SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
คัมภีร์ธาตุบรรจบ
ว่าด้วยมหาภูตรูปและโรคอุจจาระธาตุพิการในลักษณะต่างๆ
กองพิกัดสมุฏฐานมหาภูตรูป
พิกัดในกองสมุฏฐาน
ปถวี หทัยวัตถุ อุทริยัง กรีสัง
อาโป ศอเสมหะ อุระเสมหะ คูถเสมหะ
วาโย หทัยวาตะ สัตถกวาตะ สุมนาวาตะ
เตโช พัทธปิตตะ อพัทธปิตตะ กาเดา
เมื่อสมุฏฐานทั้ง 3 (เตโช อาโป วาโย) สิ่งใดสิ่งหนึ่งก็ดี เกิดเป็นชาติ (เกิดโรค) จลนะ (การดาเนินโรค) ทาให้
เกิดผล กระทบต่อปถวีธาตุ (สมุฏฐานปถวีพลอยมีกาลังขึ้น) ทาให้สมุฏฐานทั้งปวง (เตโช อาโป วาโย) กาเริบ
แรงกว่าเดิม เหตุว่าปถวีนั้นเป็นที่ตั้งแห่งภูมิโรคและเป็นที่ตั้งค้าชูอุดหนุนโรคให้จาเริญ จึงได้นามว่า “มหา
สันนิบาต หรือ สันนิบาตกองใหญ่”
สาเหตุโรคอุจจาระธาตุ
1. เป็นไข้ที่มีพิษจัด ตกถึงสันนิบาตแล้วเรื้อรังมา ธาตุนั้นแปรปรวนวิปริต อุจจาระไม่เป็นปกติจึงเป็นโรคอุจจาระ
ธาตุ
2. กินของแปลกหรือมากเกินกว่ากาลังธาตุ (อชินธาตุ) ทาให้ท้องอืดท้องเฟ้อ เรอเหม็นเปรี้ยว จุกเสียด อุจจาระ
ก็ วิปริตกลายเป็นโรคอุจจาระธาตุ
3. ธาตุสมุฏฐานมหาภูตรูป 4 ประชุมกันในกองพิกัดธาตุสมุฏฐานโทษละ 3 ละ 3 ทาให้สมุฏฐานกาเริบ หย่อน
พิการ โดยพระอาทิตย์สถิตในทวาทศราตรี ตามสมุฏฐานฤดู 6 กระทบให้เป็นเหตุกลายมาเป็นโรคอุจจาระธาตุ
สรุปสาเหตุโรคอุจจาระธาตุ
เป็นไข้ ไม่เป็นไข้
สันนิบาต อชินธาตุ
มหาสันนิบาต
ทาให้ถ่ายอุจจาระเป็นสีดา แดง ขาว เขียว (อภิญญาณธาตุ) ทาให้ถ่าย 2-8 ครั้ง (ทั้งกลางวันและกลางคืน)
อุตตาระสามกระคนด้วยมหาสันนิบาต
ต้นเหตุ โทษ 15 ประการ
1.เส้นรัตฆาต ปัตฆาต สัณฑฆาต ระคนกันเป็นเถาวัลย์
เกลียว
1. ปวดท้อง
2. เสียดชายโครง
2.เส้นปิงคลา 3. อาเจียน
4. กินไม่ได้
3.โกฏฐาสยาวาตาและกุจฉิสบาวาตา กาเริบในลาไส้ 5. แน่นอก
6. ถ่ายหนักเบาไม่สะดวก
4.เส้นสุมนา กระทาให้กาเริบ พัดดวงหทัยให้ระส่าระส่าย 7. กลุ้มจิต
8. เจราจาพร่าพรู
9. ร้อนในกระหายน่า
5.อัมพฤกษ์กระทาให้ตลอดถึงสุมนา กาเริบ หย่อน พิการ 10. นอนไม่หลับ
6.อาการซึ่งกระทาให้วิปริตต่างๆระคนด้วยลมอังคอังคานุ
สารีวาตา
11. เป็นขุมละอองตามลินตามปาก
12. ซูบผอม
13. เมือยทุกข้อทุกกระดูก
14. เสียวทัวกาย
15. เชือมมัว
โรคอย่างนี้รักษายากเพราะเป็นโรคเรื้อรัง ถ้าวางยาไม่ถูกกับโรค (อชินโรค) ก็กลายเป็น “อาสาทิยะ
อุจจาระคันธารธาตุ” ทาให้บังเกิดทุราวสา 12 ปะระเมหะ 20 อุจจาระเป็นเมือกมัน เปลวไต มีลักษณะเป็นมูล
แมว ไก่ เต่า หยาบ-ละเอียดเพราะ อุจจาระเสียด้วยโกฏฐาสยาวาตา มิได้พัดชาระปะระเมหะและเมือกมันในลา
ไส้ ทาให้ตกเป็นตะกรันติดลาไส้ ปนกับอุจจาระธาตุ
ครั้นเดินสู่ “ช่วงทวาร” (ทวารหนัก)เกิดเป็นลาลาบแตกออกเป็นโลหิต บางทีเป็นเม็ดยอดขึ้นตามขอบ
ทวาร เจ็บแสบขบ บางทีขึ้นที่ต้นไส้ต่อ ลากรีสบัด มีก็อาการดุจนิ่ว ไส้ด้วน ไส้ลามสมมติเรียกต่างๆ ว่าดานเถา
มุตตฆาต นิ่ว ปะระเมหะ กระษัยกล่อน ริดสีดวง บางทีเรียกว่า ลามกอติสาร
โทษดังนี้เกิดแต่กองลามก แต่จะได้ถึงลามกอติสารนั้นหามิได้ ลักษณะอีกอย่างหนึ่งของ “อาสาทิยะ
อุจจาระคันธารธาตุ” คือ อุจจาระมีกลิ่นต่างๆ (อสุรินทัญญาณธาตุ)
อภิญญาณธาตุ
ธาตุ อาการ สี
ปถวี มีลักษณะอาการกระท่าให้เสมหะเน่า ให้เจ็บท้อง ท้องขึน ให้เสียดแทงและเป็นอัม พฤกษ์ก็มี
เป็นกระษัย เป็นป้าง เป็นช่า เนือเล็บมือเล็บเท้าเหียว ให้โลหิตตกทวาร หนัก ทวารเบา กิน
อาหารไม่ได้
ด่า
อาโป ให้ลงท้อง เจ็บหน้าอก แปรเป็นกล่อน อุจจาระปัสสาวะมิออก นอนมิหลับ ขัดหัวเข่า ปวดท้อง
เป็นพรรดึก กลิงขึน ขัดสีข้าง ถ้าหญิงขัดซ้ายรักษายากนักและแปรไปให้ขัด หัวเข่าและน่อง ให้
เท้าเย็นมือเย็น ให้บังเกิดเสลดกล้า ผอมแห้ง ร้อนหน้าตาดังไข้จับ
แดง
วาโย ให้ตาพร่า เมือยมือเมือยเท้า อาเจียนแต่ลมเปล่า ขัดอก เจ็บในท้อง หนักหน้าตา ขาว
เตโช กระทาให้ร้อนปลายมือปลายเท้า ให้เจ็บปวดดุจปลาดุกยอก แปรไปให้สันหลังบวม และผืนขึน
ทัวสรรพางค์กายและดังผลและหัด ทาให้เจ็บท้องและตกบุพโพ(หนอง) โลหิต ให้มือและเท้า
ตาย แก้มิฟังจะมรณะ
เขียว
อสุรินทัญญาณธาตุ (อาสาทิยะอุจจาระคันธารธาตุ)
ธาตุ อาการ กลิ่น ระคน โทษ
ปถวี เจ็บอก เจ็บในท้อง มือเท้าบวม ศพ วัฒฑอชิน (วัฒฑะอชินะ) 3 ประการ
อาโป เจ็บอก น้าลายไหล ถ่ายหนักเบาไม่
สะดวก
ปลาเน่า อามะอชิน (อามะอะชินะ) 3 ประการ
วาโย เจ็บคอ เสียดแทง คันจมูก เมือยทัว
ร่างกาย ตะครัน ตะครอ
ข้าวบูด วิวัฒฑอชิน (วิวัฒฑะอชินะ) 5 ประการ
เตโช ปากคอแห้ง หนักตัว วิงเวียน เสท
ไหล ถ่าย หนักเบาไม่สะดวก
หญ้าเน่า มลอชิน (มลอะชินะ) 5 ประการ
อาสาทิยะพิกัดสมุฏฐาน
ชื่อ ลักษณะ จัดเป็น
โบราณชวร แก่ชราแล้ว รักษายาก ปฐมอาสาทิยะ
มรณันติกชวร เกิดอาการบวมช้าจาก ตกทีสูง ถูกทุบตี ต้องราชอาญา อหิวาตกโรค (โอปัก
กะมิกโรค)
มัชฌิมะอาสาทิยะ
อชินชวร เกิดอชินโทษอยู่เนืองๆ (โรคเก่าเรือรัง โรคธรรมดา) คือ อชินธาตุ หรือ อชิน
โรค
ปัจฌิมอาสาทิยะ
เทียบเคียงโรคทางแพทย์แผนปัจจุบัน
โรคทางแพทย์แผนไทย โรคทางแพทย์แผนปัจจุบัน
ว่าด้วยอุจจาระธาตุมีลักษณะเป็นสีดา แดง ขาว เขียว
ปถวีธาตุ (อุจจาระออกมาเป็นสีดา) Shigellosis (โรคบิดไม่มีตัว เกิดจากเชือแบคทีเรีย Shigella)
อาโปธาตุ (อุจจาระออกมาเป็นสีแดง) Amoebiasis (โรคบิดมีตัว เกิดจากเชือแบคทีเรีย Entamoeba
histolytica)
วาโยธาตุ (อุจจาระออกมาเป็นสีขาว) Cholera / Severe diarrhea (อหิวาตกโรค เกิดจากเชือ
แบคทีเรีย Vibrio cholerae)
เตโชธาตุ (อุจจาระออกมาเป็นสีเขียว) Typhoid fever (โรคไข้ไทรฟรอยด์)
Salmonellosis (โรคซาลโมเนลโลสิส เกิดจากเชือแบคทีเรีย
Salmonella spp.)
ว่าด้วยอสาทิยะอุจจาระคันธารธาตุ
อุจจาระกลิ่นดังซากศพเน่าโทรม ระคน
ด้วยวัฒฑะอขินะ (ปถวีธาตุสมุฏฐาน)
Shigellosis (โรคบิดไม่มีตัว เกิดจากเชือแบคทีเรีย Shigella)
อุจจาระกลิ่นดังปลาเน่า ระคนด้วยอามะชินะ
(อาโปธาตุ)
Amoebiasis (โรคบิดมีตัว เกิดจากเชือแบคทีเรีย Entamoeba
histolytica)
อุจจาระกลิ่นดังข้าวบูด ระคนด้วยวิวัฒฑอชินะ
(วาโยธาตุ)
Cholera / Severe diarrhea (อหิวาตกโรค เกิดจากเชือ
แบคทีเรีย Vibrio cholerae)
อุจจาระกลิ่นดังหญ้าเน่า ระคนด้วยมลอชินะ
(เตโชธาตุ)
Typhoid fever (โรคไข้ไทรฟรอยด์)
Salmonellosis (โรคซาลโมเนลโลสิส เกิดจากเชือแบคทีเรีย
Salmonella spp. )
ยาแก้โรคอุจจาระพิการ
มี 4 ขนาน ดังตาราง
ชือยา ส่วนประกอบ วิธีใช้ สรรพคุณ
ขนานทื่ 1
ชื่อยาพรหม
พักตร์
โกฐทัง 5
เทียนทัง 5
ตรีผลา
ตรีกฏุก
เปราะหอม
ผลเอ็น
ผลจันทน์
การบรู
ขิง
ยาด่า
- บดเป็นผงละลายน่า
เปลือกมะรุมต้มเป็น
กระสาย
- บดท่าเป็นเม็ด
รับประทาน ครังละ 1
เม็ด ก่อนอาหาร 3 เวลา
เช้า – กลางวัน - เย็น
แก้ท้องเสีย แก้ปวดท้อง
ขับลม
ขนานที่ 2
ชื่อยา
มหาพรหม
ภักตร์
โกฐสอ
โกฐหัวบัว
โกฐชฎามังสี
เทียนด่า
เทียนขาว
เปราะหอม
ผลเอ็น
ลูกผักชีทัง 2
ลูกโหระพาเทศ
รากส้มกุ้งน้อย
เปล้าน้อย
หัศคุณเทศ
ยาด่า
ตรีกฏุก
มหาหิงคุ์
กานพลู
การบรู
ลูกสมอไทย สิงละ 8 ส่วน
ยางสลัดไดประสะ สิงละ 24 ส่วน
บดเป็นผง เอาน่าโสฬส
เบญจกูลเป็นกระสาย
แก้อุจจาระธาตุไม่ปกติ
สิงละ 1
ส่วน
สิงละ 2 ส่วน
สิงละ 4 ส่วน
สิงละ 1 ส่วน
สิงละ 2 ส่วน
สิงละ 3 ส่วน
สิงละ 4 ส่วน
สิงละ 5 ส่วน
ชือยา ส่วนประกอบ วิธีใช้ สรรพคุณ
ขนานที่ 3
ชื่อยามหิทธิ
มหาพรหม
ภักตร์
โกฐกระดูก
โกฐเชียง
โกฐจุฬาลัมพา
โกฐจุฬารส (โกฐชฎามังสี)
เทียนด่า
ลูกราชดัด
ลูกโหระพาเทศ
ลูกผักชีทังสอง
เปราะหอม
สมุลแว้ง
จันทน์ทังสอง
ตรีกฏุก
มหาหิงคุ์
ยาด่า
หัศคุณเทศ
รากจิงจ้อ
การบรู
รากส้มกุ้ง
ลูกสมอไทย
กานพลู
ลูกจันทน์
ยางสลัดไดประสะ สิงละ 32 ส่วน
- บดเป็นผง ใช้พิกัดเบญจกูลเป็น
กระสายยา
- ท่าเป็นเม็ดรับประทาน รับประทาน
ครังละ 1 เม็ด 3 เวลาก่อนอาหาร
- ใช้น่าผึงปั้นเป็นลูกกลอน รับประทาน
ครังละ 1 เม็ด 3 เวลาก่อนอาหาร
แก้ท้องเสีย และ
แก้โรคธาตุ
ผิดปกติ
ขนานที่ 4
ชื่อยาอัศฎาธิ
วัค
ดอกบุนนาค
เกสรบัวหลวง
เทียนด่า
เบญจกูล
กะทือ
ไพล
ข่า
กระชาย
หัวหอม
กระเทียม
ขมืนอ้อย
ผลมะตูมอ่อน
ยาด่า สิงละ 5 ส่วน
ลูกสมอพิเภก
ลูกสมอเทศ
-ขย่าเอาน่าเป็นกระสายต้มตามวิธีให้
รับประทาน
แก้จุกเสียด แก้
อาเจียนบริโภค
อาหารไม่ได้ แก้
ปวดท้อง
ท้องเสีย และ
รักษาโรค
ริดสีดวงทวาร
สิงละ 1 ส่วน
สิงละ 2 ส่วน
สิงละ 3 ส่วน
สิงละ 4 ส่วน
แ
สิงละ 3 ส่วน
แ
สิงละ 2 ส่วน
สิงละ 4 ส่วน
แ
สิงละ 4 ส่วน
แ
ชือยา ส่วนประกอบ วิธีใช้ สรรพคุณ
ขนานที่ 4
ชื่อยาอัศฎาธิ
วัค (ต่อ)
ลูกสมอไทย
เปลือกต้นไข่เน่า
รากเล็บบมือนาง
รากอ้ายเหนียว
กระพังโหม
กะเพราทัง 5
ฝักราชพฤกษ์ 10 ฝัก
สิงละ 1 ก่ามือ

More Related Content

What's hot

การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003withawat na wanma
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆUtai Sukviwatsirikul
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก Dbeat Dong
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 

What's hot (20)

Con10
Con10Con10
Con10
 
Con3
Con3Con3
Con3
 
Con4
Con4Con4
Con4
 
Con1
Con1Con1
Con1
 
Con21
Con21Con21
Con21
 
Con19
Con19Con19
Con19
 
Con2
Con2Con2
Con2
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
Drugs used in lactation
Drugs used in lactationDrugs used in lactation
Drugs used in lactation
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
 
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมองเทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 

Similar to Con11

คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวชniralai
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘Wataustin Austin
 
บาลี 38 80
บาลี 38 80บาลี 38 80
บาลี 38 80Rose Banioki
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘Tongsamut vorasan
 
บาลี 24 80
บาลี 24 80บาลี 24 80
บาลี 24 80Rose Banioki
 
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒Tongsamut vorasan
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Tongsamut vorasan
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Wataustin Austin
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Tongsamut vorasan
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80Rose Banioki
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 
บาลี 37 80
บาลี 37 80บาลี 37 80
บาลี 37 80Rose Banioki
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Wataustin Austin
 
Case study โรคลม
Case study โรคลมCase study โรคลม
Case study โรคลมtacrm
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕Tongsamut vorasan
 
บาลี 35 80
บาลี 35 80บาลี 35 80
บาลี 35 80Rose Banioki
 

Similar to Con11 (20)

บาลีไวยากรณ์ ๔
บาลีไวยากรณ์ ๔บาลีไวยากรณ์ ๔
บาลีไวยากรณ์ ๔
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวช
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
 
บาลี 38 80
บาลี 38 80บาลี 38 80
บาลี 38 80
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
 
บาลี 24 80
บาลี 24 80บาลี 24 80
บาลี 24 80
 
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
บาลี 37 80
บาลี 37 80บาลี 37 80
บาลี 37 80
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
Case study โรคลม
Case study โรคลมCase study โรคลม
Case study โรคลม
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 
บาลี 35 80
บาลี 35 80บาลี 35 80
บาลี 35 80
 

More from pongsatornpalata (6)

Con22
Con22Con22
Con22
 
Con20
Con20Con20
Con20
 
Con18
Con18Con18
Con18
 
Con17
Con17Con17
Con17
 
Con8
Con8Con8
Con8
 
Con5
Con5Con5
Con5
 

Con11

  • 1. คัมภีร์ธาตุบรรจบ ว่าด้วยมหาภูตรูปและโรคอุจจาระธาตุพิการในลักษณะต่างๆ กองพิกัดสมุฏฐานมหาภูตรูป พิกัดในกองสมุฏฐาน ปถวี หทัยวัตถุ อุทริยัง กรีสัง อาโป ศอเสมหะ อุระเสมหะ คูถเสมหะ วาโย หทัยวาตะ สัตถกวาตะ สุมนาวาตะ เตโช พัทธปิตตะ อพัทธปิตตะ กาเดา เมื่อสมุฏฐานทั้ง 3 (เตโช อาโป วาโย) สิ่งใดสิ่งหนึ่งก็ดี เกิดเป็นชาติ (เกิดโรค) จลนะ (การดาเนินโรค) ทาให้ เกิดผล กระทบต่อปถวีธาตุ (สมุฏฐานปถวีพลอยมีกาลังขึ้น) ทาให้สมุฏฐานทั้งปวง (เตโช อาโป วาโย) กาเริบ แรงกว่าเดิม เหตุว่าปถวีนั้นเป็นที่ตั้งแห่งภูมิโรคและเป็นที่ตั้งค้าชูอุดหนุนโรคให้จาเริญ จึงได้นามว่า “มหา สันนิบาต หรือ สันนิบาตกองใหญ่” สาเหตุโรคอุจจาระธาตุ 1. เป็นไข้ที่มีพิษจัด ตกถึงสันนิบาตแล้วเรื้อรังมา ธาตุนั้นแปรปรวนวิปริต อุจจาระไม่เป็นปกติจึงเป็นโรคอุจจาระ ธาตุ 2. กินของแปลกหรือมากเกินกว่ากาลังธาตุ (อชินธาตุ) ทาให้ท้องอืดท้องเฟ้อ เรอเหม็นเปรี้ยว จุกเสียด อุจจาระ ก็ วิปริตกลายเป็นโรคอุจจาระธาตุ 3. ธาตุสมุฏฐานมหาภูตรูป 4 ประชุมกันในกองพิกัดธาตุสมุฏฐานโทษละ 3 ละ 3 ทาให้สมุฏฐานกาเริบ หย่อน พิการ โดยพระอาทิตย์สถิตในทวาทศราตรี ตามสมุฏฐานฤดู 6 กระทบให้เป็นเหตุกลายมาเป็นโรคอุจจาระธาตุ สรุปสาเหตุโรคอุจจาระธาตุ เป็นไข้ ไม่เป็นไข้ สันนิบาต อชินธาตุ มหาสันนิบาต ทาให้ถ่ายอุจจาระเป็นสีดา แดง ขาว เขียว (อภิญญาณธาตุ) ทาให้ถ่าย 2-8 ครั้ง (ทั้งกลางวันและกลางคืน) อุตตาระสามกระคนด้วยมหาสันนิบาต ต้นเหตุ โทษ 15 ประการ 1.เส้นรัตฆาต ปัตฆาต สัณฑฆาต ระคนกันเป็นเถาวัลย์ เกลียว 1. ปวดท้อง 2. เสียดชายโครง 2.เส้นปิงคลา 3. อาเจียน 4. กินไม่ได้ 3.โกฏฐาสยาวาตาและกุจฉิสบาวาตา กาเริบในลาไส้ 5. แน่นอก
  • 2. 6. ถ่ายหนักเบาไม่สะดวก 4.เส้นสุมนา กระทาให้กาเริบ พัดดวงหทัยให้ระส่าระส่าย 7. กลุ้มจิต 8. เจราจาพร่าพรู 9. ร้อนในกระหายน่า 5.อัมพฤกษ์กระทาให้ตลอดถึงสุมนา กาเริบ หย่อน พิการ 10. นอนไม่หลับ 6.อาการซึ่งกระทาให้วิปริตต่างๆระคนด้วยลมอังคอังคานุ สารีวาตา 11. เป็นขุมละอองตามลินตามปาก 12. ซูบผอม 13. เมือยทุกข้อทุกกระดูก 14. เสียวทัวกาย 15. เชือมมัว โรคอย่างนี้รักษายากเพราะเป็นโรคเรื้อรัง ถ้าวางยาไม่ถูกกับโรค (อชินโรค) ก็กลายเป็น “อาสาทิยะ อุจจาระคันธารธาตุ” ทาให้บังเกิดทุราวสา 12 ปะระเมหะ 20 อุจจาระเป็นเมือกมัน เปลวไต มีลักษณะเป็นมูล แมว ไก่ เต่า หยาบ-ละเอียดเพราะ อุจจาระเสียด้วยโกฏฐาสยาวาตา มิได้พัดชาระปะระเมหะและเมือกมันในลา ไส้ ทาให้ตกเป็นตะกรันติดลาไส้ ปนกับอุจจาระธาตุ ครั้นเดินสู่ “ช่วงทวาร” (ทวารหนัก)เกิดเป็นลาลาบแตกออกเป็นโลหิต บางทีเป็นเม็ดยอดขึ้นตามขอบ ทวาร เจ็บแสบขบ บางทีขึ้นที่ต้นไส้ต่อ ลากรีสบัด มีก็อาการดุจนิ่ว ไส้ด้วน ไส้ลามสมมติเรียกต่างๆ ว่าดานเถา มุตตฆาต นิ่ว ปะระเมหะ กระษัยกล่อน ริดสีดวง บางทีเรียกว่า ลามกอติสาร โทษดังนี้เกิดแต่กองลามก แต่จะได้ถึงลามกอติสารนั้นหามิได้ ลักษณะอีกอย่างหนึ่งของ “อาสาทิยะ อุจจาระคันธารธาตุ” คือ อุจจาระมีกลิ่นต่างๆ (อสุรินทัญญาณธาตุ) อภิญญาณธาตุ ธาตุ อาการ สี ปถวี มีลักษณะอาการกระท่าให้เสมหะเน่า ให้เจ็บท้อง ท้องขึน ให้เสียดแทงและเป็นอัม พฤกษ์ก็มี เป็นกระษัย เป็นป้าง เป็นช่า เนือเล็บมือเล็บเท้าเหียว ให้โลหิตตกทวาร หนัก ทวารเบา กิน อาหารไม่ได้ ด่า อาโป ให้ลงท้อง เจ็บหน้าอก แปรเป็นกล่อน อุจจาระปัสสาวะมิออก นอนมิหลับ ขัดหัวเข่า ปวดท้อง เป็นพรรดึก กลิงขึน ขัดสีข้าง ถ้าหญิงขัดซ้ายรักษายากนักและแปรไปให้ขัด หัวเข่าและน่อง ให้ เท้าเย็นมือเย็น ให้บังเกิดเสลดกล้า ผอมแห้ง ร้อนหน้าตาดังไข้จับ แดง วาโย ให้ตาพร่า เมือยมือเมือยเท้า อาเจียนแต่ลมเปล่า ขัดอก เจ็บในท้อง หนักหน้าตา ขาว เตโช กระทาให้ร้อนปลายมือปลายเท้า ให้เจ็บปวดดุจปลาดุกยอก แปรไปให้สันหลังบวม และผืนขึน ทัวสรรพางค์กายและดังผลและหัด ทาให้เจ็บท้องและตกบุพโพ(หนอง) โลหิต ให้มือและเท้า ตาย แก้มิฟังจะมรณะ เขียว
  • 3. อสุรินทัญญาณธาตุ (อาสาทิยะอุจจาระคันธารธาตุ) ธาตุ อาการ กลิ่น ระคน โทษ ปถวี เจ็บอก เจ็บในท้อง มือเท้าบวม ศพ วัฒฑอชิน (วัฒฑะอชินะ) 3 ประการ อาโป เจ็บอก น้าลายไหล ถ่ายหนักเบาไม่ สะดวก ปลาเน่า อามะอชิน (อามะอะชินะ) 3 ประการ วาโย เจ็บคอ เสียดแทง คันจมูก เมือยทัว ร่างกาย ตะครัน ตะครอ ข้าวบูด วิวัฒฑอชิน (วิวัฒฑะอชินะ) 5 ประการ เตโช ปากคอแห้ง หนักตัว วิงเวียน เสท ไหล ถ่าย หนักเบาไม่สะดวก หญ้าเน่า มลอชิน (มลอะชินะ) 5 ประการ อาสาทิยะพิกัดสมุฏฐาน ชื่อ ลักษณะ จัดเป็น โบราณชวร แก่ชราแล้ว รักษายาก ปฐมอาสาทิยะ มรณันติกชวร เกิดอาการบวมช้าจาก ตกทีสูง ถูกทุบตี ต้องราชอาญา อหิวาตกโรค (โอปัก กะมิกโรค) มัชฌิมะอาสาทิยะ อชินชวร เกิดอชินโทษอยู่เนืองๆ (โรคเก่าเรือรัง โรคธรรมดา) คือ อชินธาตุ หรือ อชิน โรค ปัจฌิมอาสาทิยะ
  • 4. เทียบเคียงโรคทางแพทย์แผนปัจจุบัน โรคทางแพทย์แผนไทย โรคทางแพทย์แผนปัจจุบัน ว่าด้วยอุจจาระธาตุมีลักษณะเป็นสีดา แดง ขาว เขียว ปถวีธาตุ (อุจจาระออกมาเป็นสีดา) Shigellosis (โรคบิดไม่มีตัว เกิดจากเชือแบคทีเรีย Shigella) อาโปธาตุ (อุจจาระออกมาเป็นสีแดง) Amoebiasis (โรคบิดมีตัว เกิดจากเชือแบคทีเรีย Entamoeba histolytica) วาโยธาตุ (อุจจาระออกมาเป็นสีขาว) Cholera / Severe diarrhea (อหิวาตกโรค เกิดจากเชือ แบคทีเรีย Vibrio cholerae) เตโชธาตุ (อุจจาระออกมาเป็นสีเขียว) Typhoid fever (โรคไข้ไทรฟรอยด์) Salmonellosis (โรคซาลโมเนลโลสิส เกิดจากเชือแบคทีเรีย Salmonella spp.) ว่าด้วยอสาทิยะอุจจาระคันธารธาตุ อุจจาระกลิ่นดังซากศพเน่าโทรม ระคน ด้วยวัฒฑะอขินะ (ปถวีธาตุสมุฏฐาน) Shigellosis (โรคบิดไม่มีตัว เกิดจากเชือแบคทีเรีย Shigella) อุจจาระกลิ่นดังปลาเน่า ระคนด้วยอามะชินะ (อาโปธาตุ) Amoebiasis (โรคบิดมีตัว เกิดจากเชือแบคทีเรีย Entamoeba histolytica) อุจจาระกลิ่นดังข้าวบูด ระคนด้วยวิวัฒฑอชินะ (วาโยธาตุ) Cholera / Severe diarrhea (อหิวาตกโรค เกิดจากเชือ แบคทีเรีย Vibrio cholerae) อุจจาระกลิ่นดังหญ้าเน่า ระคนด้วยมลอชินะ (เตโชธาตุ) Typhoid fever (โรคไข้ไทรฟรอยด์) Salmonellosis (โรคซาลโมเนลโลสิส เกิดจากเชือแบคทีเรีย Salmonella spp. )
  • 5. ยาแก้โรคอุจจาระพิการ มี 4 ขนาน ดังตาราง ชือยา ส่วนประกอบ วิธีใช้ สรรพคุณ ขนานทื่ 1 ชื่อยาพรหม พักตร์ โกฐทัง 5 เทียนทัง 5 ตรีผลา ตรีกฏุก เปราะหอม ผลเอ็น ผลจันทน์ การบรู ขิง ยาด่า - บดเป็นผงละลายน่า เปลือกมะรุมต้มเป็น กระสาย - บดท่าเป็นเม็ด รับประทาน ครังละ 1 เม็ด ก่อนอาหาร 3 เวลา เช้า – กลางวัน - เย็น แก้ท้องเสีย แก้ปวดท้อง ขับลม ขนานที่ 2 ชื่อยา มหาพรหม ภักตร์ โกฐสอ โกฐหัวบัว โกฐชฎามังสี เทียนด่า เทียนขาว เปราะหอม ผลเอ็น ลูกผักชีทัง 2 ลูกโหระพาเทศ รากส้มกุ้งน้อย เปล้าน้อย หัศคุณเทศ ยาด่า ตรีกฏุก มหาหิงคุ์ กานพลู การบรู ลูกสมอไทย สิงละ 8 ส่วน ยางสลัดไดประสะ สิงละ 24 ส่วน บดเป็นผง เอาน่าโสฬส เบญจกูลเป็นกระสาย แก้อุจจาระธาตุไม่ปกติ สิงละ 1 ส่วน สิงละ 2 ส่วน สิงละ 4 ส่วน สิงละ 1 ส่วน สิงละ 2 ส่วน สิงละ 3 ส่วน สิงละ 4 ส่วน สิงละ 5 ส่วน
  • 6. ชือยา ส่วนประกอบ วิธีใช้ สรรพคุณ ขนานที่ 3 ชื่อยามหิทธิ มหาพรหม ภักตร์ โกฐกระดูก โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา โกฐจุฬารส (โกฐชฎามังสี) เทียนด่า ลูกราชดัด ลูกโหระพาเทศ ลูกผักชีทังสอง เปราะหอม สมุลแว้ง จันทน์ทังสอง ตรีกฏุก มหาหิงคุ์ ยาด่า หัศคุณเทศ รากจิงจ้อ การบรู รากส้มกุ้ง ลูกสมอไทย กานพลู ลูกจันทน์ ยางสลัดไดประสะ สิงละ 32 ส่วน - บดเป็นผง ใช้พิกัดเบญจกูลเป็น กระสายยา - ท่าเป็นเม็ดรับประทาน รับประทาน ครังละ 1 เม็ด 3 เวลาก่อนอาหาร - ใช้น่าผึงปั้นเป็นลูกกลอน รับประทาน ครังละ 1 เม็ด 3 เวลาก่อนอาหาร แก้ท้องเสีย และ แก้โรคธาตุ ผิดปกติ ขนานที่ 4 ชื่อยาอัศฎาธิ วัค ดอกบุนนาค เกสรบัวหลวง เทียนด่า เบญจกูล กะทือ ไพล ข่า กระชาย หัวหอม กระเทียม ขมืนอ้อย ผลมะตูมอ่อน ยาด่า สิงละ 5 ส่วน ลูกสมอพิเภก ลูกสมอเทศ -ขย่าเอาน่าเป็นกระสายต้มตามวิธีให้ รับประทาน แก้จุกเสียด แก้ อาเจียนบริโภค อาหารไม่ได้ แก้ ปวดท้อง ท้องเสีย และ รักษาโรค ริดสีดวงทวาร สิงละ 1 ส่วน สิงละ 2 ส่วน สิงละ 3 ส่วน สิงละ 4 ส่วน แ สิงละ 3 ส่วน แ สิงละ 2 ส่วน สิงละ 4 ส่วน แ สิงละ 4 ส่วน แ
  • 7. ชือยา ส่วนประกอบ วิธีใช้ สรรพคุณ ขนานที่ 4 ชื่อยาอัศฎาธิ วัค (ต่อ) ลูกสมอไทย เปลือกต้นไข่เน่า รากเล็บบมือนาง รากอ้ายเหนียว กระพังโหม กะเพราทัง 5 ฝักราชพฤกษ์ 10 ฝัก สิงละ 1 ก่ามือ