนมีความสมบูรณ์
4. Non-punitive approach เป็นเหตุผลสาคัญที่ทาให้ human
factors research มีบทบาทในบริการสุขภาพ
15-Aug-14 6
Human Factor Engineering
 เป็นการศึกษา และประยุกต์ความเข้าใจในทฤษฎีเกี่ยวกับปัจจัยทาง
กายภาพ วัฒนธรรม และจิตวิทยา ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรม
ความสามารถ ข้อจากัดของมนุษย์
 เพื่อออกแบบเครื่องมือ เครื่องจักร ระบบงาน และสิ่งแวดล้อม
เพื่อลดพฤติกรรมที่บกพร่อง
 การออกแบบระบบ จะไม่พิจารณากรณีนิสัยไม่ดีของคน
15-Aug-14 7
ข้อจากัดของมนุษย์
15-Aug-14 8
15-Aug-14 9
15-Aug-14 10
15-Aug-14 11
15-Aug-14 12
15-Aug-14 13
15-Aug-14 14
ข้อจากัดในการทางาน
ที่เกิดจาก Human
factors
15-Aug-14 15
 ท่าทางและการเคลื่อนไหว
 ความอ่อนล้าและการอดนอน
 ปัจจัยสิ่งแวดล้อม: ภาพ, เสียง, อากาศ, การสั่นสะเทือน
1. ข้อจากัดด้านกายภาพ
15-Aug-14 16
 การรับรู้
 การมองเห็น: Contrast Sensitivity, Depth & Size
Perception
 การได้ยิน: Range of Hearing, Loudness, Sound
Localization
 การประมวลผลในสมอง: Bottom-Up &Top-Down
Processing
 ความทรงจาและสมาธิ
 ตัดสินใจ
2. ข้อจากัดด้านการใช้สมองและประสาทสัมผัส
15-Aug-14 17
 โครงสร้างองค์กร
 การออกแบบงานและหน้าที่
 ระยะเวลาทางานและการทางานเป็นกะ
3. ข้อจากัดด้านบริบทองค์กร
15-Aug-14 18
 การออกแบบที่ไม่ดี เสียงที่ไม่เพียงพอ การรบกวนสมาธิ การสื่อสารที่ไม่เข้าใจ
และปัจจัยอื่นๆ อีกเป็นจานวนมากที่ทาให้เกิดความไร้ประสิทธิภาพขึ้นในชีวิต
 “human factors” เหล่านี้ก็เป็นส่วนหนึ่งของการทางานที่ถูกต้องอีก
จานวนมากในชีวิตของเราด้วย
 ปัญหา human factors ส่วนใหญ่มักจะไม่มีผลกระทบในระยะยาว
ทาให้ไม่ได้รับความสนใจ แต่ก็มีอีกจานวนหนึ่งที่ก่อให้เกิดผลตามมา และอาจจะ
เกิดซ้าขึ้นอีกได้ หากปัจจัยที่เห็นสาเหตุไม่ได้รับการแก้ไข
 ดังนั้น human factors จึงไม่ใช่สิ่งที่ดีหรือไม่ดี มันเป็นองค์ประกอบ
อย่างหนึ่งในชีวิตของเรา
15-Aug-14 19
การวิเคราะห์ และออกแบบ
15-Aug-14 20
15-Aug-14 21
15-Aug-14 22
15-Aug-14 23
15-Aug-14 24
15-Aug-14 25
 ผู้ทางานใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ หรือแบบฟอร์มอย่างไร
 มีการใช้วิธีลัดบ้างหรือไม่ ทาไม
 ในที่ทางานมีอะไรเป็นอุปสรรคต่อการทางาน
 มีแสงเพียงพอหรือไม่
 มีการจัดระเบียบเครื่องมืออุปกรณ์อย่างไร ทาไม
 ผู้ทางานดูตรงไหนระหว่างทางาน
15-Aug-14 26
 มีข้อมูลบางอย่างสูญหายหรือถูกซุกซ่อนอยู่หรือไม่ ผู้ทางาน
แก้ไขสถานการณ์อย่างไร
 เครื่องหมาย ฉลาก คาเตือน อ่านได้ง่ายหรือไม่
 มีเสียงรบกวนในที่ทางานเพียงใด
 มีการขัดจังหวะในการทางานบ่อยเพียงใด
 ช่วงเวลาของการขึ้นเวรนานเท่าใด
15-Aug-14 27
15-Aug-14 28
15-Aug-14 29
15-Aug-14 30
15-Aug-14 31
เราจะออกแบบระบบอย่างไร
15-Aug-14 32
Reducing reliance on memory
Improving information access
Decreasing error opportunities
Simplification
15-Aug-14 33
 ออกแบบระบบงานเพื่อลดการพึ่ง short-term memory หรือ
prolonged attention
 ออกแบบงานให้เป็นระบบเพื่อลด memory-related errors
 ใช้ checklists เพื่อลดการพึ่งความจาสาหรับ high-risk
procedures หรือ multi-step processes ทบทวนว่ามี
การใช้ตามเป้าหมายและใช้ในการส่งมอบงานด้วย
Reducing reliance on memory
15-Aug-14 34
 การมี protocol ในการสรุปย่อให้เพื่อนร่วมทีมทราบ
 ทาสัญลักษณ์สีสาหรับของที่จะใช้คู่กันให้เป็นมาตรฐาน เพื่อป้องกัน
การสลับคู่
 Pre-package ส่วนประกอบต่างๆ ทาให้เป็นชุดสาเร็จรูป
(kits)
Reducing reliance on memory
15-Aug-14 35
15-Aug-14 36
15-Aug-14 37
ปัญหาในการออกแบบ
15-Aug-14 38
 Interaction with machines and
objects
 Negative impact of work
environment
 Workarounds
 Unintended consequences
15-Aug-14 39
 เป็นเรื่องที่มีการศึกษาปัญหา human factors มากที่สุด
 ความผิดพลั้งมักจะมาจาก การฝึกอบรมผูู้ใช้ หรือ การออกแบบ
interface ที่ไม่ดี หรือทั้งสองอย่างร่วมกัน
 การออกแบบที่ไม่ดี จะไม่สอดคล้องกับการใช้งานด้วยสามัญสานึก
 ความบกพร่องในการออกแบบนามาสู่การใช้เครื่องมือที่ไม่ถูกต้อง
 ความเร็ว ความเครียด ความอ่อนล้า จากการใช้งานจะนามาสู่
ความผิดพลั้ง
15-Aug-14 40
 แม้ว่าจะเครื่องมือหรือระบบที่ออกแบบมาอย่างดีที่สุด เราก็ยังอาจจะพบ
ปัญหา human factors เนื่องมาจากสิ่งแวดล้อมทางกายภาพรอบๆ ตัว
เรา
 พื้นที่ การจัด layout อุณหภูมิ แสง คุณภาพของอากาศ ระดับเสียง และ
การรบกวนทางสายตา จะมีผลต่อความสามารถในการทางานของเรา
 สิ่งที่จะเกิดขึ้น เมื่อปัจจัยเหล่านี้เป็นอุปสรรค อาจจะเป็นความไม่สะดวกสบาย
(เช่น ไม่ใส่ใจต่อการนาเสนอ) หรืออาจจะเป็นอันตราย (เช่น อ่านภาพรังสีผิด
เนื่องจากแสงที่ส่องฟิล์มไม่เพียงพอ)
15-Aug-14 41
 ความอ่อนล้า (จากการอดนอน การนอนไม่เป็นเวลา การใช้
กาลังมากเกิน) เป็นตัวเหตุสาคัญของความผิดพลั้ง
 ธุรกิจการบินและการขนส่ง มีการศึกษาเรื่องความอ่อนล้าอย่าง
มาก เพื่อจัดทา safety protocols
15-Aug-14 42
 แม้จะมีการแก้ไขเครื่องมือที่ออกแบบมาไม่ดีแล้ว แต่ก็ใช่
ว่าปัญหาจะหมดไป
 ธรรมชาติของมนุษย์ มักจะหาวิธีการทางานแบบ
“work around” the new system
เพื่อที่จะรักษาวิธีคิดดั้งเดิมของตนไว้
15-Aug-14 43
 ตัวอย่าง:
 เพื่อช่วยให้เจ้าหน้าที่สามารถประกอบชิ้น ส่วนต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง มีการ
ติด matching barcodes ไว้ที่ชิ้นส่วนที่จะเชื่อมต่อกัน ด้วย
การ scan barcodes ที่แต่ละชิ้น ก็จะทาให้มั่นใจว่ามีการประกอบ
ชิ้น ส่วนที่ถูกต้องเข้าด้วยกัน
 อย่างไรก็ตาม วิธีการนี้ก่อให้เกิดความอึดอัดแก่ผูู้ใช้บางคน และแก้ปัญหา
โดยการวางสาเนาของ matching bar code บนกระดาษและ
scan กระดาษแทนที่จะ scan ชิ้นส่วนของเครื่องมือ ทาให้มีโอกาสที่
จะประกอบชิ้นส่วนผิดได้
15-Aug-14 44
การแก้ปัญหาหนึ่ง อาจจะก่อให้เกิดปัญหาใหม่ขึ้นมา
เช่น การสร้างความมั่นใจว่าผู้ป่วยได้รับการบ่งชี้ตัวบุคคลอย่าง
ถูกต้องและการทาความเข้าใจคาร้องเรียน อาจจะทาให้ผู้ป่วย
คิดว่าตนต้องพูดซ้า เนื่องจากไม่มีใครรับฟังในครั้งแรก
15-Aug-14 45
 การแก้ไขปัญหาเชิงระบบเฉพาะจุด โดยไม่มองว่าจะเกิดอะไร
ขึ้นกับส่วนที่เหลือของระบบ ผลที่เกิดขึ้นตามมาโดยไม่ได้ตั้งใจ
อาจจะทาให้การแก้ปัญหานั้นไม่เกิดประโยชน์ หรือเกิดปัญหา
(เช่น การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ป้องกันการให้ K+ มาก
เกินไป อาจจะทาให้ผู้ป่วยที่จาเป็นต้องได้รับ K+ ในปริมาณ
มาก ไม่ได้รับยาดังกล่าว)
15-Aug-14 46
การนาร่องหรือทดสอบภาคสนาม
จะช่วยให้พบผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
ของทางออกที่ต้องการใช้
15-Aug-14 47
15-Aug-14 48
15-Aug-14 49

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555RMUTT
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาduangkaew
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน Dbeat Dong
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยงระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Lek Suthida
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
ผังงาน Flowchart
ผังงาน Flowchartผังงาน Flowchart
ผังงาน FlowchartRatchakorn Ice
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
โครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่นโครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่นPratuan Kumjudpai
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555RMUTT
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 

What's hot (20)

อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยงระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ผังงาน Flowchart
ผังงาน Flowchartผังงาน Flowchart
ผังงาน Flowchart
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
โครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่นโครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่น
 
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
กลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาลกลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาล
 

Similar to Ppt.hfe

นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศWisut Lakhamsai
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]Paweena Kittitongchaikul
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]Paweena Kittitongchaikul
 
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศNoeyy
 
ใบงานท 13
ใบงานท  13ใบงานท  13
ใบงานท 13Saww Sosy
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Mintra Pudprom
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์KaRn Tik Tok
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Soldic Kalayanee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศMMp'New Aukkaradet
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศThanaporn Pengsri
 
ISO27001_Army Audit Office
ISO27001_Army Audit OfficeISO27001_Army Audit Office
ISO27001_Army Audit OfficeRawee Sirichoom
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึการพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึteacher253
 
สารสนเทศบทที่5
สารสนเทศบทที่5สารสนเทศบทที่5
สารสนเทศบทที่5parnee
 
โครงงานความหมาย
โครงงานความหมายโครงงานความหมาย
โครงงานความหมายbenz13749
 
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการkulachai
 

Similar to Ppt.hfe (20)

นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศ
 
Analytical thinking2
Analytical thinking2Analytical thinking2
Analytical thinking2
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบงานท 13
ใบงานท  13ใบงานท  13
ใบงานท 13
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
6
66
6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ISO27001_Army Audit Office
ISO27001_Army Audit OfficeISO27001_Army Audit Office
ISO27001_Army Audit Office
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึการพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
 
สารสนเทศบทที่5
สารสนเทศบทที่5สารสนเทศบทที่5
สารสนเทศบทที่5
 
Inno5
Inno5Inno5
Inno5
 
โครงงานความหมาย
โครงงานความหมายโครงงานความหมาย
โครงงานความหมาย
 
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
 

More from Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 

Ppt.hfe