SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
รายงาน
         เรือง การบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
            ่
                      จัดทําโดย
              นาย ณภัทร คุนเคย เลขที่2
                          
            นาย นครินทร วรรณายก เลขที่4
             นาย ชุตพนธ บัวเพชร เลขที่8
                    ิ
             นาย ปฏิพัทธ กลินศร เลขที่ 9
                             ่
             นาย พิธิวต ศรีมานพ เลขที่11
                      ั
         นาย อัครเดช แพรจรรยา เลขที่ 15
                ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1
                         เสนอ
              คุณครู ทรงศักดิ์ โพธิเ์ อียม
                                        ่
โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร กาญจนบุรี
คํานํา
        รายงานเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่อ ใหศึกษาหาขอมูลตางๆเกี่ยวกับเรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศโดย
ดารแบงขอมูลเปนขั้นๆ คือ บอกความหมายและขั้นตอน การแกปญหาและการวิเคราะหและกําหนดรายละเอียด
ของปญหาการเลือกและออกแบบขั้นตอน การดําเนินการแกปญหา รวมทั้งตรวจสอบและปรับปรุง อีกทั้งมีการ
ถายทอดอัลกอลิทึม ซึ่งประกอบดวยรหัสจําลองและการเขียนผังงานซึ่งจะมีเนื้อหาใหไดอานกัน

                                                            หากรายงานเลมนี้ผิดพลาดก็ขออภัย ณ ที่นี้ดวย


                                                                                            คณะผูจัดทํา
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Information Technology หรือ IT คือ การประยุกตความรูทางวิทยาศาสตรมาใชในระบบสารสนเทศ ตั้งแต
กระบวนการจัดเก็บ ประมวลผล และการเผยแพรสารสนเทศ เพื่อชวยใหไดสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและ
รวดเร็วทันตอเหตุการณ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจประกอบดวย
1. เครื่องมือและอุปกรณตางๆ เชน เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องใชสํานักงาน อุปกรณสื่อสารโทรคมนาคม
ตางๆ รวมทั้งซอฟทแวรทั้งแบบสําเร็จรูปและแบบพัฒนาขึ้นเพื่อใช ในงานเฉพาะดาน ซึ่งเครื่องมือเหลานี้
จัดเปนเครื่องมือทันสมัย และใชเทคโนโลยีระดับสูง (High Technology)
2. กระบวนการในการนําอุปกรณเครื่องมือตางๆ ขางตนมาใชงาน เพื่อรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และ
แสดงผลลัพธเปนสารสนเทศในรูปแบบตางๆ ที่สามารถนําไปใชประโยชนไ ดตอไป เชน การจัดเก็บขอมูล
ในลักษณะของฐานขอมูล เปนตน
ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
         สามารถอธิบายความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในดานที่มีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมดานตาง ๆ ของผูคนไวหลายประการดังตอไปนี้
         ประการที่หนึ่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ ทําใหสังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเปน
สังคมสารสนเทศ
         ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแหงชาติไปเปน
เศรษฐกิจโลก ที่ทําใหระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเชื่อมโยงของเครือขายสารสนเทศ
ทําใหเกิดสังคมโลกาภิวัฒน
         ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหองคกรมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบ
มากขึ้น หนวยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหนวยธุรกิจอื่นเปนเครือขาย การดําเนินธุรกิจมีการ
แขงขันกันในดานความเร็ว โดยอาศัยการใชระบบเครือขายคอมพิวเตอร และการสื่อสารโทรคมนาคมเปน
ตัวสนับสนุน เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลไดงายและรวดเร็ว
         ประการที่สี่ เทคโนโลยีสารสนเทศเปนเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตอบสนองตาม
ความตองการการใชเทคโนโลยีในรูปแบบใหมที่เลือกไดเอง
         ประการที่หา เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหเกิดสภาพทางการทํางานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา
         ประการที่หก เทคโนโลยีสารสนเทศกอใหเกิดการวางแผนการดําเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทํา
ใหวิถีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกไดละเอียดขึ้น
กลาวโดยสรุปแลว เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทที่สําคัญในทุกวงการ มีผลตอการเปลี่ยนแปลงโลกดาน
ความเปนอยู สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา การแพทย เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง ตลอดจนการวิจัย
และการพัฒนาตาง ๆ
ขั้นตอนการแกปญหาดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ


โดยปกติมนุษยมีกระบวนในการแกปญหา ซึ่งประกอบดวย 4 ขั้นตอนคือ
1) การวิเคราะหและกําหนดรายละเอียดของปญหา (State The Problem) ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนแรกสุด
กอนที่จะลงมือแกปญหา
แตผูแกปญหามักจะมองขามไป
จุดประสงคของขั้นตอนนี้ คือ
การทําความเขาใจกับปญหาเพื่อแยกใหออกวาขอมูลที่กําหนดมาในปญหาหรือ
เงื่อนไขของปญหาคืออะไร อีกทั้งวิธีการที่ใชประมวลผล
กลาวโดยสรุปมีองคประกอบในการวิเคราะหดังนี้
การระบุขอมูลเขา
ไดแก การพิจารณาขอมูลและเงื่อนไขที่กําหนดมาในปญหา
การระบุขอมูลออก
ไดแก การพิจารณาเปาหมายหรือสิ่งที่ตองหาคําตอบ
การกําหนดวิธีประมวลผล
ไดแก การพิจารณาขั้นตอนวิธีการไดมาซึ่งคําตอบหรือขอมูลออก
2) การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools And Algorithm Development) ขั้นตอนนี้เปน
ขั้นตอนของการวางแผนในการแกปญหาอยางละเอียดถี่ถวน
หลังจากที่เราทําความเขาใจกับปญหา พิจารณาเงื่อนไขและข อมูลที่มีอยู
และสิ่งที่ตองการหาในการแกปญหาอยางละเอียดถี่ถวน
หลังจากที่เราทําความเขาใจกับปญหา พิจารณาเงื่อนไขและขอมูลที่มีอยู
และสิ่งที่ตองการหาในขั้นตอนที่ 1
แลว
เราสามารถคาดคะเนวิธีการที่จะใชในการแกปญหา
ขั้นตอนนี้จําเปนตองอาศัยประสบการณของผูแกปญหาเปนหลัก
หากผูแกปญหาเคยพบกับปญหาทํานองนี้มาแลวก็สามารถดําเนินการตามแนวทางที่
เคยปฏิบัติมา
ขั้นตอนนี้จะเริ่มจากการเลือกเครื่องมือที่ใชในการแกปญหา
โดยพิจารณาความเหมาะสมระหวางเครื่องมือกับเงื่อนไขตางๆ ของปญหา
ซึ่งหมายรวมถึงความสามารถของเครื่องมือในการแกปญหาดังกลาว
และสิ่งที่สําคัญที่สุดคือความคุนเคยในการใชงานเครื่องมือนั้นๆ ของผูแกปญหา
อีกสิ่งหนึ่งที่ สําคัญในการแกปญหา คือ
ยุทธวิธีที่ใชในการแกปญหา หรือที่เราเรียกวา “ขั้นตอนวิธี” (Algorithm) ในการแกปญหา
หลังจากที่เราไดเครื่องมือชวยแกปญหาแลว
ผูแกปญหาตองวางแผนวาจะใชเครื่องมือดังกลาวเพื่อใหไดผลลัพธที่ถูก
ตองที่สุด การออกแบบขั้นตอนวิธีในการแกปญหา
ผูแกปญหาควรใชแผนภาพหรือเครื่องมือในการแสดงขั้นตอนการทํางาน
เพื่อใหงายตอความเขาใจ เชน ผังงาน (Flowchart) ที่จําลองวิธีขั้นตอนการแกปญหาในรูปแบบสัญลักษณ
รหัสจําลอง (Pseudo Code) ซึงเปนการจําลองขั้นตอนวิธีการปญหาในรูปแบบคําบรรยาย
                              ่
การใชเครื่องมือชวยออกแบบดังกลาว
นอกจากแสดงกระบวนการที่ชัดเจนแลวยังชวยใหผูแกปญหาสามารถหาขอผิดพลาด
ของวิธีการที่ใชไดงายและแกไขไดอยางรวดเร็ว


3) การดําเนินการแกปญหา (Implementation) หลังจากที่ออกแบบขั้นตอนวิธีเรียบรอยแลว
ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่ตองลงมือแกปญหาโดยใชเครื่องมือที่เลือกไว
การแกปญหาดังกลาวใชคอมพิวเตอรเขามาชวยงาน
ขั้นตอนนี้ก็เปนการใชโปรแกรมสําเร็จหรือใชภาษาคอมพิวเตอรเขียนโปรแกรมแก ปญหา
ขั้นตอนนี้ตองอาศัยความรูเกี่ยวกับเครื่องมือที่เลือกใช
ซึ่งผูแกปญหาตองศึกษาใหเขาใจและเชี่ยวชาญ ในขณะดําเนินการ
หากพบแนวทางที่ดีกวาที่ออกแบบไว ก็สามารถปรับเปลี่ยนได
4) การตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement) หลังจากที่ลงมือแกปญหาแลว
ตองตรวจสอบใหแนใจวา
วิธีการนี้ใหผลลัพธที่ถูกตอง
โดยผูแกปญหาตองตรวจสอบวาขั้นตอนวิธีที่สรางขึ้นสอดคลองกับรายละเอียด
ของปญหา ซึ่งไดแก ขอมูลเขาและขอมูลออก
เพื่อใหมั่นใจวาสามารถรองรับขอมูลเขาไดทุกกรณีอยางถูกตองสมบู รณ ในขณะเดียวกันก็ตองปรับปรุง
วิธีการเพื่อใหการแกปญหานี้ไดผลลัพธที่ดี
ที่สุด
ขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนดังกลาวขางตน เปนเสมือนขั้นบันได (Stair) ที่ทําใหมนุษยประสบความสําเร็จในการ
แกปญหาตางๆ
ได รวมทั้งการเขียนหรือพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อแกปญหา ก็ตองใชกระบวนการตามขั้นตอนทั้ง
4 นี้เชนกัน
ความหมายของอัลกอริทึม
อัลกอริทึม (Algorithm ) เปนสวนหนึ่งในขั้นตอนการพัฒนา
โปรแกรมคอมพิวเตอร เกิดจากแนวคิดอยางเปนระบบเพื่อ
นําไปสูผลลัพธที่ตองการ และเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานตาม
ความตองการหรือแกปญหาใด ๆ ประกอบดวยชุดของการทํางาน
ที่ชัดเจน ดังนั้นหากออกแบบอัลกอริทึมไดดี เมื่อนําไปเขียน
โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอรใด ๆ ก็จะไดผลลัพธตามความ
ตองการ
โดยทั่วไปแลวในชีวิตประจําวันของมนุษย ทั้งในการทํางานและ
การแกปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอรหรือไมก็ตาม
มักจะเกี่ยวของกับอัลกอริทึมอยูแลว ยกตัวอยางเชน วิธีการปฐม
พยาบาล ตําราประกอบอาหาร เปนตน ซึ่งอธิบายขั้นตอนตาง ๆ
ดวยภาษาที่อานแลวเขาใจงาย แตในดานคอมพิวเตอรนั้นจําเปนที่
จะตองเรียนรูคําสั่งตางๆ เพิ่มเติมเพื่อใหคอมพิวเตอร สามารถ
เขาใจได
การจําลองเปนขอความ (Algorithm)

ขั้นตอนที่สําคัญในการแกปญหาคือการวางแผน การวางแผนที่ดีจะชวยใหการแกปญหาเปนไปไดโดยงาย ผู
ที่สามารถวางแผนในการแกปญหาไดดีนอกจากจะตองใชประสบการณความรู และความมีเหตุผลแลว ยัง
ควรรูจักวางแผนใหเปนขั้นตอนอยางเปนระเบียบดวย
การจําลองความคิดเปนสวนหนึ่งในขั้นตอนที่สองของการแกปญหา การจําลองความคิดออกมาในลักษณะ
เปนขอความ หรือเปนแผนภาพจะชวยใหสามารถแกปญหาไดดี โดยเฉพาะปญหาที่ยุงยากซับซอน การ
วางแผนจะเปนแนวทางในการดําเนินการแกปญหาตอไป อีกทั้งเปนการแสดงแบบเพื่อใหผูที่เกี่ยวของได
เขาใจและสามารถปฏิบัติตามในแนวทางเดียวกัน ทั้งนี้ก็ดวยวัตถุประสงคอยางเดียวกับกลุมกิจการกอสราง
ซึ่งจําเปนตองมีแบบแปลนเปนเครื่องมือติดตอสื่อสารระหวางผู ออกแบบและผูกอสราง แบบแปลนเหลานั้น
จะอยูในรูปลักษณะของการวาดภาพหรือแสดงเครื่องหมายซึ่งเปนที่เขาใจกันระหวาง ผูเกี่ยวของ แบบแปลน
จะตองจัดทําใหเสร็จกอนที่จะลงมือกอสราง โดยผานการตรวจสอบ ทบทวนและพิจารณาจากผูเกี่ยวของ
หลายฝาย เมื่อเห็นวาเปนที่ถูกตองและพอใจของทุกฝายแลว จึงกอสรางตามแบบนั้น แตถายังไมเปนที่พอใจ
ก็จะพิจารณาแกไขแบบแปลนสวนนั้นๆ
เสียกอนจะไดไมตองรื้อถอนหรือทุบทิ้งภายหลัง และเมื่อตองการซอมแซมหรือตอเติมก็นําเอาแบบแปลน
เดิมมาตรวจสอบและเพิ่มแบบแปลนในสวนนั้นไดโดยงาย การใชแบบแปลนจึงเปนสิ่งที่จําเปนระหวางชาง
กอสราง ผูออกแบบและผูเกี่ยวของอื่นๆ เปนอยางมาก เพราะประหยัดเวลา คาใชจายและเขาใจงาย เมื่อสรุป
รวมแลวแบบแปลนเหลานั้นก็คือขอตกลงใหสรางอาคารของผูจางกับผูรับจางที่อยูในรูปแบบกะทัดรัด
แทนที่จะเขียนเปนขอความที่เปนลายลักษณอักษรอยางยืดยาว และยังเปนเครื่องมือใหชางใชในการกอสราง
อีกดวย
เครื่องมือที่ใชในการจําลองความคิดมักจะประกอบขึ้นดวยเครื่องหมายที่แตกตางกันหลายอยาง แตพอสรุป
ไดเปน 2 ลักษณะ คือ2.
1 การจําลองความคิดเปนขอความหรือคําบรรยาย (Algorithm) เปนการเขียนเคาโครงดวยการบรรยายเปน
ภาษาที่มนุษยใชสื่อสารกัน เพื่อใหทราบถึงขั้นตอนการทํางานของการแกปญหาแตละตอน ในบางครั้งอาจ
ใชคําสั่งของภาษาที่ใชเขียนโปรแกรมก็ได

ตัวอยาง ขั้นตอนการตมบะหมี่
         1. เริ่มตน ตมน้ําใหเดือด ใสบะหมี่ลงในน้ําเดือด
              2. ตมประมาณ 1 นาที
              3. ใสเครื่องปรุงแลวยกลงจากเตา รับประทาน
              4. จบ
2. การจําลองความคิดเปนสัญลักษณหรือผังงาน (Flowchart)

      สัญลักษณ คือ เครื่องหมายรูปแบบตางๆ ซึ่งใชสําหรับสื่อสารความหมายใหเขาใจตรงกัน สถาบัน
มาตรฐานแหงชาติอเมริกา (The American National Standard Institute, ANSI) ไดกําหนดสัญลักษณไวเปน
มาตรฐานแลว สามารถนําไปใชไดตามความเหมาะสมตอไป




วิธีการเขียนรหัสจําลอง (Pseudo Code)


ความหมาย ของ รหัสลําลอง
       รหัสลําลองหรือ pseudocode เปนคําบรรยายที่เขียนแสดงขั้นตอนวิธี(algorithm) ของการเขียน
โปรแกรม โดยใชภาษาที่กระทัดรัด สื่อสารกับโปรแกรมเมอรผูเขียนโปรแกรม โดยอาจใชภาษาที่ใชทั่วไป
และอาจมีภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรมประกอบ แตไมมีมาตรฐานแนนอนในการเขียน pseudocode และ
ไมสามารถนําไปทํางานบนคอมพิวเตอรโดยตรง(เพราะไมใชคําสั่งในภาษาคอมพิวเตอร) และไมขึ้นกับ
ภาษาคอมพิวเตอรภาษาใดภาษาหนึ่ง นิยมใช pseudocode แสดง algorithm มากกวาใชผังงาน เพราะผังงาน
อาจไมแสดงรายละเอียดมากนักและใชสัญลักษณซึ่งทําใหไมสะดวกในการเขียน เชนโปรแกรมใหญ ๆ

หลักเกณฑการเขียนรหัสลําลอง
1
1. สัญลักษณที่ใชในการดําเนินการทางคณิตศาสตรตาง ๆ จะถูกใชงานตามปกติ คือ + สําหรับการบวก –
สําหรับการลบ * สําหรับการคูณ และ/ สําหรับการหาร
2. ชื่อขอมูลใชแทนจํานวนที่จะถูกดําเนินการตามขั้นตอนวิธี
3. การใชคําอธิบายกํากับขั้นตอนวิธี อาจทําโดยใชสัญลักษณ * หรือ ** กํากับหัวทายขอความคําอธิบาย
เพื่อแยกออกมาจากขั้นตอนการทํางาน
4. คําสงวนบางคําที่ใชในภาษาระดับสูงทั่วไปอาจนํามาใช เชน Read หรือ Enter สําหรับการรับขอมูล
เขา และWrite หรือ Print สําหรับการแสดงขอมูลออก
5. การเพิ่มหรือลดระยะเยื้องอยางเหมาะสม เพื่อแสดงระดับของขั้นตอนการทํางานในโครงสรางควบคุม
การทํางานในกลุมเดียวกัน
ผังงาน (Flowchart)
คือ การแสดงขั้นตอนวิธีการที่ใชสัญลักษณที่เขาใจไดงาย แตใหรายละเอียดไดนอยกวา คือ รูปภาพ (Image)
หรือสัญลักษณ(Symbol) ที่ใชเขียนแทนขั้นตอน คําอธิบาย ขอความ หรือคําพูด ที่ใชในอัลกอริทึม
(Algorithm) เพราะการนํา



การเขียนผังงาน ( Flowchart )
ผังงาน คือ แผนภาพที่มีการใชสัญลักษณรูปภาพและลูกศรที่แสดงถึงขั้นตอนการทํางานของโปรแกรมหรือ
ระบบทีละขั้นตอน รวมไปถึงทิศทางการไหลของขอมูลตั้งแตแรกจนไดผลลัพธตามที่ตองการ
         ประโยชนของผังงาน
         • ชวยลําดับขั้นตอนการทํางานของโปรแกรม และสามารถนําไปเขียนโปรแกรมไดโดยไมสับสน
         • ชวยในการตรวจสอบ และแกไขโปรแกรมไดงาย เมื่อเกิดขอผิดพลาด
         • ชวยใหการดัดแปลง แกไข ทําไดอยางสะดวกและรวดเร็ว
         • ชวยใหผูอื่นสามารถศึกษาการทํางานของโปรแกรมไดอยางงาย และรวดเร็วมากขึ้น
         วิธีการเขียนผังงานที่ดี
         • ใชสัญลักษณตามที่กําหนดไว
         • ใชลูกศรแสดงทิศทางการไหลของขอมูลจากบนลงลาง หรือจากซายไปขวา
         • คําอธิบายในภาพควรสั้นกระทัดรัด และเขาใจงาย
         • ทุกแผนภาพตองมีลูกศรแสดงทิศทางเขา - ออก
         • ไมควรโยงเสนเชื่อมผังงานที่อยูไกลมาก ๆ ควรใชสัญลักษณจุดเชื่อมตอแทน
         • ผังงานควรมีการทดสอบความถูกตองของการทํางานกอนนําไปเขียนโปรแกรม

More Related Content

What's hot

รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 3 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 3 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 3 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 3 2555RMUTT
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2Ittidate Pepea
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่Ahc Heinn
 
หลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอมหลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอมฐนกร คำเรือง
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจJanny P
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nattapon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารnantawat nantapetch
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่Ahc Heinn
 

What's hot (17)

K9
K9K9
K9
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 3 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 3 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 3 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 3 2555
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
 
หลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอมหลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอม
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
 

Similar to ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ

กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]Paweena Kittitongchaikul
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]Paweena Kittitongchaikul
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007MMp'New Aukkaradet
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศNoeyy
 
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...ฐนกร คำเรือง
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 9 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 9 54รายงานการประชุมครั้งที่ 9 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 9 54RMUTT
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างcartoon656
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 6 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 6 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 6 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 6 2555RMUTT
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารnatsuda_naey
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestWeerachat Martluplao
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555RMUTT
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานThank Chiro
 
09552062 e learning
09552062 e   learning09552062 e   learning
09552062 e learningKaow Oath
 

Similar to ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ (20)

กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 9 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 9 54รายงานการประชุมครั้งที่ 9 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 9 54
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 6 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 6 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 6 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 6 2555
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontest
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 2 2555
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
09552062 e learning
09552062 e   learning09552062 e   learning
09552062 e learning
 
Algebra Castle
Algebra CastleAlgebra Castle
Algebra Castle
 

More from MMp'New Aukkaradet

More from MMp'New Aukkaradet (6)

งานPPT
งานPPTงานPPT
งานPPT
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
Thai e
Thai eThai e
Thai e
 

ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ

  • 1. รายงาน เรือง การบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ่ จัดทําโดย นาย ณภัทร คุนเคย เลขที่2  นาย นครินทร วรรณายก เลขที่4 นาย ชุตพนธ บัวเพชร เลขที่8 ิ นาย ปฏิพัทธ กลินศร เลขที่ 9 ่ นาย พิธิวต ศรีมานพ เลขที่11 ั นาย อัครเดช แพรจรรยา เลขที่ 15 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1 เสนอ คุณครู ทรงศักดิ์ โพธิเ์ อียม ่ โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร กาญจนบุรี
  • 2. คํานํา รายงานเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่อ ใหศึกษาหาขอมูลตางๆเกี่ยวกับเรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศโดย ดารแบงขอมูลเปนขั้นๆ คือ บอกความหมายและขั้นตอน การแกปญหาและการวิเคราะหและกําหนดรายละเอียด ของปญหาการเลือกและออกแบบขั้นตอน การดําเนินการแกปญหา รวมทั้งตรวจสอบและปรับปรุง อีกทั้งมีการ ถายทอดอัลกอลิทึม ซึ่งประกอบดวยรหัสจําลองและการเขียนผังงานซึ่งจะมีเนื้อหาใหไดอานกัน หากรายงานเลมนี้ผิดพลาดก็ขออภัย ณ ที่นี้ดวย คณะผูจัดทํา
  • 3. ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology หรือ IT คือ การประยุกตความรูทางวิทยาศาสตรมาใชในระบบสารสนเทศ ตั้งแต กระบวนการจัดเก็บ ประมวลผล และการเผยแพรสารสนเทศ เพื่อชวยใหไดสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและ รวดเร็วทันตอเหตุการณ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจประกอบดวย 1. เครื่องมือและอุปกรณตางๆ เชน เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องใชสํานักงาน อุปกรณสื่อสารโทรคมนาคม ตางๆ รวมทั้งซอฟทแวรทั้งแบบสําเร็จรูปและแบบพัฒนาขึ้นเพื่อใช ในงานเฉพาะดาน ซึ่งเครื่องมือเหลานี้ จัดเปนเครื่องมือทันสมัย และใชเทคโนโลยีระดับสูง (High Technology) 2. กระบวนการในการนําอุปกรณเครื่องมือตางๆ ขางตนมาใชงาน เพื่อรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และ แสดงผลลัพธเปนสารสนเทศในรูปแบบตางๆ ที่สามารถนําไปใชประโยชนไ ดตอไป เชน การจัดเก็บขอมูล ในลักษณะของฐานขอมูล เปนตน
  • 4. ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถอธิบายความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในดานที่มีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมดานตาง ๆ ของผูคนไวหลายประการดังตอไปนี้ ประการที่หนึ่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ ทําใหสังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเปน สังคมสารสนเทศ ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแหงชาติไปเปน เศรษฐกิจโลก ที่ทําใหระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเชื่อมโยงของเครือขายสารสนเทศ ทําใหเกิดสังคมโลกาภิวัฒน ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหองคกรมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบ มากขึ้น หนวยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหนวยธุรกิจอื่นเปนเครือขาย การดําเนินธุรกิจมีการ แขงขันกันในดานความเร็ว โดยอาศัยการใชระบบเครือขายคอมพิวเตอร และการสื่อสารโทรคมนาคมเปน ตัวสนับสนุน เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลไดงายและรวดเร็ว ประการที่สี่ เทคโนโลยีสารสนเทศเปนเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตอบสนองตาม ความตองการการใชเทคโนโลยีในรูปแบบใหมที่เลือกไดเอง ประการที่หา เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหเกิดสภาพทางการทํางานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา ประการที่หก เทคโนโลยีสารสนเทศกอใหเกิดการวางแผนการดําเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทํา ใหวิถีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกไดละเอียดขึ้น กลาวโดยสรุปแลว เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทที่สําคัญในทุกวงการ มีผลตอการเปลี่ยนแปลงโลกดาน ความเปนอยู สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา การแพทย เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง ตลอดจนการวิจัย และการพัฒนาตาง ๆ
  • 5. ขั้นตอนการแกปญหาดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยปกติมนุษยมีกระบวนในการแกปญหา ซึ่งประกอบดวย 4 ขั้นตอนคือ 1) การวิเคราะหและกําหนดรายละเอียดของปญหา (State The Problem) ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนแรกสุด กอนที่จะลงมือแกปญหา แตผูแกปญหามักจะมองขามไป จุดประสงคของขั้นตอนนี้ คือ การทําความเขาใจกับปญหาเพื่อแยกใหออกวาขอมูลที่กําหนดมาในปญหาหรือ เงื่อนไขของปญหาคืออะไร อีกทั้งวิธีการที่ใชประมวลผล กลาวโดยสรุปมีองคประกอบในการวิเคราะหดังนี้ การระบุขอมูลเขา ไดแก การพิจารณาขอมูลและเงื่อนไขที่กําหนดมาในปญหา การระบุขอมูลออก ไดแก การพิจารณาเปาหมายหรือสิ่งที่ตองหาคําตอบ การกําหนดวิธีประมวลผล ไดแก การพิจารณาขั้นตอนวิธีการไดมาซึ่งคําตอบหรือขอมูลออก 2) การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools And Algorithm Development) ขั้นตอนนี้เปน ขั้นตอนของการวางแผนในการแกปญหาอยางละเอียดถี่ถวน หลังจากที่เราทําความเขาใจกับปญหา พิจารณาเงื่อนไขและข อมูลที่มีอยู และสิ่งที่ตองการหาในการแกปญหาอยางละเอียดถี่ถวน หลังจากที่เราทําความเขาใจกับปญหา พิจารณาเงื่อนไขและขอมูลที่มีอยู และสิ่งที่ตองการหาในขั้นตอนที่ 1 แลว เราสามารถคาดคะเนวิธีการที่จะใชในการแกปญหา ขั้นตอนนี้จําเปนตองอาศัยประสบการณของผูแกปญหาเปนหลัก หากผูแกปญหาเคยพบกับปญหาทํานองนี้มาแลวก็สามารถดําเนินการตามแนวทางที่ เคยปฏิบัติมา ขั้นตอนนี้จะเริ่มจากการเลือกเครื่องมือที่ใชในการแกปญหา โดยพิจารณาความเหมาะสมระหวางเครื่องมือกับเงื่อนไขตางๆ ของปญหา ซึ่งหมายรวมถึงความสามารถของเครื่องมือในการแกปญหาดังกลาว และสิ่งที่สําคัญที่สุดคือความคุนเคยในการใชงานเครื่องมือนั้นๆ ของผูแกปญหา
  • 6. อีกสิ่งหนึ่งที่ สําคัญในการแกปญหา คือ ยุทธวิธีที่ใชในการแกปญหา หรือที่เราเรียกวา “ขั้นตอนวิธี” (Algorithm) ในการแกปญหา หลังจากที่เราไดเครื่องมือชวยแกปญหาแลว ผูแกปญหาตองวางแผนวาจะใชเครื่องมือดังกลาวเพื่อใหไดผลลัพธที่ถูก ตองที่สุด การออกแบบขั้นตอนวิธีในการแกปญหา ผูแกปญหาควรใชแผนภาพหรือเครื่องมือในการแสดงขั้นตอนการทํางาน เพื่อใหงายตอความเขาใจ เชน ผังงาน (Flowchart) ที่จําลองวิธีขั้นตอนการแกปญหาในรูปแบบสัญลักษณ รหัสจําลอง (Pseudo Code) ซึงเปนการจําลองขั้นตอนวิธีการปญหาในรูปแบบคําบรรยาย ่ การใชเครื่องมือชวยออกแบบดังกลาว นอกจากแสดงกระบวนการที่ชัดเจนแลวยังชวยใหผูแกปญหาสามารถหาขอผิดพลาด ของวิธีการที่ใชไดงายและแกไขไดอยางรวดเร็ว 3) การดําเนินการแกปญหา (Implementation) หลังจากที่ออกแบบขั้นตอนวิธีเรียบรอยแลว ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่ตองลงมือแกปญหาโดยใชเครื่องมือที่เลือกไว การแกปญหาดังกลาวใชคอมพิวเตอรเขามาชวยงาน ขั้นตอนนี้ก็เปนการใชโปรแกรมสําเร็จหรือใชภาษาคอมพิวเตอรเขียนโปรแกรมแก ปญหา ขั้นตอนนี้ตองอาศัยความรูเกี่ยวกับเครื่องมือที่เลือกใช ซึ่งผูแกปญหาตองศึกษาใหเขาใจและเชี่ยวชาญ ในขณะดําเนินการ หากพบแนวทางที่ดีกวาที่ออกแบบไว ก็สามารถปรับเปลี่ยนได 4) การตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement) หลังจากที่ลงมือแกปญหาแลว ตองตรวจสอบใหแนใจวา วิธีการนี้ใหผลลัพธที่ถูกตอง โดยผูแกปญหาตองตรวจสอบวาขั้นตอนวิธีที่สรางขึ้นสอดคลองกับรายละเอียด ของปญหา ซึ่งไดแก ขอมูลเขาและขอมูลออก เพื่อใหมั่นใจวาสามารถรองรับขอมูลเขาไดทุกกรณีอยางถูกตองสมบู รณ ในขณะเดียวกันก็ตองปรับปรุง วิธีการเพื่อใหการแกปญหานี้ไดผลลัพธที่ดี ที่สุด ขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนดังกลาวขางตน เปนเสมือนขั้นบันได (Stair) ที่ทําใหมนุษยประสบความสําเร็จในการ แกปญหาตางๆ ได รวมทั้งการเขียนหรือพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อแกปญหา ก็ตองใชกระบวนการตามขั้นตอนทั้ง 4 นี้เชนกัน
  • 7. ความหมายของอัลกอริทึม อัลกอริทึม (Algorithm ) เปนสวนหนึ่งในขั้นตอนการพัฒนา โปรแกรมคอมพิวเตอร เกิดจากแนวคิดอยางเปนระบบเพื่อ นําไปสูผลลัพธที่ตองการ และเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานตาม ความตองการหรือแกปญหาใด ๆ ประกอบดวยชุดของการทํางาน ที่ชัดเจน ดังนั้นหากออกแบบอัลกอริทึมไดดี เมื่อนําไปเขียน โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอรใด ๆ ก็จะไดผลลัพธตามความ ตองการ โดยทั่วไปแลวในชีวิตประจําวันของมนุษย ทั้งในการทํางานและ การแกปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอรหรือไมก็ตาม มักจะเกี่ยวของกับอัลกอริทึมอยูแลว ยกตัวอยางเชน วิธีการปฐม พยาบาล ตําราประกอบอาหาร เปนตน ซึ่งอธิบายขั้นตอนตาง ๆ ดวยภาษาที่อานแลวเขาใจงาย แตในดานคอมพิวเตอรนั้นจําเปนที่ จะตองเรียนรูคําสั่งตางๆ เพิ่มเติมเพื่อใหคอมพิวเตอร สามารถ เขาใจได
  • 8. การจําลองเปนขอความ (Algorithm) ขั้นตอนที่สําคัญในการแกปญหาคือการวางแผน การวางแผนที่ดีจะชวยใหการแกปญหาเปนไปไดโดยงาย ผู ที่สามารถวางแผนในการแกปญหาไดดีนอกจากจะตองใชประสบการณความรู และความมีเหตุผลแลว ยัง ควรรูจักวางแผนใหเปนขั้นตอนอยางเปนระเบียบดวย การจําลองความคิดเปนสวนหนึ่งในขั้นตอนที่สองของการแกปญหา การจําลองความคิดออกมาในลักษณะ เปนขอความ หรือเปนแผนภาพจะชวยใหสามารถแกปญหาไดดี โดยเฉพาะปญหาที่ยุงยากซับซอน การ วางแผนจะเปนแนวทางในการดําเนินการแกปญหาตอไป อีกทั้งเปนการแสดงแบบเพื่อใหผูที่เกี่ยวของได เขาใจและสามารถปฏิบัติตามในแนวทางเดียวกัน ทั้งนี้ก็ดวยวัตถุประสงคอยางเดียวกับกลุมกิจการกอสราง ซึ่งจําเปนตองมีแบบแปลนเปนเครื่องมือติดตอสื่อสารระหวางผู ออกแบบและผูกอสราง แบบแปลนเหลานั้น จะอยูในรูปลักษณะของการวาดภาพหรือแสดงเครื่องหมายซึ่งเปนที่เขาใจกันระหวาง ผูเกี่ยวของ แบบแปลน จะตองจัดทําใหเสร็จกอนที่จะลงมือกอสราง โดยผานการตรวจสอบ ทบทวนและพิจารณาจากผูเกี่ยวของ หลายฝาย เมื่อเห็นวาเปนที่ถูกตองและพอใจของทุกฝายแลว จึงกอสรางตามแบบนั้น แตถายังไมเปนที่พอใจ ก็จะพิจารณาแกไขแบบแปลนสวนนั้นๆ เสียกอนจะไดไมตองรื้อถอนหรือทุบทิ้งภายหลัง และเมื่อตองการซอมแซมหรือตอเติมก็นําเอาแบบแปลน เดิมมาตรวจสอบและเพิ่มแบบแปลนในสวนนั้นไดโดยงาย การใชแบบแปลนจึงเปนสิ่งที่จําเปนระหวางชาง กอสราง ผูออกแบบและผูเกี่ยวของอื่นๆ เปนอยางมาก เพราะประหยัดเวลา คาใชจายและเขาใจงาย เมื่อสรุป รวมแลวแบบแปลนเหลานั้นก็คือขอตกลงใหสรางอาคารของผูจางกับผูรับจางที่อยูในรูปแบบกะทัดรัด แทนที่จะเขียนเปนขอความที่เปนลายลักษณอักษรอยางยืดยาว และยังเปนเครื่องมือใหชางใชในการกอสราง อีกดวย เครื่องมือที่ใชในการจําลองความคิดมักจะประกอบขึ้นดวยเครื่องหมายที่แตกตางกันหลายอยาง แตพอสรุป ไดเปน 2 ลักษณะ คือ2. 1 การจําลองความคิดเปนขอความหรือคําบรรยาย (Algorithm) เปนการเขียนเคาโครงดวยการบรรยายเปน ภาษาที่มนุษยใชสื่อสารกัน เพื่อใหทราบถึงขั้นตอนการทํางานของการแกปญหาแตละตอน ในบางครั้งอาจ ใชคําสั่งของภาษาที่ใชเขียนโปรแกรมก็ได ตัวอยาง ขั้นตอนการตมบะหมี่ 1. เริ่มตน ตมน้ําใหเดือด ใสบะหมี่ลงในน้ําเดือด 2. ตมประมาณ 1 นาที 3. ใสเครื่องปรุงแลวยกลงจากเตา รับประทาน 4. จบ
  • 9. 2. การจําลองความคิดเปนสัญลักษณหรือผังงาน (Flowchart) สัญลักษณ คือ เครื่องหมายรูปแบบตางๆ ซึ่งใชสําหรับสื่อสารความหมายใหเขาใจตรงกัน สถาบัน มาตรฐานแหงชาติอเมริกา (The American National Standard Institute, ANSI) ไดกําหนดสัญลักษณไวเปน มาตรฐานแลว สามารถนําไปใชไดตามความเหมาะสมตอไป วิธีการเขียนรหัสจําลอง (Pseudo Code) ความหมาย ของ รหัสลําลอง รหัสลําลองหรือ pseudocode เปนคําบรรยายที่เขียนแสดงขั้นตอนวิธี(algorithm) ของการเขียน โปรแกรม โดยใชภาษาที่กระทัดรัด สื่อสารกับโปรแกรมเมอรผูเขียนโปรแกรม โดยอาจใชภาษาที่ใชทั่วไป และอาจมีภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรมประกอบ แตไมมีมาตรฐานแนนอนในการเขียน pseudocode และ ไมสามารถนําไปทํางานบนคอมพิวเตอรโดยตรง(เพราะไมใชคําสั่งในภาษาคอมพิวเตอร) และไมขึ้นกับ ภาษาคอมพิวเตอรภาษาใดภาษาหนึ่ง นิยมใช pseudocode แสดง algorithm มากกวาใชผังงาน เพราะผังงาน อาจไมแสดงรายละเอียดมากนักและใชสัญลักษณซึ่งทําใหไมสะดวกในการเขียน เชนโปรแกรมใหญ ๆ หลักเกณฑการเขียนรหัสลําลอง 1 1. สัญลักษณที่ใชในการดําเนินการทางคณิตศาสตรตาง ๆ จะถูกใชงานตามปกติ คือ + สําหรับการบวก – สําหรับการลบ * สําหรับการคูณ และ/ สําหรับการหาร 2. ชื่อขอมูลใชแทนจํานวนที่จะถูกดําเนินการตามขั้นตอนวิธี 3. การใชคําอธิบายกํากับขั้นตอนวิธี อาจทําโดยใชสัญลักษณ * หรือ ** กํากับหัวทายขอความคําอธิบาย เพื่อแยกออกมาจากขั้นตอนการทํางาน 4. คําสงวนบางคําที่ใชในภาษาระดับสูงทั่วไปอาจนํามาใช เชน Read หรือ Enter สําหรับการรับขอมูล เขา และWrite หรือ Print สําหรับการแสดงขอมูลออก 5. การเพิ่มหรือลดระยะเยื้องอยางเหมาะสม เพื่อแสดงระดับของขั้นตอนการทํางานในโครงสรางควบคุม การทํางานในกลุมเดียวกัน
  • 10. ผังงาน (Flowchart) คือ การแสดงขั้นตอนวิธีการที่ใชสัญลักษณที่เขาใจไดงาย แตใหรายละเอียดไดนอยกวา คือ รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ(Symbol) ที่ใชเขียนแทนขั้นตอน คําอธิบาย ขอความ หรือคําพูด ที่ใชในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนํา การเขียนผังงาน ( Flowchart ) ผังงาน คือ แผนภาพที่มีการใชสัญลักษณรูปภาพและลูกศรที่แสดงถึงขั้นตอนการทํางานของโปรแกรมหรือ ระบบทีละขั้นตอน รวมไปถึงทิศทางการไหลของขอมูลตั้งแตแรกจนไดผลลัพธตามที่ตองการ ประโยชนของผังงาน • ชวยลําดับขั้นตอนการทํางานของโปรแกรม และสามารถนําไปเขียนโปรแกรมไดโดยไมสับสน • ชวยในการตรวจสอบ และแกไขโปรแกรมไดงาย เมื่อเกิดขอผิดพลาด • ชวยใหการดัดแปลง แกไข ทําไดอยางสะดวกและรวดเร็ว • ชวยใหผูอื่นสามารถศึกษาการทํางานของโปรแกรมไดอยางงาย และรวดเร็วมากขึ้น วิธีการเขียนผังงานที่ดี • ใชสัญลักษณตามที่กําหนดไว • ใชลูกศรแสดงทิศทางการไหลของขอมูลจากบนลงลาง หรือจากซายไปขวา • คําอธิบายในภาพควรสั้นกระทัดรัด และเขาใจงาย • ทุกแผนภาพตองมีลูกศรแสดงทิศทางเขา - ออก • ไมควรโยงเสนเชื่อมผังงานที่อยูไกลมาก ๆ ควรใชสัญลักษณจุดเชื่อมตอแทน • ผังงานควรมีการทดสอบความถูกตองของการทํางานกอนนําไปเขียนโปรแกรม