SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
การจัด การนวัต กรรมและ
       สารสนเทศ
หน่ว ยที่1
 ความหมายและความสำา คัญ ของ
   นวัต กรรมและสารสนเทศ
1. ความหมายของนวัต กรรม
 การศึก ษา
 นวัต กรรมการศึก ษา ตรงกับคำา
 ในภาษาอังกฤษว่า Education
 Innovation หมายถึง การนำาเอา
 สิ่งใหม่ๆที่อาจจะอยู่ในรูปแบบ
 ความคิดหรือการกระทำา รวมถึงสิ่ง
 ประดิษฐ์เข้ามาใช้ในกระบวนการ
2. ความหมายของ
 เทคโนโลยีก ารศึก ษา
    เทคโนโลยีก ารศึก ษา หมาย
 ถึง การนำาเทคโนโลยีต่างๆมา
 ประยุกต์ใช้ในการ ศึกษาเพื่อสร้าง
 เสริมกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดได้
 ง่ายและเร็วขึ้น
3. ความหมายของระบบ
 สารสนเทศ
  สารสนเทศ คือ เซ็ตขององค์
ประกอบที่สัมพันธ์กนซึ่งรวบรวม
                  ั
ประมวล จัดเก็บและเผยแพร่
สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสิน
ใจและการควบคุมในองค์กร
โครงสร้างหลักของสารสนเทศ
- ข้อ มูล นำา เข้า (Input) คือ
ข้อมูลที่จำาเป็นเพื่อนำาเข้าสู่ระบบ
เพื่อจะทำาให้เกิดการประมวลผล
ขึน ข้อมูลที่จำาเป็นจะมาจาก
  ้
สภาพแวดล้อมของระบบ ส่วน
จะเป็นอะไรนั้นขึ้นอยู่กบแต่ละ
                          ั
ระบบ
- การประมวลผล
(Processing) คือ การเปลี่ยน
รูปแบบข้อมูลให้อยู่ในรูปที่มีความ
หมาย ซึ่งอาจจะได้แก่ การคำานวณ
การสรุป หรือการจัดหมวดหมูของ  ่
ข้อมูลการประมวลผลประกอบด้วย
องค์ประกอบย่อย ดังนี้
   - บุคลากร - กระบวนการ -
ฮาร์ดแวร์    - ซอฟต์แวร์ - แฟ้ม
- ผลลัพ ธ์ (Output) คือ
สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล
ซึงจะปรากฏอยู่ในรูปรายงานต่าง
  ่
ๆ คุณลักษณะของสารสนเทศที่มี
คุณภาพ ได้แก่
   - ตรงตามความต้องการ
(Relevancy)
   - ความตรงต่อเวลา
(Timeline)
   - ความเที่ยงตรง (Accuracy)
- ส่ว นย้อ นกลับ (Feed
back) เป็นส่วนที่ใช้ในการ
ควบคุมการทำางานของการ
ประมวลผล เพื่อให้การประมวลผล
นันบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
  ้
ผลจากการเปรียบเทียบจะนำา ไปสู่
การปรับข้อมูลนำาเข้าหรือ
กระบวนการประมวลผล
4. ประเภทของระบบ
สารสนเทศที่ใ ช้ใ นองค์ก ร
    - ระบบประมวลผลรายการ
(Transaction Processing
System: TPS) ระบบประมวลผล
รายการเป็นพื้นฐานของระบบธุรกิจ
ซึ่งเป็นระบบที่ช่วยผู้บริหารใน
ระดับปฏิบัติการระบบจะใช้
คอมพิวเตอร์ในการบันทึกรายการ
- ระบบสารสนเทศเพือ
                  ่
การบริห าร
(Management Information
 System: MIS) คือ ระบบที่ผลิต
 สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการเพื่อ
 ใช้ในการบริหารงานให้เป็นไป
 อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทั่วไปแล้ว
 ระบบ MIS จะเป็นข้อมูลภายใน
 องค์กร ไม่เกียวกับข้อมูลภายนอก
              ่
-  ระบบ สนับ สนุน การตัด สิน ใจ
(Decision Support System:
DSS) ส่วนมากเป็นระบบที่พัฒนาขึ้น
เพื่อช่วยให้การตัดสินใจของผู้บริหาร
เป็นไปได้อย่างสะดวก ระบบจะ
สามารถสรุปหรือเปรียบเทียบข้อมูล
จากทุกแหล่งไม่ว่าจะเป็นข้อมูล
ภายในหรือข้อมูลภายนอกองค์กร
- ระบบสารสนเทศเพื่อ ผู้
บริห ารระดับ สูง (Executive
Support System: ESS) เป็น
ระบบที่ช่วยให้ผู้บริหารระดับสูง
ติดตามผลการปฏิบัติงานของ
องค์การ ติดตามกิจกรรมของคู่
แข่ง ชี้ให้เห็นปัญหา มองหา
โอกาส และคาดคะเนแนวโน้ม
ต่างๆ ในอนาคต
- ระบบผู้เ ชี่ย วชาญ (Expert
System) ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตก
ต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนืองจาก
                           ่
ระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ
การจัดการความรู้ (Knowledge
management) มากกว่า
สารสนเทศ และถูกออกแบบให้
ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียว
กับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้
หน่ว ยที่ 2
   บทบาทของสารสนเทศในการ
    บริห ารองค์ก รทางการศึก ษา
1. ลัก ษณะที่เ ทคโนโลยีส ามารถ
เพิ่ม ประสิท ธิภ าพการบริห าร
จัด การ
     - การทำา งานได้อ ย่า งต่อ
เนื่อ งโดยไม่ร ู้จ ัก เหน็ด เหนื่อ ย
ทำาให้สามารถประยุกต์ไปใช้ในงานที่
ต้องการให้บริการได้ตลอด 24
- การทำา งานได้โ ดยไม่ม ีผ ิด
พลาด ทำาให้สามารถนำาไปใช้
ในงานจำานวนมากที่ต้องการความ
ถูกต้องและเกิดผลที่ถกต้อง เช่น
                    ู
การตรวจข้อสอบ การอ่านบาร์โค้ด
    - การทำา งานได้อ ย่า ง
รวดเร็ว ทำาให้สามารถนำาไปใช้
กับงานที่มีปริมาณมาก ทำาให้งาน
เสร็จได้ภายในเวลาอันรวดเร็ว
    - การทำา งานอย่า งเป็น ระบบ
  ทำาให้เกิดความชัดเจนของขั้น
2. การใช้น วัต กรรมและ
เทคโนโลยีใ นการพัฒ นา
ประสิท ธิภ าพการบริห ารจัด การ
ศึก ษา
    การเตรียมความพร้อมของทุก
องค์ประกอบ และให้องค์ประกอบ
เหล่านั้นทำางานอย่างสอดคล้องกัน
โดยต้องดำาเนินการในเรื่องที่สำาคัญ
ดังนี้
    - การจัด ทำา แผนการนำา
เทคโนโลยีเ ข้า มาใช้ ต้องให้ผู้
- การพัฒ นาหรือ จัด หาระบบ
เทคโนโลยีท ี่ต ้อ งการนำา เข้า มา
ใช้ จะต้องดำาเนินการอย่างเป็น
ระบบ โดยมีการพิจารณาศึกษา
วิเคราะห์และคัดเลือกด้วยวิธีการที่
กำาหนดไว้อย่างชัดเจน
   - การเลือ กเทคโนโลยีท ี่
เหมาะสม มีความสำาคัญต่อความ
สำาเร็จหรือความล้มเหลวของการ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการ
บริหารจัดการมาก เนื่องจากระบบ
- การพัฒ นาหรือ จัด หาระบบ
เทคโนโลยีท ี่ต ้อ งการนำา เข้า มา
ใช้ จะต้องดำาเนินการอย่างเป็น
ระบบ โดยมีการพิจารณาศึกษา
วิเคราะห์และคัดเลือกด้วยวิธีการที่
กำาหนดไว้อย่างชัดเจน
   - การเลือ กเทคโนโลยีท ี่
เหมาะสม มีความสำาคัญต่อความ
สำาเร็จหรือความล้มเหลวของการ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการ
บริหารจัดการมาก เนื่องจากระบบ
- การพัฒ นาบุค ลากรที่
ควบคุม การใช้เ ทคโนโลยี
เป็นสิ่งจำาเป็นที่จะช่วยให้การ
ทำางานประสบความสำาเร็จและมี
ประสิทธิภาพ
   - การบำา รุง รัก ษา เป็นเรื่อง
สำาคัญมากที่การใช้เทคโนโลยี
ทางการศึกษาจะต้องมีแผนการ
บำารุงรักษาระบบงาน ซึ่งมีทั้ง
Hardware, Software และ
- การติด ตามประเมิน ผล
ระบบงานบริหารจัดการที่ใช้
เทคโนโลยีเข้ามาช่วยควรมีการ
ประเมินผลอย่างน้อย 2 ส่วน ด้วย
กัน ส่วนแรกต้องประเมินผลงานที่
กำาหนดไว้ในแผนงาน ส่วนที่สองที่
มีความสำาคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่ากันก็
คือ การประเมินความพึงพอใจของ
ผู้ใช้บริการ เพื่อสะท้อนให้เห็น
หน่ว ยที่ 3
   นวัต กรรมทางการศึก ษาและ
        การบริห ารการศึก ษา
1. เทคโนโลยีก ารศึก ษาใน
   ฐานะองค์ค วามรู้
     เทคโนโลยีทางการศึกษาใน
   ฐานะที่เป็นองค์ความรู้พบได้จาก
   การที่มหาวิทยาลัยต่างเปิดสอน
   วิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา
   ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญา
2. เทคโนโลยีก ารศึก ษาใน
 ฐานะเครื่อ งมือ ในการบริห าร
 - เป็น เครื่อ งมือ ในด้า นการ
 บริห ารองค์ก ร เพื่อให้ดำาเนินงาน
 ตามวิธีระบบและบรรลุวัตถุประสงค์
 - การเป็น เครื่อ งมือ ด้า นธุร การ
  ได้แก่ การผลิตเอกสารการนัด
 หมาย การทำาทะเบียนนักศึกษา
- ด้า นการบริห ารงาน
บุค ลากร เป็นการนำาเทคโนโลยี
มาใช้ด้านการบริหารงานบุคลากร
เพื่อการแต่งตั้งบุคลากรเข้ารับ
ตำาแหน่งให้เหมาะสมกับหน้าที่
โดยสอดคล้องกับความสามารถของ
แต่ละบุคคล ทั้งนี้เพื่อให้การดำาเนิน
งานขององค์กรเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ
    - การบริห ารวิช าการ จะใช้
- ด้า นการเผยแพร่แ ละ
 ประชาสัม พัน ธ์ โดยการผลิตสื่อ
 ต่าง ๆ เพื่อใช้ในการ
 ประชาสัมพันธ์กิจการของสถาบัน
 การศึกษา และการสร้างความ
 เข้าใจอันดีระหว่างสถาบันการ
 ศึกษากับชุมชน
3. เทคโนโลยีก ารศึก ษาใน
 ฐานะเครื่อ งมือ ทางวิช าการ
- การยึด สื่อ สิ่ง ของเป็น หลัก   
การใช้รูปแบบนี้ตั้งอยู่บนความเชื่อ
ที่ว่า การเรียนรู้อาจเกิดขึ้นได้โดยที่
ผู้เรียนไม่ต้องเผชิญหน้ากับผู้สอน
แต่อาจเรียนได้จากสื่อประสม
ประเภทต่าง ๆ ในรูปของการ
ศึกษาทางไกลโดยทั่วไปการใช้ใน
ลักษณะนี้จะพบในมหาวิทยาลัย
แบบเปิด ซึ่งมีการใช้อยู่ 3 ลักษณะ
คือ
    1.การใช้สื่อสิ่งพิมพ์เป็นแกน
4. เทคโนโลยีก ารศึก ษาใน
 ฐานะเครื่อ งมือ บริก ารทาง
 วิช าการ
    หน้าที่สำาคัญของสถานศึกษา
 คือการบริการทางวิชาการ ให้แก่
 บุคลากรภายในและให้บริการแก่
 ชุมชนในฐานะเครื่องมือสำาหรับ
 การบริการทางวิชาการเทคโนโลยี
 การศึกษาจะช่วยเผยแพร่ความรู้
 ให้แก่ประชาชนได้ ไม่ว่าจะอยู่ใน
5. เทคโนโลยีก ารศึก ษาใน
 ฐานะทรัพ ยากรเพื่อ สนับ สนุน
 การเรีย น
    ทรัพยากรการเรียน หมายถึง
 ทรัพยากรทุกชนิดที่ผู้เรียนสามารถ
 ใช้แบบเชิงเดี่ยวหรือแบบผสม
 อย่างไม่เป็นทางการ เพื่อเอื้อ
 อำานวยต่อการเรียนรู้ ซึ่งได้แก่ ข้อ
 สนเทศ/ข่าวสาร บุคคล วัสดุ เครื่อง
6. เทคโนโลยีแ ละนวัต กรรม
 ทางการศึก ษาในฐานะเครื่อ ง
 มือ ในการพัฒ นาบุค ลากร
     ในการพัฒนาบุคลากร การ
 อบรมเป็นวิธีการหนึงที่สถาบันการ
                   ่
 ศึกษาและองค์การต่าง ๆ ใช้กัน
 อย่างแพร่หลายในฐานะเครื่องมือ
 ในด้านการพัฒนาบุคลากร หน่วย
 งานที่จัดอบรมจะต้องรู้ว่าหัวข้อใน
 การจัดอบรมได้แก่หัวข้ออะไร ส่วน
7. เทคโนโลยีแ ละนวัต กรรม
 ทางการศึก ษาในฐานะเครื่อ ง
 มือ สนับ สนุน การเรีย นรู้
     1. นำาหลักสูตรซึ่งตังอยู่บนพืนฐาน
                         ้        ้
 ทีเร้าใจเข้าสูห้องเรียน
   ่           ่
     2. จัดหาเครื่องมือซึ่งจะกระตุนการ
                                    ้
 เรียนรู้
     3. ให้โอกาสแก่นกเรียนและครู
                       ั
 มากขึ้นในการให้ข้อมูลย้อนกลับ
     4. สร้างชุมชนวิชาการในท้องถิน    ่
8. เทคโนโลยีแ ละนวัต กรรม
 ทางการศึก ษาในฐานะ
 สนับ สนุน การสอน
    เทคโนโลยีการศึกษามีบทบาท
 อยู่ 2 ลักษณะ คือ
    1. การใช้โปรแกรม
 คอมพิวเตอร์ในห้องเรียนในรูป
 ของการฝึกปฏิบัติ
    2. การใช้โปรแกรมทำางาน
หน่ว ยที่ 4
การสื่อ สารและระบบเครือ ข่า ย
1. การนำา เทคโนโลยีส ารสนเทศ
 และการสื่อ สารเข้า มาใช้ใ น
 การศึก ษา
     การศึกษาเป็นกิจกรรมที่สำาคัญ
 ที่สุดอย่างหนึ่งของมนุษย์ จึงได้มี
 การพัฒนาการศึกษามาอย่างต่อ
 เนื่องโดยการพัฒนาองค์ประกอบ
 และวิธีการต่าง ๆ ทำาให้เกิดการ
2. องค์ป ระกอบของเทคโนโลยี
 การศึก ษา
    บริษัท IBM ได้ใช้หลักการ 4
 C’s Components ในการ
 ประเมินความพร้อมของประเทศ
 ต่าง ๆ ในการให้บริการความรู้ด้วย
 ระบบ e-Learning หลักการ 4
 C’s Components ประกอบด้วย
 Connectivity, Content,
- Connectivity หมายถึง
องค์ประกอบด้านเครื่อง
คอมพิวเตอร์และการเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ต การต่อเชื่อม
อินเทอร์เน็ตเป็นส่วนประกอบของ
องค์ประกอบนี้ เนื่องจาก
อินเทอร์เน็ตกำาลังมีบทบาทสำาคัญ
อย่างยิ่งที่จะทำาให้เกิดคุณค่าใน
การใช้เทคโนโลยีเข้าไป
พัฒนาการศึกษา การเชื่อมต่อ
- Content หมายถึง สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เพื่อการสื่อสาร
แลกเปลี่ยนและเรียนรู้ ประกอบ
ด้วย ข้อความ รูปภาพ
Animation และภาพเคลื่อนไหว
ซึ่งรวมถึงวิดีทัศน์ด้วย องค์
ประกอบของ Content แบ่งได้
เป็น 3 ส่วน คือ การสร้าง
การนำาเสนอ และ การเข้าถึง
- Capacity       building หมาย
ถึง การสร้างขีดความสามารถการ
เรียนรู้ของผู้เกียวข้องตั้งแต่ผู้กำากับ
                 ่
นโยบาย ผู้บริหารหน่วยงาน ครู
ผู้สอน นักเรียน ตลอดจนถึงผู้
สร้างสื่อและเจ้าหน้าที่ทางด้าน
เทคนิค ครูผู้สอนจำาเป็นต้องมี
ทักษะที่จำาเป็น 4 ด้าน คือ การใช้
สื่อ ทักษะทางด้านเทคนิค การ
- Culture    หมายถึง
วัฒนธรรมในการเรียนการสอนที่
จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงจากการ
เรียนการสอนที่ครูพบกับนักเรียน
และให้ความรู้ตามที่กำาหนดไว้ใน
ตารางเรียน ซึ่งมีเวลาที่ชัดเจน
และจำากัด โดยครูเป็นผู้สอนให้
ความรู้แก่นักเรียนไปตามขั้นตอนที่
หน่ว ยที่ 5
 นวัต กรรมกับ การพัฒ นาระบบ
             สารสนเทศ
1. ใช้ใ นการคำา นวณ เครื่อง
 คอมพิวเตอร์ในยุคแรก ๆที่สร้าง
 ขึ้นถูกนำาไปใช้ประโยชน์ทางด้าน
 คำานวณก่อน
2. ใช้เ ก็บ ข้อ มูล และคำา นวณ
 ควบคู่ก ัน เกิดจากวิวัฒนาการ ใน
 ความสามารถสร้างสื่อเก็บข้อมูล
3. ใช้ท ำา งานในสำา นัก งานทั่ว ไป
    เป็นวิวัฒนาการสำาคัญโดยการ
 สร้างโปรแกรมชุดคำาสั่งงาน
 คอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมคำา
 สั่งงานที่มีขนาดใหญ่และสามารถ
 เก็บข้อมูลได้มากขึ้นด้วย
 วิวัฒนาการสำาคัญที่ควรกล่าวถึงก็
 คือ การใช้คอมพิวเตอร์ในการ
 ประมวลผลคำา (Word
4. ใช้ใ นงานกราฟิก และภาพ
 เคลื่อ นไหว เป็นวิวัฒนาการต่อ
 มาในปี พ.ศ. 2527 คือ การก้าว
 ไปสู่การใช้คอมพิวเตอร์ในงาน
 กราฟิก รูป และภาพเคลื่อนไหว
 เป็นการก้าวไปสู่ยุคสื่อผสม
 (Multimedia) ซึ่งต้องมีสื่อเก็บ
 ข้อมูลขนาดใหญ่และมีความเร็วสูง
5. ใช้ใ นการสื่อ สาร เป็น
 วิวัฒนาการที่สำาคัญอย่างยิ่ง ได้แก่
  การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ และ
 การสื่อสารทางไกลร่วมกัน เกิด
 เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
 สื่อสาร (Information and
 Telecommunication
 Technology) ทำาให้เกิด
6. การประยุก ต์เ ทคโนโลยี
 สารสนเทศและการสื่อ สาร เป็น
 นวัตกรรมทางการศึกษาทีสำาคัญใน ่
 ปัจจุบัน มีมากมาย ทีสำาคัญควรจะ
                         ่
 ได้ทำาความเข้าใจได้แก่ สือมัลติมเดีย,
                             ่       ี
 Digital Content, e-Library และ
 e-Learning
    - สือมัลติมีเดีย หมายถึง สื่อทีใช้กบ
        ่                          ่   ั
 เครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งประกอบด้วย
 ตัวเลข ข้อความ ภาพนิง ภาพ ่
 เคลือนไหว และเสียง
      ่
- E-Library เป็นการเก็บ
รวบรวมข้อมูลและความรู้ที่อยู่ใน
รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีระบบ
CMS (Content Management
System) เป็นตัวจัดการ เพื่อให้
ข้อมูลและความรู้ถูกเก็บอย่างเป็น
ระบบ
   - E-Learning เป็นรูปแบบการ
หน่ว ยที่ 6
การบริห ารระบบสารสนเทศใน
               องค์ก ร
ความพร้อ มของบุค ลากรใน
 สถานศึก ษา
 1. หลัก สูต ร สถานศึกษาซึ่งสอน
 ระดับอนุบาลและประถมศึกษา
 นักเรียนส่วนมากยังไม่สามารถคิด
 ในสิ่งที่เป็นนามธรรม ครูผู้สอนจึง
 ต้องช่วยให้เด็กสามารถคิดโดยนำา
สำาหรับสถานศึกษาที่สอนใน
ระดับมัธยมศึกษา เนื่องจากเด็กวัย
นีกำาลังอยากรู้อยากเห็นและอยาก
  ้
พิสูจน์ความสามารถของตนเอง
การนำานวัตกรรมและเทคโนโลยี
เข้ามาใช้จะเป็นการเสริม
ประสบการณ์ที่ดียิ่ง อินเทอร์เน็ตที่
นำามาใช้ในโรงเรียนจะช่วยให้
นักเรียนค้นหาความรู้เพิ่มเติมทั้งที่
สถานศึกษาที่สอนหลักสูตร
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า นักศึกษาใน
วัยนี้เป็นวัยที่กำาลังเตรียมตัวเข้าสู่
อาชีพ และสังคมในมหาวิทยาลัยมี
แนวโน้มจะใช้เทคโนโลยีมากขึ้น
ดังนั้น จึงเป็นความจำาเป็นที่
นักศึกษาจะต้องฝึกฝนและเรียนรู้
เกียวกับการใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ
   ่
2. นโยบายของหน่ว ยงานต้น
 สัง กัด
    สถานศึกษาทุกแห่งไม่ว่าจะ
 ทำาการสอนในระดับใด จะต้องตอบ
 สนองนโยบายของรัฐบาล แต่การ
 ตอบสนองนโยบายนั้นจะทำาได้หรือ
 ไม่ขึ้นอยู่กับความพร้อมภายใน
 สถานศึกษา ถ้าสถานศึกษาไม่มี
 ความพร้อมก็ไม่สามารถตอบสนอง
3. การสนับ สนุน จากผู้บ ริห าร
 สถานศึก ษา
    อำานาจในการบริหารโรงเรียน
 ส่วนมากอยู่ที่ผู้อำานวยการหรือ
 อาจารย์ใหญ่ แต่ในสถาบัน
 อุดมศึกษาผู้มีอำานาจสูงสุด ได้แก่
 อธิการบดีหรือสภามหาวิทยาลัย
 ถ้าผู้บริหารเป็นผู้ที่ไม่สนใจด้าน
4. การใช้อ ิน เทอร์เ น็ต ในการ
 เรีย นการสอน
    - การสอนในชั้น เรีย นปกติ
 จะเป็นการใช้สอนโดยตรงหรือ
 เป็นการใช้สอนเสริมการสอนระบบ
 ปกติ
    - มหาวิท ยาลัย เสมือ น
 (Virtual University) เป็นการ
 เรียนที่ผู้เรียนจะเรียนรู้เนื้อหาจาก
- ห้อ งเรีย นเสมือ น (Virtual
classroom) ห้องเรียนลักษณะนี้
เป็นห้องเรียนที่ผู้เรียนจะอยู่ในส่วน
ต่าง ๆ ของโลก โดยผู้สอนจะสอน
อยู่ในห้องส่งซึ่งอาจจะเป็น
ห้องเรียนจริงก็ได้ แล้วส่งสัญญาณ
ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้ง
ภายในหรือภายนอกสถานศึกษา
5. การใช้เ ทคโนโลยีด าวเทีย มเป็น
 เครื่อ งมือ ในการเรีย นการสอน
     ดาวเทียมสามารถใช้ในการสอน
 แบบทางไกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 ลักษณะการทำางานคือ ครูจะสอน
 นักเรียนในห้องเรียนซึ่งทำาหน้าทีเป็น
                                 ่
 ห้องส่งสัญญาณ ภาพและเสียงจาก
 ห้องควบคุมจะถูกส่งจากสถานีสงภาค
                               ่
 พืนดินขึ้นไปยังสถานีถายทอดบน
   ้                   ่
 ดาวเทียมซึ่งลอยอยู่ในอวกาศ และ
6. การเรีย นการสอนโดยใช้
 เทคโนโลยีก ารประชุม ทาง
 ไกลด้ว ยวิด ีท ัศ น์
    เทคโนโลยีการประชุมทางไกล
 ด้วยวิดีทัศน์ (Video
 Teleconference) เป็น
 เทคโนโลยีการส่งสัญญาณจาก
 ห้องส่งไปยังสถานีรับโดยผ่านทาง
 สายสัญญาณ ผ่านไมโครเวฟ
7. การใช้ไ ปรษณีย ์
 อิเ ล็ก ทรอนิก ส์เ พื่อ การเรีย น
 การสอน
 สถานศึกษาสามารถใช้ไปรษณีย์
 อิเล็กทรอนิกส์มาเป็นเครื่องมือใน
 การจัดการเรียนการสอนได้ใน
 ลักษณะดังต่อไปนี้
     1. การอภิปรายกลุ่ม
8. การใช้เ ว็บ เพื่อ การเรีย นการ
   สอน
    แบ่งได้เป็น 3 รูปแบบ คือ
    1. ใช้เว็บทั้งวิชา ผู้เรียนจะเรียน
   ผ่านทางคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ
   กับระบบอินเทอร์เน็ต
    2. ใช้เว็บเสริม เป็นการเรียน
   การสอนที่ผู้เรียนและผู้สอนจะพบ
   กันในห้องเรียนแต่เนื้อหาและ
   กิจกรรมที่จะทำาระหว่างเรียน
    3. การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ
9. การใช้ค อมพิว เตอร์ช ่ว ยสอน
 เพื่อ การเรีย นการสอน
    การนำาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย
 สอนหรือมาใช้งาน สามารถ
 กระทำาได้หลายลักษณะ ได้แก่
   1. ใช้สอนแทนผู้สอนทั้งในและ
   นอกห้องเรียน ทั้งระบบสอนแทน
   บททบทวน และสอนเสริม
   2. ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน
   ทางไกลผ่านสื่อโทรคมนาคม
3. ใช้สอนเนื้อหาที่ซับซ้อนไม่
สามารถแสดงของจริงได้ เช่น
โครงสร้างของโมเลกุลของสาร

4. เป็นสื่อช่วยสอนการควบคุม
เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ หรือ
วิชาที่มอันตรายโดยการสร้าง
        ี
สถานการณ์จำาลอง เช่น การ
สอนขับเครื่องบิน การควบคุม
เครื่องจักรกลขนาดใหญ่
จบการนำา
  เสนอ

 สวัส ดี

More Related Content

What's hot

การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศpuppypingpong
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษาการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษาPrachyanun Nilsook
 
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...Mnr Prn
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาParitat Pichitmal
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ในระดับมัธยมศึกษา237400
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์  ในระดับมัธยมศึกษา237400  การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์  ในระดับมัธยมศึกษา237400
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ในระดับมัธยมศึกษา237400 Noo Bam
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารrwin281
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสถาบันวิชาชีพด้านสุขภาพ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสถาบันวิชาชีพด้านสุขภาพ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสถาบันวิชาชีพด้านสุขภาพ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสถาบันวิชาชีพด้านสุขภาพ Pattie Pattie
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้phoom_man
 

What's hot (20)

การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Km16-17
Km16-17Km16-17
Km16-17
 
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษาการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
 
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
ใหม่
ใหม่ใหม่
ใหม่
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ในระดับมัธยมศึกษา237400
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์  ในระดับมัธยมศึกษา237400  การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์  ในระดับมัธยมศึกษา237400
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ในระดับมัธยมศึกษา237400
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสถาบันวิชาชีพด้านสุขภาพ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสถาบันวิชาชีพด้านสุขภาพ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสถาบันวิชาชีพด้านสุขภาพ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสถาบันวิชาชีพด้านสุขภาพ
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 

Similar to นวัตกรรมและสารสนเทศ

วิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมวิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11sangkom
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมงานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
09552062 e learning
09552062 e   learning09552062 e   learning
09552062 e learningKaow Oath
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)siri123001
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษางาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษาTawatchai Sangpukdee
 
Work4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open endedWork4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open endedsaowana
 

Similar to นวัตกรรมและสารสนเทศ (20)

นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
วิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมวิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรม
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมงานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
 
09552062 e learning
09552062 e   learning09552062 e   learning
09552062 e learning
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
 
1
11
1
 
1
11
1
 
1
11
1
 
cai
cai cai
cai
 
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษางาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
 
1
11
1
 
งานกลุ่ม .
งานกลุ่ม .งานกลุ่ม .
งานกลุ่ม .
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
Erp present
Erp presentErp present
Erp present
 
Work4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open endedWork4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open ended
 

นวัตกรรมและสารสนเทศ

  • 2. หน่ว ยที่1 ความหมายและความสำา คัญ ของ นวัต กรรมและสารสนเทศ 1. ความหมายของนวัต กรรม การศึก ษา นวัต กรรมการศึก ษา ตรงกับคำา ในภาษาอังกฤษว่า Education Innovation หมายถึง การนำาเอา สิ่งใหม่ๆที่อาจจะอยู่ในรูปแบบ ความคิดหรือการกระทำา รวมถึงสิ่ง ประดิษฐ์เข้ามาใช้ในกระบวนการ
  • 3. 2. ความหมายของ เทคโนโลยีก ารศึก ษา เทคโนโลยีก ารศึก ษา หมาย ถึง การนำาเทคโนโลยีต่างๆมา ประยุกต์ใช้ในการ ศึกษาเพื่อสร้าง เสริมกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดได้ ง่ายและเร็วขึ้น
  • 4. 3. ความหมายของระบบ สารสนเทศ สารสนเทศ คือ เซ็ตขององค์ ประกอบที่สัมพันธ์กนซึ่งรวบรวม ั ประมวล จัดเก็บและเผยแพร่ สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสิน ใจและการควบคุมในองค์กร โครงสร้างหลักของสารสนเทศ
  • 5. - ข้อ มูล นำา เข้า (Input) คือ ข้อมูลที่จำาเป็นเพื่อนำาเข้าสู่ระบบ เพื่อจะทำาให้เกิดการประมวลผล ขึน ข้อมูลที่จำาเป็นจะมาจาก ้ สภาพแวดล้อมของระบบ ส่วน จะเป็นอะไรนั้นขึ้นอยู่กบแต่ละ ั ระบบ
  • 6. - การประมวลผล (Processing) คือ การเปลี่ยน รูปแบบข้อมูลให้อยู่ในรูปที่มีความ หมาย ซึ่งอาจจะได้แก่ การคำานวณ การสรุป หรือการจัดหมวดหมูของ ่ ข้อมูลการประมวลผลประกอบด้วย องค์ประกอบย่อย ดังนี้ - บุคลากร - กระบวนการ - ฮาร์ดแวร์ - ซอฟต์แวร์ - แฟ้ม
  • 7. - ผลลัพ ธ์ (Output) คือ สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล ซึงจะปรากฏอยู่ในรูปรายงานต่าง ่ ๆ คุณลักษณะของสารสนเทศที่มี คุณภาพ ได้แก่ - ตรงตามความต้องการ (Relevancy) - ความตรงต่อเวลา (Timeline) - ความเที่ยงตรง (Accuracy)
  • 8. - ส่ว นย้อ นกลับ (Feed back) เป็นส่วนที่ใช้ในการ ควบคุมการทำางานของการ ประมวลผล เพื่อให้การประมวลผล นันบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ้ ผลจากการเปรียบเทียบจะนำา ไปสู่ การปรับข้อมูลนำาเข้าหรือ กระบวนการประมวลผล
  • 9. 4. ประเภทของระบบ สารสนเทศที่ใ ช้ใ นองค์ก ร - ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing System: TPS) ระบบประมวลผล รายการเป็นพื้นฐานของระบบธุรกิจ ซึ่งเป็นระบบที่ช่วยผู้บริหารใน ระดับปฏิบัติการระบบจะใช้ คอมพิวเตอร์ในการบันทึกรายการ
  • 10. - ระบบสารสนเทศเพือ ่ การบริห าร (Management Information System: MIS) คือ ระบบที่ผลิต สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการเพื่อ ใช้ในการบริหารงานให้เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทั่วไปแล้ว ระบบ MIS จะเป็นข้อมูลภายใน องค์กร ไม่เกียวกับข้อมูลภายนอก ่
  • 11. - ระบบ สนับ สนุน การตัด สิน ใจ (Decision Support System: DSS) ส่วนมากเป็นระบบที่พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยให้การตัดสินใจของผู้บริหาร เป็นไปได้อย่างสะดวก ระบบจะ สามารถสรุปหรือเปรียบเทียบข้อมูล จากทุกแหล่งไม่ว่าจะเป็นข้อมูล ภายในหรือข้อมูลภายนอกองค์กร
  • 12. - ระบบสารสนเทศเพื่อ ผู้ บริห ารระดับ สูง (Executive Support System: ESS) เป็น ระบบที่ช่วยให้ผู้บริหารระดับสูง ติดตามผลการปฏิบัติงานของ องค์การ ติดตามกิจกรรมของคู่ แข่ง ชี้ให้เห็นปัญหา มองหา โอกาส และคาดคะเนแนวโน้ม ต่างๆ ในอนาคต
  • 13. - ระบบผู้เ ชี่ย วชาญ (Expert System) ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตก ต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนืองจาก ่ ระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ (Knowledge management) มากกว่า สารสนเทศ และถูกออกแบบให้ ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียว กับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์โดยใช้
  • 14. หน่ว ยที่ 2 บทบาทของสารสนเทศในการ บริห ารองค์ก รทางการศึก ษา 1. ลัก ษณะที่เ ทคโนโลยีส ามารถ เพิ่ม ประสิท ธิภ าพการบริห าร จัด การ - การทำา งานได้อ ย่า งต่อ เนื่อ งโดยไม่ร ู้จ ัก เหน็ด เหนื่อ ย ทำาให้สามารถประยุกต์ไปใช้ในงานที่ ต้องการให้บริการได้ตลอด 24
  • 15. - การทำา งานได้โ ดยไม่ม ีผ ิด พลาด ทำาให้สามารถนำาไปใช้ ในงานจำานวนมากที่ต้องการความ ถูกต้องและเกิดผลที่ถกต้อง เช่น ู การตรวจข้อสอบ การอ่านบาร์โค้ด - การทำา งานได้อ ย่า ง รวดเร็ว ทำาให้สามารถนำาไปใช้ กับงานที่มีปริมาณมาก ทำาให้งาน เสร็จได้ภายในเวลาอันรวดเร็ว - การทำา งานอย่า งเป็น ระบบ ทำาให้เกิดความชัดเจนของขั้น
  • 16. 2. การใช้น วัต กรรมและ เทคโนโลยีใ นการพัฒ นา ประสิท ธิภ าพการบริห ารจัด การ ศึก ษา การเตรียมความพร้อมของทุก องค์ประกอบ และให้องค์ประกอบ เหล่านั้นทำางานอย่างสอดคล้องกัน โดยต้องดำาเนินการในเรื่องที่สำาคัญ ดังนี้ - การจัด ทำา แผนการนำา เทคโนโลยีเ ข้า มาใช้ ต้องให้ผู้
  • 17. - การพัฒ นาหรือ จัด หาระบบ เทคโนโลยีท ี่ต ้อ งการนำา เข้า มา ใช้ จะต้องดำาเนินการอย่างเป็น ระบบ โดยมีการพิจารณาศึกษา วิเคราะห์และคัดเลือกด้วยวิธีการที่ กำาหนดไว้อย่างชัดเจน - การเลือ กเทคโนโลยีท ี่ เหมาะสม มีความสำาคัญต่อความ สำาเร็จหรือความล้มเหลวของการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการ บริหารจัดการมาก เนื่องจากระบบ
  • 18. - การพัฒ นาหรือ จัด หาระบบ เทคโนโลยีท ี่ต ้อ งการนำา เข้า มา ใช้ จะต้องดำาเนินการอย่างเป็น ระบบ โดยมีการพิจารณาศึกษา วิเคราะห์และคัดเลือกด้วยวิธีการที่ กำาหนดไว้อย่างชัดเจน - การเลือ กเทคโนโลยีท ี่ เหมาะสม มีความสำาคัญต่อความ สำาเร็จหรือความล้มเหลวของการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการ บริหารจัดการมาก เนื่องจากระบบ
  • 19. - การพัฒ นาบุค ลากรที่ ควบคุม การใช้เ ทคโนโลยี เป็นสิ่งจำาเป็นที่จะช่วยให้การ ทำางานประสบความสำาเร็จและมี ประสิทธิภาพ - การบำา รุง รัก ษา เป็นเรื่อง สำาคัญมากที่การใช้เทคโนโลยี ทางการศึกษาจะต้องมีแผนการ บำารุงรักษาระบบงาน ซึ่งมีทั้ง Hardware, Software และ
  • 20. - การติด ตามประเมิน ผล ระบบงานบริหารจัดการที่ใช้ เทคโนโลยีเข้ามาช่วยควรมีการ ประเมินผลอย่างน้อย 2 ส่วน ด้วย กัน ส่วนแรกต้องประเมินผลงานที่ กำาหนดไว้ในแผนงาน ส่วนที่สองที่ มีความสำาคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่ากันก็ คือ การประเมินความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการ เพื่อสะท้อนให้เห็น
  • 21. หน่ว ยที่ 3 นวัต กรรมทางการศึก ษาและ การบริห ารการศึก ษา 1. เทคโนโลยีก ารศึก ษาใน ฐานะองค์ค วามรู้ เทคโนโลยีทางการศึกษาใน ฐานะที่เป็นองค์ความรู้พบได้จาก การที่มหาวิทยาลัยต่างเปิดสอน วิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญา
  • 22. 2. เทคโนโลยีก ารศึก ษาใน ฐานะเครื่อ งมือ ในการบริห าร - เป็น เครื่อ งมือ ในด้า นการ บริห ารองค์ก ร เพื่อให้ดำาเนินงาน ตามวิธีระบบและบรรลุวัตถุประสงค์ - การเป็น เครื่อ งมือ ด้า นธุร การ ได้แก่ การผลิตเอกสารการนัด หมาย การทำาทะเบียนนักศึกษา
  • 23. - ด้า นการบริห ารงาน บุค ลากร เป็นการนำาเทคโนโลยี มาใช้ด้านการบริหารงานบุคลากร เพื่อการแต่งตั้งบุคลากรเข้ารับ ตำาแหน่งให้เหมาะสมกับหน้าที่ โดยสอดคล้องกับความสามารถของ แต่ละบุคคล ทั้งนี้เพื่อให้การดำาเนิน งานขององค์กรเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ - การบริห ารวิช าการ จะใช้
  • 24. - ด้า นการเผยแพร่แ ละ ประชาสัม พัน ธ์ โดยการผลิตสื่อ ต่าง ๆ เพื่อใช้ในการ ประชาสัมพันธ์กิจการของสถาบัน การศึกษา และการสร้างความ เข้าใจอันดีระหว่างสถาบันการ ศึกษากับชุมชน 3. เทคโนโลยีก ารศึก ษาใน ฐานะเครื่อ งมือ ทางวิช าการ
  • 25. - การยึด สื่อ สิ่ง ของเป็น หลัก    การใช้รูปแบบนี้ตั้งอยู่บนความเชื่อ ที่ว่า การเรียนรู้อาจเกิดขึ้นได้โดยที่ ผู้เรียนไม่ต้องเผชิญหน้ากับผู้สอน แต่อาจเรียนได้จากสื่อประสม ประเภทต่าง ๆ ในรูปของการ ศึกษาทางไกลโดยทั่วไปการใช้ใน ลักษณะนี้จะพบในมหาวิทยาลัย แบบเปิด ซึ่งมีการใช้อยู่ 3 ลักษณะ คือ 1.การใช้สื่อสิ่งพิมพ์เป็นแกน
  • 26. 4. เทคโนโลยีก ารศึก ษาใน ฐานะเครื่อ งมือ บริก ารทาง วิช าการ หน้าที่สำาคัญของสถานศึกษา คือการบริการทางวิชาการ ให้แก่ บุคลากรภายในและให้บริการแก่ ชุมชนในฐานะเครื่องมือสำาหรับ การบริการทางวิชาการเทคโนโลยี การศึกษาจะช่วยเผยแพร่ความรู้ ให้แก่ประชาชนได้ ไม่ว่าจะอยู่ใน
  • 27. 5. เทคโนโลยีก ารศึก ษาใน ฐานะทรัพ ยากรเพื่อ สนับ สนุน การเรีย น ทรัพยากรการเรียน หมายถึง ทรัพยากรทุกชนิดที่ผู้เรียนสามารถ ใช้แบบเชิงเดี่ยวหรือแบบผสม อย่างไม่เป็นทางการ เพื่อเอื้อ อำานวยต่อการเรียนรู้ ซึ่งได้แก่ ข้อ สนเทศ/ข่าวสาร บุคคล วัสดุ เครื่อง
  • 28. 6. เทคโนโลยีแ ละนวัต กรรม ทางการศึก ษาในฐานะเครื่อ ง มือ ในการพัฒ นาบุค ลากร ในการพัฒนาบุคลากร การ อบรมเป็นวิธีการหนึงที่สถาบันการ ่ ศึกษาและองค์การต่าง ๆ ใช้กัน อย่างแพร่หลายในฐานะเครื่องมือ ในด้านการพัฒนาบุคลากร หน่วย งานที่จัดอบรมจะต้องรู้ว่าหัวข้อใน การจัดอบรมได้แก่หัวข้ออะไร ส่วน
  • 29. 7. เทคโนโลยีแ ละนวัต กรรม ทางการศึก ษาในฐานะเครื่อ ง มือ สนับ สนุน การเรีย นรู้ 1. นำาหลักสูตรซึ่งตังอยู่บนพืนฐาน ้ ้ ทีเร้าใจเข้าสูห้องเรียน ่ ่ 2. จัดหาเครื่องมือซึ่งจะกระตุนการ ้ เรียนรู้ 3. ให้โอกาสแก่นกเรียนและครู ั มากขึ้นในการให้ข้อมูลย้อนกลับ 4. สร้างชุมชนวิชาการในท้องถิน ่
  • 30. 8. เทคโนโลยีแ ละนวัต กรรม ทางการศึก ษาในฐานะ สนับ สนุน การสอน เทคโนโลยีการศึกษามีบทบาท อยู่ 2 ลักษณะ คือ 1. การใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ในห้องเรียนในรูป ของการฝึกปฏิบัติ 2. การใช้โปรแกรมทำางาน
  • 31. หน่ว ยที่ 4 การสื่อ สารและระบบเครือ ข่า ย 1. การนำา เทคโนโลยีส ารสนเทศ และการสื่อ สารเข้า มาใช้ใ น การศึก ษา การศึกษาเป็นกิจกรรมที่สำาคัญ ที่สุดอย่างหนึ่งของมนุษย์ จึงได้มี การพัฒนาการศึกษามาอย่างต่อ เนื่องโดยการพัฒนาองค์ประกอบ และวิธีการต่าง ๆ ทำาให้เกิดการ
  • 32. 2. องค์ป ระกอบของเทคโนโลยี การศึก ษา บริษัท IBM ได้ใช้หลักการ 4 C’s Components ในการ ประเมินความพร้อมของประเทศ ต่าง ๆ ในการให้บริการความรู้ด้วย ระบบ e-Learning หลักการ 4 C’s Components ประกอบด้วย Connectivity, Content,
  • 33. - Connectivity หมายถึง องค์ประกอบด้านเครื่อง คอมพิวเตอร์และการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ต การต่อเชื่อม อินเทอร์เน็ตเป็นส่วนประกอบของ องค์ประกอบนี้ เนื่องจาก อินเทอร์เน็ตกำาลังมีบทบาทสำาคัญ อย่างยิ่งที่จะทำาให้เกิดคุณค่าใน การใช้เทคโนโลยีเข้าไป พัฒนาการศึกษา การเชื่อมต่อ
  • 34. - Content หมายถึง สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เพื่อการสื่อสาร แลกเปลี่ยนและเรียนรู้ ประกอบ ด้วย ข้อความ รูปภาพ Animation และภาพเคลื่อนไหว ซึ่งรวมถึงวิดีทัศน์ด้วย องค์ ประกอบของ Content แบ่งได้ เป็น 3 ส่วน คือ การสร้าง การนำาเสนอ และ การเข้าถึง
  • 35. - Capacity building หมาย ถึง การสร้างขีดความสามารถการ เรียนรู้ของผู้เกียวข้องตั้งแต่ผู้กำากับ ่ นโยบาย ผู้บริหารหน่วยงาน ครู ผู้สอน นักเรียน ตลอดจนถึงผู้ สร้างสื่อและเจ้าหน้าที่ทางด้าน เทคนิค ครูผู้สอนจำาเป็นต้องมี ทักษะที่จำาเป็น 4 ด้าน คือ การใช้ สื่อ ทักษะทางด้านเทคนิค การ
  • 36. - Culture หมายถึง วัฒนธรรมในการเรียนการสอนที่ จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงจากการ เรียนการสอนที่ครูพบกับนักเรียน และให้ความรู้ตามที่กำาหนดไว้ใน ตารางเรียน ซึ่งมีเวลาที่ชัดเจน และจำากัด โดยครูเป็นผู้สอนให้ ความรู้แก่นักเรียนไปตามขั้นตอนที่
  • 37. หน่ว ยที่ 5 นวัต กรรมกับ การพัฒ นาระบบ สารสนเทศ 1. ใช้ใ นการคำา นวณ เครื่อง คอมพิวเตอร์ในยุคแรก ๆที่สร้าง ขึ้นถูกนำาไปใช้ประโยชน์ทางด้าน คำานวณก่อน 2. ใช้เ ก็บ ข้อ มูล และคำา นวณ ควบคู่ก ัน เกิดจากวิวัฒนาการ ใน ความสามารถสร้างสื่อเก็บข้อมูล
  • 38. 3. ใช้ท ำา งานในสำา นัก งานทั่ว ไป เป็นวิวัฒนาการสำาคัญโดยการ สร้างโปรแกรมชุดคำาสั่งงาน คอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมคำา สั่งงานที่มีขนาดใหญ่และสามารถ เก็บข้อมูลได้มากขึ้นด้วย วิวัฒนาการสำาคัญที่ควรกล่าวถึงก็ คือ การใช้คอมพิวเตอร์ในการ ประมวลผลคำา (Word
  • 39. 4. ใช้ใ นงานกราฟิก และภาพ เคลื่อ นไหว เป็นวิวัฒนาการต่อ มาในปี พ.ศ. 2527 คือ การก้าว ไปสู่การใช้คอมพิวเตอร์ในงาน กราฟิก รูป และภาพเคลื่อนไหว เป็นการก้าวไปสู่ยุคสื่อผสม (Multimedia) ซึ่งต้องมีสื่อเก็บ ข้อมูลขนาดใหญ่และมีความเร็วสูง
  • 40. 5. ใช้ใ นการสื่อ สาร เป็น วิวัฒนาการที่สำาคัญอย่างยิ่ง ได้แก่ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ และ การสื่อสารทางไกลร่วมกัน เกิด เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร (Information and Telecommunication Technology) ทำาให้เกิด
  • 41. 6. การประยุก ต์เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อ สาร เป็น นวัตกรรมทางการศึกษาทีสำาคัญใน ่ ปัจจุบัน มีมากมาย ทีสำาคัญควรจะ ่ ได้ทำาความเข้าใจได้แก่ สือมัลติมเดีย, ่ ี Digital Content, e-Library และ e-Learning - สือมัลติมีเดีย หมายถึง สื่อทีใช้กบ ่ ่ ั เครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งประกอบด้วย ตัวเลข ข้อความ ภาพนิง ภาพ ่ เคลือนไหว และเสียง ่
  • 42. - E-Library เป็นการเก็บ รวบรวมข้อมูลและความรู้ที่อยู่ใน รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีระบบ CMS (Content Management System) เป็นตัวจัดการ เพื่อให้ ข้อมูลและความรู้ถูกเก็บอย่างเป็น ระบบ - E-Learning เป็นรูปแบบการ
  • 43. หน่ว ยที่ 6 การบริห ารระบบสารสนเทศใน องค์ก ร ความพร้อ มของบุค ลากรใน สถานศึก ษา 1. หลัก สูต ร สถานศึกษาซึ่งสอน ระดับอนุบาลและประถมศึกษา นักเรียนส่วนมากยังไม่สามารถคิด ในสิ่งที่เป็นนามธรรม ครูผู้สอนจึง ต้องช่วยให้เด็กสามารถคิดโดยนำา
  • 44. สำาหรับสถานศึกษาที่สอนใน ระดับมัธยมศึกษา เนื่องจากเด็กวัย นีกำาลังอยากรู้อยากเห็นและอยาก ้ พิสูจน์ความสามารถของตนเอง การนำานวัตกรรมและเทคโนโลยี เข้ามาใช้จะเป็นการเสริม ประสบการณ์ที่ดียิ่ง อินเทอร์เน็ตที่ นำามาใช้ในโรงเรียนจะช่วยให้ นักเรียนค้นหาความรู้เพิ่มเติมทั้งที่
  • 46. 2. นโยบายของหน่ว ยงานต้น สัง กัด สถานศึกษาทุกแห่งไม่ว่าจะ ทำาการสอนในระดับใด จะต้องตอบ สนองนโยบายของรัฐบาล แต่การ ตอบสนองนโยบายนั้นจะทำาได้หรือ ไม่ขึ้นอยู่กับความพร้อมภายใน สถานศึกษา ถ้าสถานศึกษาไม่มี ความพร้อมก็ไม่สามารถตอบสนอง
  • 47. 3. การสนับ สนุน จากผู้บ ริห าร สถานศึก ษา อำานาจในการบริหารโรงเรียน ส่วนมากอยู่ที่ผู้อำานวยการหรือ อาจารย์ใหญ่ แต่ในสถาบัน อุดมศึกษาผู้มีอำานาจสูงสุด ได้แก่ อธิการบดีหรือสภามหาวิทยาลัย ถ้าผู้บริหารเป็นผู้ที่ไม่สนใจด้าน
  • 48. 4. การใช้อ ิน เทอร์เ น็ต ในการ เรีย นการสอน - การสอนในชั้น เรีย นปกติ จะเป็นการใช้สอนโดยตรงหรือ เป็นการใช้สอนเสริมการสอนระบบ ปกติ - มหาวิท ยาลัย เสมือ น (Virtual University) เป็นการ เรียนที่ผู้เรียนจะเรียนรู้เนื้อหาจาก
  • 49. - ห้อ งเรีย นเสมือ น (Virtual classroom) ห้องเรียนลักษณะนี้ เป็นห้องเรียนที่ผู้เรียนจะอยู่ในส่วน ต่าง ๆ ของโลก โดยผู้สอนจะสอน อยู่ในห้องส่งซึ่งอาจจะเป็น ห้องเรียนจริงก็ได้ แล้วส่งสัญญาณ ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้ง ภายในหรือภายนอกสถานศึกษา
  • 50. 5. การใช้เ ทคโนโลยีด าวเทีย มเป็น เครื่อ งมือ ในการเรีย นการสอน ดาวเทียมสามารถใช้ในการสอน แบบทางไกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลักษณะการทำางานคือ ครูจะสอน นักเรียนในห้องเรียนซึ่งทำาหน้าทีเป็น ่ ห้องส่งสัญญาณ ภาพและเสียงจาก ห้องควบคุมจะถูกส่งจากสถานีสงภาค ่ พืนดินขึ้นไปยังสถานีถายทอดบน ้ ่ ดาวเทียมซึ่งลอยอยู่ในอวกาศ และ
  • 51. 6. การเรีย นการสอนโดยใช้ เทคโนโลยีก ารประชุม ทาง ไกลด้ว ยวิด ีท ัศ น์ เทคโนโลยีการประชุมทางไกล ด้วยวิดีทัศน์ (Video Teleconference) เป็น เทคโนโลยีการส่งสัญญาณจาก ห้องส่งไปยังสถานีรับโดยผ่านทาง สายสัญญาณ ผ่านไมโครเวฟ
  • 52. 7. การใช้ไ ปรษณีย ์ อิเ ล็ก ทรอนิก ส์เ พื่อ การเรีย น การสอน สถานศึกษาสามารถใช้ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์มาเป็นเครื่องมือใน การจัดการเรียนการสอนได้ใน ลักษณะดังต่อไปนี้ 1. การอภิปรายกลุ่ม
  • 53. 8. การใช้เ ว็บ เพื่อ การเรีย นการ สอน แบ่งได้เป็น 3 รูปแบบ คือ 1. ใช้เว็บทั้งวิชา ผู้เรียนจะเรียน ผ่านทางคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ กับระบบอินเทอร์เน็ต 2. ใช้เว็บเสริม เป็นการเรียน การสอนที่ผู้เรียนและผู้สอนจะพบ กันในห้องเรียนแต่เนื้อหาและ กิจกรรมที่จะทำาระหว่างเรียน 3. การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ
  • 54. 9. การใช้ค อมพิว เตอร์ช ่ว ยสอน เพื่อ การเรีย นการสอน การนำาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย สอนหรือมาใช้งาน สามารถ กระทำาได้หลายลักษณะ ได้แก่ 1. ใช้สอนแทนผู้สอนทั้งในและ นอกห้องเรียน ทั้งระบบสอนแทน บททบทวน และสอนเสริม 2. ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน ทางไกลผ่านสื่อโทรคมนาคม
  • 55. 3. ใช้สอนเนื้อหาที่ซับซ้อนไม่ สามารถแสดงของจริงได้ เช่น โครงสร้างของโมเลกุลของสาร 4. เป็นสื่อช่วยสอนการควบคุม เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ หรือ วิชาที่มอันตรายโดยการสร้าง ี สถานการณ์จำาลอง เช่น การ สอนขับเครื่องบิน การควบคุม เครื่องจักรกลขนาดใหญ่