SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย
คัมภีร์โรคนิทานและธาตุวิภังค์
➢ ว่าด้วย สาเหตุการเสียชีวิตของบุคคล และ ธาตุทั้ง4 ขาดเหลือก่อนเสียชีวิต
➢ ว่าด้วย ธาตุทั้ง4 พิการตามฤดู
➢ ว่าด้วย ธาตุทั้ง4 พิการ (หรือธาตุแตก)
สาเหตุการเสียชีวิต
โรคนิทาน ธาตุวิภังค์
ปัจจุบันโรค คือ โอปักกะมิกาพาธ ถูกทุบถองโบยตีบอบช้้าหรือ
ต้องราชอาญาของพระมหากษัตริย์ให้ประหารด้วยหอก ดาบปืน
ไฟตาย
ปัจจุบันกรรมและปัจจุบันโรค คือ โอปักกะมิกาพาธถูกทุบถอง
โบยตีบอบช้้า หรือต้องราชอาญาของพระมหากษัตริย์ให้ประหาร
ชีวิต
การตายโดยปัจจุบันนี้มิได้ตายเป็นปกติโดยปกติล้าดับขันธ์ชวร
และธาตุทั้ง4 มิได้ล่วงไปโดยล้าดับ อย่างนี้เรียกว่า ตายโดย
ปัจจุบันกรรม
ส่วนปัจจุบันโรค คือ เกิดโรคตายโดยปัจจุบันทันด่วน เช่น
อหิวาตกโรค หรือโรคอันเป็นพิษซึ่งก้าเริบขึ้นโดยเร็วแล้วตายไป
ธาตุทั้ง4 มิได้ขาดไปตามล้าดับอย่างนี้ เรียกว่า ตายด้วยปัจจุบัน
โรค
โบราณโรค คือ ตายโดยปกติ และเมื่อจะสิ้นอายุดับสูญนั้น โบราณกรรมและโบราณโรค
บุคคลตายโดยโบราณกรรม คือ ตายโดยก้าหนดสิ้นอายุเป็น
ปริโยสาน คือ อายุย่างเข้าสู่ความชรา ธาตุทั้ง4 ขาดไปตามล้าดับ
เปรียบเทียบเหมือนผลไม้เมื่อสุกงอมเต็มที่แล้ว ก็หล่นลงเอง
คนเราเมื่ออายุมากแล้ว ธาตุทั้ง4 ก็ทรุดโทรมไปตามล้าดับ ไม่
เจ็บไข้ได้ป่วยก็ตาย อย่างนี้ เรียกว่า ตายด้วยโบราณกรรม
ส่วนการตายด้วยโบราณโรคนั้น คือ เป็นโรคคร่้าคร่าเรื้อรังมา
นานหลายเดือนหลายปี เรียกว่า โบราณโรค เวลาจะตายธาตุทั้ง
4 ขาดไปตามล้าดับแล้วตายไป อย่างนี้เรียกว่าตายด้วยโบราณ
โรค
โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย
ธาตุทั้ง 4 พิการตามฤดู
ธาตุวิภังค์ ธาตุวิภังค์
เตโชธาตุพิการ เดือน 5-7
เตโชธาตุ ชื่อ สันตัปปัคคีพิการ อาการให้เย็นในอก กินอาหาร
พลันอิ่ม มักให้จุกเสียด ขัดอก อาหารพลันแหลก มักอยาก
บ่อย จึงท้าให้เกิดลม 6 จ้าพวก คือ
เตโชธาตุพิการ เดือน 5-7
เตโชธาตุ ชื่อ สันตัปปัคคีพิการ อาการให้เย็นในอก วิงเวียน กิน
อาหารไม่ได้ บริโภคอาหารอิ่มมักให้จุกเสียดในอก อาหาร อาหาร
มักพลันแหลกมิได้อยู่ในท้อง ให้อยากบ่อย จึงเป็นเหตุให้เกิดลม
6 จ้าพวก คือ
ลมอุตะรันตะ แต่สะดือถึงล้าคอ ลมอุตะรันตะ แต่สะดือถึงล้าคอ
ลมปัตตะรันตะ ให้ขัดแต่อกถึงล้าคอ ลมอุระปัตขะรันตะวาตะ ให้ขัดแต่อกถึงล้าคอ
ลมอัสวาตะ ให้ขัดจมูก ลมอัสสะวาตะ ให้ขัดนาสิกตึง
ลมปรามาศ ให้ขัดจมูก ลมปัสสาสะมาตะ ให้หายใจขัดอก
ลมอนุวาตะ ให้หายใจขาดไป ลมอนุวาตะ ให้หายใจขาดไป
ลมมหาสดมภ์ ลมจับนิ่งไป ลมมหาสกะวาตะ ให้หาวนอน ลมจับนิ่งไป
วาโยธาตุพิการ เดือน 8-10
อาการให้ผอมเหลือง ครั่นตัว เมื่อยทุกข้อทุกล้า ให้แดกขึ้น
แดกลง ลั่นโครก มักให้หาวเรอ ให้วิงเวียนหน้าตา หูหนัก ร้อน
วาโยธาตุพิการ เดือน 8-10
ด้วยวาโยธาตุ ชื่อ กุจฉิสยาวาตา
อาการให้ผอมเหลือง ครั่นตัว ให้เมื่อยทุกข้อทุกล้าตัวทั่วสรร
พรางค์กาย ให้แดกขึ้นแดกลง ลั่นโครกๆ มักให้หาวเรอ ให้
วิงเวียนหน้าตา หูหนัก มักร้อนในอกในใจ รันทดรันทวยกาย
ธาตุทั้ง4 ขาดเหลือ
บุคคลตายโดยสิ้นก้าหนดอายุเป็นปริโยสานนั้น ธาตุทั้ง4 ย่อมขาดสูญไปตามล้าดับ แต่เมื่อจะสิ้นอายุ แต่ละธาตุขาดเหลือ ดังนี้
ธาตุ โรคนิทาน ธาตุวิภังค์
ปถวีธาตุ 20 ขาดไป 19 หทยัง (หัวใจ) ยังอยู่ หทยัง (หัวใจ) ยังอยู่
อาโปธาตุ 12 ขาดไป 11 เขโฬ (น้้าลาย) ยังอยู่ ปิตตัง (น้้าดี) ยังอยู่
วาโยธาตุ 6 ขาดไป 5 ลมหายใจเข้าออก ยังอยู่ ลมหายใจเข้าออก ยังอยู่
เตโชธาตุ 4 ขาดไป 3 สันตัปปัคคี (ไฟอุ่นกาย) ยังอยู่ สันตัปปัคคี (ไฟอุ่นกาย) ยังอยู่
ถ้าธาตุทั้งหลายสูญสิ้นพร้อมกันดังกล่าว ท่านว่าเยียวยาไม่หาย หากขาดหรือหย่อนไปแต่ละสิ่งสองสิ่ง ยังพอรักษาได้
โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย
ในอก รันทดรันทวยกาย หายใจสั่น ให้เหม็นปาก หวานปาก
ตัวเอง โลหิตออกจากปาก จมูก หู กินอาหารไม่รู้รส
หายใจสั่น ให้เหม็นปาก หวานปากตัวเอง โลหิตออกจากปาก
จมูก หู กินอาหารไม่รู้รส
อาโปธาตุพิการ เดือน 11-1
กินผักและอาหารทั้งปวงผิดส้าแดง
อาโปธาตุพิการ เดือน 11-1
กินผักและอาหารทั้งปวงผิดส้าแดง อาโปธาตุพิการ คือ
ดีพิการ มักขึ้งโกรธ มักสะดุ้งใจ ดีพิการ มักขึ้งโกรธ สะดุ้งตกใจ กลัว
เสมหะพิการ กินอาหารไม่รู้รส เสมหะพิการ กินอาหารไม่รู้รส
หนองพิการ มักให้หืด ไอ หนองพิการ มักให้หืด ไอเป็นโลหิต
โลหิตพิการ มักให้คลั่ง เพ้อพก ให้ร้อน มักให้เพ้อพก ให้ร้อน
เหงื่อพิการ มักให้เชื่อมซึม เหงื่อพิการ มักให้ซูบผอม ให้ผิวหนังสาก
มันข้นพิการ มักให้ตัวขาสากไป มันข้นพิการ ปวดศรีษะ ปวดตา ขาสั่น
น้้าตาพิการ มักให้ปวดศรีษะ เจ็บตา น้้าตาพิการ ตามัว น้้าตาตก ตาแห้ง ดวงตา
เป็นดั่งเยื่อล้าไยขาว
มันเหลวพิการ มักให้บวมมือบวมเท้า เป็น
น้้าเหลืองตก มักให้ผอมเหลือง
มันเหลวพิการ ให้แล่นออกทั่วกาย ให้นัยต์ตา
เหลือง มูตรและคูภเหลือง บางที
ให้ลงและอาเจียนกลายเป็นป่วง
ลม
น้้าลายพิการ มักให้เป็นไข้ มักให้คอแห้ง
และฟันแห้ง
น้้าลายพิการ ให้ปากเปื่อยคอเปื่อย บางทีเป็น
เม็ดขึ้นในคอ เป็นไข้ ให้ปากแห้ง
คอแห้ง
น้้ามูกพิการ มักให้ปวดศรีษะ น้้ามูกพิการ มักให้ปวดศรีษะ เป็นหวัด น้้ามูก
ตก นัยต์ตามัว วิงเวียนศรีษะ
ไขข้อพิการ มักให้เมื่อยทุกข้อทุกกระดูก ไขข้อพิการ มักให้เมื่อยทุกข้อทุกกระดูก ให้ขัด
ให้ตึงทุกข้อ
มูตรพิการ ให้ปัสสาวะแดงและขัด
ปัสสาวะ ปัสสาวะเป็นโลหิต
ปวดเจ็บเป็นเนืองๆ
มูตรพิการ ให้ปัสสาวะแดงและขัดปัสสาวะ
ปัสสาวะเป็นโลหิต ปวดเจ็บเป็น
ก้าลัง
ปถวีธาตุพิการ เดือน 2-4
เป็นด้วยนอนผิดเวลา
ปถวีธาตุพิการ เดือน 2-4
เป็นด้วยนอนผิดเวลา
ผมพิการ ให้คันศรีษะ เป็นรังแค ให้เจ็บ
หนังศรีษะเนืองๆ
ผมพิการ คันศรีษะ ผมหงอก เป็นรังแค ให้
เจ็บหนังศรีษะ
ขนพิการ มักให้เจ็บทั่วสรรพางค์กายทุก
ขุมขน ให้ขนลุกขนพองทั้งตัว
ขนพิการ มักให้เจ็บทั่วสรรพางค์กายทุกขุม
ขน ให้ขนลุกขนพองทั้งตัว
โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย
เล็บ ให้เจ็บต้นเล็บ ต้นเล็บเขียว ต้น
เล็บด้าช้้าโลหิต เจ็บๆ เสียวๆ
นิ้วมือ นิ้วเท้า
เล็บ ให้เจ็บต้นเล็บ ต้นเล็บเขียว ด้า ช้้า
เจ็บเสียวนิ้วมือ นิ้วเท้า
ฟันพิการ มักให้เจ็บไรฟัน บางทีเป็นฝี
ร้ามะนาด ฟันโยกคลอน ฟัน
ถอนออก
ฟันพิการ มักให้เจ็บไรฟัน ให้ฟันหลุด ฟัน
โยกคลอน
หนังพิการ ให้ร้อนผิวหนังทั่วสรรพางค์กาย
ให้เป็นผื่นดุจเป็นผด แสบร้อน
อยู่เนืองๆ
หนังพิการ ให้ร้อนผิวหนังทั่วกาย บางทีให้
เป็นผื่นขึ้นตัวดุจหัวผด ให้ปวด
แสบปวดร้อน
เนื้อพิการ มักให้นอนสะดุ้ง ให้ฟกบวม
เป็นวงผุดขึ้นเป็นหัวด้าหัวแดง
หัวเขียวทั้งตัว บางทีดุจลมพิษ
สมมติว่าเป็นประดงเหือดหัด
ต่างๆ
เนื้อพิการ มักให้นอนสะดุ้งไม่สมปฤดี มักให้
ฟกบวม บางทีผุดขึ้นเป็นหัวด้าหัว
แดงหัวเขียวทั้งตัว บางทีเป็น
ลมพิษ สมมติว่าเป็นประดง
เอ็นพิการ มักให้เจ็บสะบัดร้อนสะบัด
หนาว ปวดศรีษะ เรียกว่า ลม
อัมพฤกษ์ก้าเริบ
เอ็นพิการ มักให้จับสะบัดร้อนสะบัดหนาว
ปวดศรีษะมาก เรียกว่า ลมอัม
พฤกษ์ก้าเริบ
กระดูกพิการ ให้เมื่อยขบทุกข้อทุกกระดูก กระดูกพิการ ให้เมื่อยขบทุกข้อทุกกระดูก
สมองกระดูกพิการ ท้าให้ปวดศรีษะเนืองๆ เยื่อในกระดูกพิการ ให้ปวดตามแท่งกระดูกเป็นก้าลัง
ม้ามพิการ มักให้ม้ามหย่อน ม้ามพิการ มักให้ม้ามหย่อน มักเป็นป้าง
หฤทัยพิการ ท้าให้คลุ้มคลั่งดุจเป็นบ้า ให้หิว
โหยหาแรงมิได้ ให้ทุรนทุรายยิ่ง
นัก
หัวใจพิการ ท้าให้คลุ้มคลั่งดุจเป็นบ้า ถ้ามิฟัง
ดังนั้น ให้หิวโหยหาแรงมิได้ ให้
ทุรนทุรายยิ่งนัก
ตับพิการ ให้ตับโต ตับทรุด เป็นฝีในตับ
และตับพิการต่างๆ
ตับพิการ ให้ตับโต ตับทรุด เป็นฝีในตับ กาฬ
ขึ้นในตับ
พังพืดพิการ ให้เจ็บ ให้อาเจียน จุกเสียด
กลับเข้าเป็นเพื่อลม
พังพืดพิการ ให้เจ็บ ให้อาเจียน จุกเสียด ให้
แดกขึ้นแดกลง
ไตพิการ มักให้ปวดท้องแดกขึ้นแดกลง
ปวดขบอยู่เนืองๆ
ไตพิการ มักให้ปวดท้องแดกขึ้นแดกลง
ปวดขัดเป็นก้าลัง
ปอดพิการ มักให้ปอดเป็นพิษ กระหายน้้า
อยู่เนืองๆ
ปอดพิการ ให้เจ็บปวด ให้ปอดเป็นพิษ ให้
กระหายน้้ามาก กินน้้าจนปอด
ลอยจึงหายอยาก
ไส้ใหญ่พิการ มักให้สะอึก ให้หาว ให้เรอ ไส้ใหญ่พิการ มักให้สะอึก ให้หาว ให้เรอ
ไส้น้อยพิการ มักให้พะอืดพะอม ท้องขึ้นท้อง
พอง ท้องมาน กษัย ให้ลงท้อง
ตกมูกเลือด เป็นไปต่างๆ
ไส้น้อยพิการ มักให้พะอืดพะอม ท้องขึ้นท้อง
พอง ท้องมาน กษัย ให้ลงท้อง
ตกมูกเลือด เป็นไปต่างๆ
โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย
อาหารใหม่พิการ มักให้ลงท้อง ลงแดง มักให้
อาเจียนและมักให้เป็นป่วง 7
จ้าพวก
อาหารใหม่พิการ มักให้ลงท้อง ลงแดง มักให้
อาเจียนและมักให้เป็นป่วง 7
จ้าพวก
อาหารเก่าพิการ มักให้อาหารไม่รู้รส เป็นต้นเหตุ
ที่จะให้เกิดโรคต่างๆ เพราะ
อาหารแปลกส้าแดง
อาหารเก่าพิการ มักให้อาหารไม่รู้รส เป็นต้นเหตุที่
จะให้เกิดโรคต่างๆ เพราะอาหาร
แปลกส้าแดง
มันสมองพิการ ให้ปวดศรีษะ ให้ตาแดง ให้คลั่ง
เรียก สันนิบาตต่อกันกับลม
มันสมองพิการ ให้ปวดศรีษะพร่องจากกระบาล
มันในสมองเดือดขึ้นให้ปวด นัยต์
ตาแดงคลั่ง เรียกว่า สันนิบาต
ธาตุทั้ง 4 พิการ (หรือธาตุแตก)
ปถวีธาตุพิการ
ธาตุ เวชศึกษา โรคนิทาน ธาตุวิภังค์
เกศา (ผม) เจ็บหนังหัว ผมร่วง เจ็บในสมอง ผมร่วง
โลมา (ขน ) เจ็บผิวหนัง ขนร่วง เจ็บทุกรูขุมขน
นขา (เล็บ) ปวดโคนเล็บ เล็บถอด เป็นเม็ด
เป็นหนองที่โคนเล็บ
ต้นเล็บช้้า เขียวด้า ฟกบวม เล็บขบ เป็นหนอง เหมือนหัวเดือนหัวดาว
ทันตา (ฟัน) เป็นร้ามะนาด ปวดตามรากฟัน
แมงกินฟัน
หักถอนแล้วก็ดีเอง ถ้าเจ็บในเหงือกให้แก้ทางร้ามะนาด
ตะโจ (หนัง) คัน สาก แสบร้อนตามผิวหนัง สากชา แสบร้อน เรียกว่า กัมมิโทษ (โรคที่เกิดแต่กรรม)
มังสัง (เนื้อ) เนื้อเป็นผื่นช้้า แสบร้อน เป็นไฝ
หูด พรายน้้า
เสียวทั้งตัว ฟกบวม ร้อนดุจไฟ กระจายดาษ ประกายเพลิง
นหารู (เส้นเอ็น) รู้สึกตึง สวิงสวาย ประธาน 10 บริวาร 2700 เส้นเอ็นจะแข็ง เป็นเถาดาน เส้นสุมนากับ
อัมพฤกษ์ เป็นต้นเหตุ ท้าให้ระส่้าระส่าย ให้ร้อน เย็น เมื่อย เสียว ไป
ทุกเส้นเอ็นทั่วตัว เจ็บเป็นเวลา เส้นอัมพฤกษ์เส้นเดียวให้โทษ 11
อย่าง ถ้าพร้อมกัน 2700 เส้น แล้วก็ตาย ถ้าเป็น 2 – 3 เส้นพอแก้ได้
อัฏฐิ
(กระดูกอ่อน แข็ง)
เจ็นในกระดูก 300 ท่อน ถ้าพิการแก้ยาก น้้ามันที่อยู่ในข้อ ละลายให้เจ็บ
อัฏฐิมิญชัง
(เยื่อในกระดูก)
ให้ข้นเป็นไข เหน็บชา ไม่บอกอาการ ใช้ยาเหมือนแก้
กระดูก
ปวดตามแท่งกระดูก
วักกัง (ม้าม) สะท้านร้อนหนาวและเป็นโรค
กษัยลม
ม้ามหย่อน ม้ามหย่อนมักเป็นป้าง
หทยัง (หัวใจ) เสียอารมณ์ ใจน้อย โกรธ หิวโหย เสียจริต ถ้าเป็นน้อยมักโกรธ ระส่้าระส่าย หิว หาก้าลังมิได้
ยกนัง
(ตับอ่อน ตับแก่)
ตับโต ตับย้อย ตับช้้า ตับเป็นฝี เป็นเพราะโทษ 4 ประการ คือ
1. กาฬขึ้นในตับ ท้าให้ตับหย่อน
เป็นเพราะโทษ 4 ประการ ล่วง
เข้าลักษณะอติสาร คือ กาฬผุด
โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย
2. เป็นฝีในตับ ลงเป็นเลือดสดๆ
3. กาฬมูตรผุดในตับ ลงเป็น
เสมหะเน่า ปวดมวน ตาแดง
สมมติเรียกว่า กระสือ
4. ปถวีธาตุแตกเอง ระส่้าระส่าย
กินไม่ได้ หายใจไม่ถึงท้องน้อย
ขึ้นในตับ ตับทรุด เป็นฝีในตับ ลง
เลือดเป็นสดๆ กาฬมูตรผุดในตับ
ลงเป็นเสมหะเน่า
กิโลมะกัง (พังผืด) อกแห้ง หิวน้้า เป็นริดสีดวงแห้ง อกแห้ง หิวน้้า คือ อาการริดสีดวงแห้ง
ปิหะกัง (ไต) ขัด แน่นในอก เจ็บเสียว ท้องพอง
ก้าลังน้อย ฉี่เหลือง
ขัดอก ท้องขึ้น ท้องพอง กิน
อาหารไม่ได้
ปัปผาสัง (ปอด) ร้อนในอก หิวน้้า หอบหนัก (กาฬ
ขึ้นที่ปอด)
อาการดุจไข้พิษ คือ กาฬขึ้นปอดร้อนในอก หิวน้้า
อันตัง (ลาไส้ใหญ่) ลงท้อง แน่นท้อง ล้าไส้ตีบ ลงท้อง ขัดอก บางทีให้ลงให้อาเจียน คือ ลมกัมมัชวาตพัดเสมหะให้
เป็นดานแล้วกลับไปในท้องในทรวงอก แล้วให้ตัดอาหารย่อมว่าไส้ตีบ
อันตะคุณัง
(ลาไส้น้อย)
หาว เรอ ขี้เป็นเลือด มืดหน้า ตา
มัว เมื่อยเอว
หาว เรอ จุกเสียด ตกเลือดตกหนองเป็นลม คลื่นเหียน เจ็บเอว
เสมหะขึ้นคอ ร้อนคอร้อนท้องน้อย
อุทริยัง
(อาหารใหม่)
ลงท้อง จุกเสียด พะอืดพะอม
สะอึก
กินอิ่มแล้วร้อนทั้งท้อง สะอึก จุกแน่นตามชายโครง ผะอืดผะอม
กรีสัง (อาหารเก่า) ขี้ไม่ปกติ ธาตุเสีย มักเนื่องมาแต่
ตานขโมยและเป็นโรค เช่น
ริดสีดวง
คือ ซางขโมยกินเข้าไส้ เมื่อพ้นก้าหนดซางแล้ว คือ ริดสีดวงคูภทวาร
มัตถะเกมัตถะลุงคัง
(สมอง มันสมอง)
หูตึง ตามัว ลิ้นกระด้างคางแข็ง เจ็บหัว ตามืด หูตึง ปากและจมูกเฟดขึ้น ลิ้นกระด้าง เดิมเป็นเพราะ
สันนิบาตลมปะกัง แก้ไม่หาย
โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย
ธาตุทั้ง 4 พิการ (หรือธาตุแตก)
อาโปธาตุพิการ
ธาตุ เวชศึกษา โรคนิทาน ธาตุวิภังค์
ปิตตัง (น้าดี)
พัทธะปิตตะ
(น้าดีในฝัก)
คลุ้มคลั่งเป็นบ้า คลั่งไคล้ไหลหลง ละเมอเพ้อพก ลงดุจกินยารุ ให้ลงเขียว แดง เหลือง
ท้าให้หาสติไม่ได้
อพัทธปิตตะ
(น้าดีนอกฝัก)
ปวดหัว ตัวร้อน สะท้านร้อน
สะท้านหนาว ตาเหลือง ฉี่เหลือง
จับไข้
เสมหะ (น้าเสลด)
ศอเสมหะ (ลาคอ)
ไอ เจ็บคอ คอแห้ง เป็นหืด สะบัดร้อนหนาวเป็นเวลา ลงท้องเป็นเสมหะ เป็นโลหิตเน่า ปวดมวน
ท้อง
อุระเสมหะ ผอมเหลือง เป็นเถาดาน อกแห้ง
แสบคอ
คูภเสมหะ ตดอุจจาระเป็นเสมหะและโลหิต
เช่น มูกเลือด
ปุพโพ
(น้าเหลือง)
ไอ เบื่ออาหาร ซูบผอม หนองไหลออกมาเนืองๆ กิน
อาหารไม่รู้รส ซูบผอม มักเป็นฝี
ภายใน 7 ประการ
ไอเป็นก้าลัง กินอาหารไม่รู้รส ซูบ
ผอม มักเป็นฝีในท้อง
โลหิตตัง (เลือด) เป็นไข้ตัวร้อน เพ้อคลั่ง ฉี่แดง
เป็นเม็ดตามผิวหนัง เช่น ประดง
ต่างๆ เป็นปานด้า ปานแดง กาฬ
โรค เป็นต้น
แพทย์สมมติว่า ไข้ก้าเดา เพราะโลหิตก้าเริบ ถ้าแตกก็ผุดออกมาเป็น
พิษต่างๆ ภายนอก เรียก ไข้รากสาด ข้าวไหม้น้อย ข้าวไหม้ใหญ่ เปลว
ไฟฟ้า ประกายเพลิง ล้าลาบเพลิง ส่วนภายในก็เกิดพิษต่างๆ เช่น
อาเจียนเป็นเลือด หนาว ร้อน ฉี่ขัดและเป็นสีด้า แดง ขาว เหลือง
เสโส (เหงื่อ) สวิงสวาย ตัวเย็น อ่อนใจ สวิงสวาย เหงื่อแตก ตัวเย็น สาก
ชา
เมโท (มันข้น) ผุดเป็นแผ่น เป็นวง ตามผิวหนัง
น้้าเหลืองไหล ปวดแสบปวดร้อน
ปวดศรีษะ ปวดตา ขาสั่น
อัสสุ (น้าตา) น้้าตาไหล ตาแฉะ ตาเป็นต้อ ปวดศรีษะ เจ็บตา ตามัว น้้าตาตก ตาแห้ง ดวงตา
เป็นเยื่อล้าไย
วสา (มันเหลว) ตัวเหลือง ตาเหลือง ลงท้อง ตัวเหลือง ตาเหลือง ขี้เยี่ยวไม่
เหลือง
ตัวเหลือง ตาเหลืองลงและ
อาเจียนดั่งป่วงลม
เขโฬ (น้าลาย) เจ็บคอ เป็นเม็ดในคอและโคนลิ้น น้้าลายเหนียว เป็นเม็ดในคอและ
โคนลิ้น
ปาก คอ เปื่อยน้้าลายเหนียว เป็น
เม็ดในคอและโคนลิ้น
สิงฆานิกา (น้ามูก) ปวดในสมอง ตามัว น้้ามูกตก
ลสิกา (ไขข้อ) เจ็บตามข้อแท่งกระดูกทั่วตัว
โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย
มูตตัง (ปัสสวาะ) ฉี่เป็นสี ด้า แดง ขาว เหลือง ฉี่แดง เหลืองดังขมิ้น ขาวดังน้้าข้าวเช็ดเป็นนิ่ว ขัดเบา เจ็บหัวเหน่า
เป็นมุตกิต สัณฑาต
ธาตุทั้ง 4 พิการ (หรือธาตุแตก)
วาโยธาตุพิการ
ธาตุ เวชศึกษา โรคนิทาน ธาตุวิภังค์
อุทธังคมาวาตา
(ลมพัดขึ้น)
หาวเรอ เสมหะเพ้อ มือเท้า
ขวักไขว่ ร้อนในท้อง ทุรนทุราย
เรอบ่อยๆ มือเท้าขวักไขว่ (ดิ้นรน ทุรนทุราย มือเท้าขวักไขว่)
อโธคมาวาตา
(ลมพัดลง)
ยกมือเท้าไม่ไหว เมื่อยขบไปทุกข้อ
กุจฉิสยาวาตา
(พัดในท้องนอกไส้)
สวิงสวาย ท้องลั่น เมื่อยขบไปทุก
ข้อ
สวิงสวาย ท้องขึ้นท้องลั่น เจ็บอก แดกขึ้นแดกลง
โกฐาสยาวาตา
(พัดในไส้)
ขัดในอก เหม็นข้าว จุกเสียด
คลื่นเหียน อาเจียน
แน่นในอก เหม็นคาวคอ จุกเสียด อาเจียน
อังคะมังคานุสารีวา
ตา (ลมพัดทั่วกาย)
ตาพร่า วิงเวียน กินไม่ได้ อาเจียน
ลมเปล่า สะบัดร้อนสะบัดหนาว
เจ็บหน้าขา กระดูกสันหลัง
ดุจหิ่งห้อยออกจากตา หูตึง อาเจียนลมเปล่า สะบัดร้อนสะบัดหนาว
เมื่อยต้นขาทั้งสองข้าง ดุจกระดูกจะแตก ปวดในกระดูกสันหลัง
อัสสาสะปัสสาสะ
วาตะ
(ลมหายใจเข้า
ออก)
หายใจสั้นเข้า จนหายใจออกไม่ได้ จะขาดไม่ได้ ขาดเมื่อใดตายเมื่อนั้น
โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย
ธาตุทั้ง 4 พิการ (หรือธาตุแตก)
เตโชธาตุพิการ
ธาตุ เวชศึกษา โรคนิทาน ธาตุวิภังค์
สันตัปปัคคี
(ไฟอุ่นกาย)
ท้าให้กายเย็นชืด เมื่อใดไม่ได้ ตายแล
ปริณามัคคี
(ไฟย่อยอาหาร)
ขัดมือขัดเท้า เป็นม่องคร่อ คือ
ปอดเป็นหวัด ไอ ปวดฝ่ามือฝ่า
เท้า ท้องแข็ง ผะอืดผะอม
ขัดในอกในใจ ไอ เป็นม่องคร่อ
มือเท้าบวม
ท้องขึ้นท้องพอง ผะอืดผะอม
ชิรณัคคี
(ไฟที่ทาให้แก่ชรา)
กายไม่รู้สัมผัส ชิวหาไม่รู้รส หูตึง
หน้าผากตึง อาการเหล่านี้
เปลี่ยนไปมา
ความชราน้าพญามัจจุราชมาเล้าโลมสัตว์ทั้งปวง หน้าผากตึง ตาไม่
รู้จักคนแล้วกลับรู้จักอีก กายสัมผัสสิ่งใดก้ไม่รู้สึกตัว แล้วกลับรู้สึกอีก
ปริทัยหัคคี
(ไฟระส่าระส่าย)
ร้อนภายในภายนอก เหงื่อออก
มือเท้าเย็น
ภายในร้อน เหงื่อตกดุจเมล็ด
ข้าวโพด มือเท้าเย็น ชีพจรไม่เดิน
ชีพจรเดินไม่สะดวก
ชีพจรขาดหลัก 1 ก็ดี 2 ก็ดี
ยาแก้ปถวีธาตุ
โรคนิทาน ธาตุวิภังค์
ยาแก้หัวใจพิการอื่นๆ ยามหาสดมภ์ใหญ่
ยาชื่อ กล่อมนางนอน แก้ตับพิการ
ยาชื่อ ตรีวาสัง แก้ปถวีธาตุพิการ
ยาชื่อ พรหมภักตร์น้อย แก้กระดูกพิการ
ยาชื่อ พรหมภักตร์กลาง แก้กระดูกพิการ
ยาชื่อ มูลจิตใหญ่ แก้หัวใจพิการ
ยาแก้หัวใจพิการอื่นๆ ยามหาสดมภ์ ยาสมุทรสาคร ยาสว่างว
อารมณ์
ยาชื่อ กล่อมนางนอนใหญ่ แก้ตับพิการ
ยาชื่อ ตรีชวาสังค์ แก้ปถวีธาตุพิการ
ยาชื่อ ประสะพิมเสน แก้ปถวีธาตุพิการ 3 ประการ (หัวใจ ตับ
ปอด)
โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย
ยาแก้อาโปธาตุ
โรคนิทาน ธาตุวิภังค์
ไม่ระบุ ยาชื่อ ปโตฬาธิคุณ แก้ไข้เพื่อโลหิตในคิมหันต์ฤดู
ยาชื่อ มหาชุมนุมใหญ่สันนิบาต แก้ไข้ในวสันตฤดู
ยาชื่อ เขียวมหาพรหม แก้โลหิตพิการ ทั้งกินทั้งพ่น
ยาชื่อ อดุลย์วิการ แก้พิษก้าเดาและอาโปธาตุก้าเริบ
ยาชื่อ มหาสมิทรธิ์ใหญ่ แก้พิษไข้เหนือไข้รากสาดสันนิบาต
ยาชื่อ จักรวาฬฟ้าครอบ แก้ไข้พิษไข้กาฬทั้งปวง
ยาชื่อ อนันตไกรวาต แก้ไข้พิษ ไข้ที่ท้าให้ชัก
ยาชื่อ มหาก้าลัง แก้หิวหอบระดหยหาแรงมิได้ (ยาต้าราหลวง)
ยาชื่อ จิตรมหาวงษ์ แก้คอเปื่อยลิ้นเปื่อย
ยาชื่อ สุริจันทน์ แก้พิษก้าเดาและพิษกาฬ
ยาแก้วาโยธาตุพิการ
โรคนิทาน ธาตุวิภังค์
ยาชื่อ ชิระนัคคีจรื แก้วาโยธาตุพิการ
ดีปลี แฝกหอม เปราะหอม พริกไทย แห้วหมู ว่านน้้า สิ่งละ 1
ส่วน
รากกระเทียมเท่ายาทั้งหลาย ต้าผงละลายน้้าร้อน/น้้าผึ้ง
ยาชื่อ ฤทธิจร แก้วาโยธาตุพิการ
ตัวยาเหมือนชิระนัคคี
ยาแก้เตโชธาตุพิการ
โรคนิทาน ธาตุวิภังค์
ยาชื่อ กาลาธิจร แก้เตโชธาตุพิการ
โกฐสอ โกฐพุงปลา ดีปลี แห้วหมู เปลือกโมกมัน ลูกผักชี ลูก
เอ็น อบเชย สะค้าน ขิง อ้าพัน เสมอภาค บดละลายน้้าร้อน
หรือน้้าผึ้งได้
ยาชื่อ กาลาธิจร แก้เตโชธาตุพิการ
ใช้ตัวยาเดียวกับโรคนิทาน

More Related Content

What's hot

Case study โรคลม
Case study โรคลมCase study โรคลม
Case study โรคลมtacrm
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวThanyalak Chanmai
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนKittayaporn Changpan
 
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานUdomsak Chundang
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
Case study muscle bone join
Case study muscle bone joinCase study muscle bone join
Case study muscle bone jointacrm
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา NewNickson Butsriwong
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทยอร ครูสวย
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปtanapongslide
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีariga sara
 

What's hot (20)

Con12
Con12Con12
Con12
 
Con16
Con16Con16
Con16
 
Con13
Con13Con13
Con13
 
Con21
Con21Con21
Con21
 
Con18
Con18Con18
Con18
 
Con10
Con10Con10
Con10
 
Con14
Con14Con14
Con14
 
Case study โรคลม
Case study โรคลมCase study โรคลม
Case study โรคลม
 
Con19
Con19Con19
Con19
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
Case study muscle bone join
Case study muscle bone joinCase study muscle bone join
Case study muscle bone join
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 

Similar to Con3 (18)

Con17
Con17Con17
Con17
 
วัฒนา
วัฒนาวัฒนา
วัฒนา
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
อาหาร
อาหารอาหาร
อาหาร
 
ยา
ยายา
ยา
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 07-14 [compatibility mode]
ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 07-14 [compatibility mode]ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 07-14 [compatibility mode]
ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 07-14 [compatibility mode]
 

Con3

  • 1. โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย คัมภีร์โรคนิทานและธาตุวิภังค์ ➢ ว่าด้วย สาเหตุการเสียชีวิตของบุคคล และ ธาตุทั้ง4 ขาดเหลือก่อนเสียชีวิต ➢ ว่าด้วย ธาตุทั้ง4 พิการตามฤดู ➢ ว่าด้วย ธาตุทั้ง4 พิการ (หรือธาตุแตก) สาเหตุการเสียชีวิต โรคนิทาน ธาตุวิภังค์ ปัจจุบันโรค คือ โอปักกะมิกาพาธ ถูกทุบถองโบยตีบอบช้้าหรือ ต้องราชอาญาของพระมหากษัตริย์ให้ประหารด้วยหอก ดาบปืน ไฟตาย ปัจจุบันกรรมและปัจจุบันโรค คือ โอปักกะมิกาพาธถูกทุบถอง โบยตีบอบช้้า หรือต้องราชอาญาของพระมหากษัตริย์ให้ประหาร ชีวิต การตายโดยปัจจุบันนี้มิได้ตายเป็นปกติโดยปกติล้าดับขันธ์ชวร และธาตุทั้ง4 มิได้ล่วงไปโดยล้าดับ อย่างนี้เรียกว่า ตายโดย ปัจจุบันกรรม ส่วนปัจจุบันโรค คือ เกิดโรคตายโดยปัจจุบันทันด่วน เช่น อหิวาตกโรค หรือโรคอันเป็นพิษซึ่งก้าเริบขึ้นโดยเร็วแล้วตายไป ธาตุทั้ง4 มิได้ขาดไปตามล้าดับอย่างนี้ เรียกว่า ตายด้วยปัจจุบัน โรค โบราณโรค คือ ตายโดยปกติ และเมื่อจะสิ้นอายุดับสูญนั้น โบราณกรรมและโบราณโรค บุคคลตายโดยโบราณกรรม คือ ตายโดยก้าหนดสิ้นอายุเป็น ปริโยสาน คือ อายุย่างเข้าสู่ความชรา ธาตุทั้ง4 ขาดไปตามล้าดับ เปรียบเทียบเหมือนผลไม้เมื่อสุกงอมเต็มที่แล้ว ก็หล่นลงเอง คนเราเมื่ออายุมากแล้ว ธาตุทั้ง4 ก็ทรุดโทรมไปตามล้าดับ ไม่ เจ็บไข้ได้ป่วยก็ตาย อย่างนี้ เรียกว่า ตายด้วยโบราณกรรม ส่วนการตายด้วยโบราณโรคนั้น คือ เป็นโรคคร่้าคร่าเรื้อรังมา นานหลายเดือนหลายปี เรียกว่า โบราณโรค เวลาจะตายธาตุทั้ง 4 ขาดไปตามล้าดับแล้วตายไป อย่างนี้เรียกว่าตายด้วยโบราณ โรค
  • 2. โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย ธาตุทั้ง 4 พิการตามฤดู ธาตุวิภังค์ ธาตุวิภังค์ เตโชธาตุพิการ เดือน 5-7 เตโชธาตุ ชื่อ สันตัปปัคคีพิการ อาการให้เย็นในอก กินอาหาร พลันอิ่ม มักให้จุกเสียด ขัดอก อาหารพลันแหลก มักอยาก บ่อย จึงท้าให้เกิดลม 6 จ้าพวก คือ เตโชธาตุพิการ เดือน 5-7 เตโชธาตุ ชื่อ สันตัปปัคคีพิการ อาการให้เย็นในอก วิงเวียน กิน อาหารไม่ได้ บริโภคอาหารอิ่มมักให้จุกเสียดในอก อาหาร อาหาร มักพลันแหลกมิได้อยู่ในท้อง ให้อยากบ่อย จึงเป็นเหตุให้เกิดลม 6 จ้าพวก คือ ลมอุตะรันตะ แต่สะดือถึงล้าคอ ลมอุตะรันตะ แต่สะดือถึงล้าคอ ลมปัตตะรันตะ ให้ขัดแต่อกถึงล้าคอ ลมอุระปัตขะรันตะวาตะ ให้ขัดแต่อกถึงล้าคอ ลมอัสวาตะ ให้ขัดจมูก ลมอัสสะวาตะ ให้ขัดนาสิกตึง ลมปรามาศ ให้ขัดจมูก ลมปัสสาสะมาตะ ให้หายใจขัดอก ลมอนุวาตะ ให้หายใจขาดไป ลมอนุวาตะ ให้หายใจขาดไป ลมมหาสดมภ์ ลมจับนิ่งไป ลมมหาสกะวาตะ ให้หาวนอน ลมจับนิ่งไป วาโยธาตุพิการ เดือน 8-10 อาการให้ผอมเหลือง ครั่นตัว เมื่อยทุกข้อทุกล้า ให้แดกขึ้น แดกลง ลั่นโครก มักให้หาวเรอ ให้วิงเวียนหน้าตา หูหนัก ร้อน วาโยธาตุพิการ เดือน 8-10 ด้วยวาโยธาตุ ชื่อ กุจฉิสยาวาตา อาการให้ผอมเหลือง ครั่นตัว ให้เมื่อยทุกข้อทุกล้าตัวทั่วสรร พรางค์กาย ให้แดกขึ้นแดกลง ลั่นโครกๆ มักให้หาวเรอ ให้ วิงเวียนหน้าตา หูหนัก มักร้อนในอกในใจ รันทดรันทวยกาย ธาตุทั้ง4 ขาดเหลือ บุคคลตายโดยสิ้นก้าหนดอายุเป็นปริโยสานนั้น ธาตุทั้ง4 ย่อมขาดสูญไปตามล้าดับ แต่เมื่อจะสิ้นอายุ แต่ละธาตุขาดเหลือ ดังนี้ ธาตุ โรคนิทาน ธาตุวิภังค์ ปถวีธาตุ 20 ขาดไป 19 หทยัง (หัวใจ) ยังอยู่ หทยัง (หัวใจ) ยังอยู่ อาโปธาตุ 12 ขาดไป 11 เขโฬ (น้้าลาย) ยังอยู่ ปิตตัง (น้้าดี) ยังอยู่ วาโยธาตุ 6 ขาดไป 5 ลมหายใจเข้าออก ยังอยู่ ลมหายใจเข้าออก ยังอยู่ เตโชธาตุ 4 ขาดไป 3 สันตัปปัคคี (ไฟอุ่นกาย) ยังอยู่ สันตัปปัคคี (ไฟอุ่นกาย) ยังอยู่ ถ้าธาตุทั้งหลายสูญสิ้นพร้อมกันดังกล่าว ท่านว่าเยียวยาไม่หาย หากขาดหรือหย่อนไปแต่ละสิ่งสองสิ่ง ยังพอรักษาได้
  • 3. โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย ในอก รันทดรันทวยกาย หายใจสั่น ให้เหม็นปาก หวานปาก ตัวเอง โลหิตออกจากปาก จมูก หู กินอาหารไม่รู้รส หายใจสั่น ให้เหม็นปาก หวานปากตัวเอง โลหิตออกจากปาก จมูก หู กินอาหารไม่รู้รส อาโปธาตุพิการ เดือน 11-1 กินผักและอาหารทั้งปวงผิดส้าแดง อาโปธาตุพิการ เดือน 11-1 กินผักและอาหารทั้งปวงผิดส้าแดง อาโปธาตุพิการ คือ ดีพิการ มักขึ้งโกรธ มักสะดุ้งใจ ดีพิการ มักขึ้งโกรธ สะดุ้งตกใจ กลัว เสมหะพิการ กินอาหารไม่รู้รส เสมหะพิการ กินอาหารไม่รู้รส หนองพิการ มักให้หืด ไอ หนองพิการ มักให้หืด ไอเป็นโลหิต โลหิตพิการ มักให้คลั่ง เพ้อพก ให้ร้อน มักให้เพ้อพก ให้ร้อน เหงื่อพิการ มักให้เชื่อมซึม เหงื่อพิการ มักให้ซูบผอม ให้ผิวหนังสาก มันข้นพิการ มักให้ตัวขาสากไป มันข้นพิการ ปวดศรีษะ ปวดตา ขาสั่น น้้าตาพิการ มักให้ปวดศรีษะ เจ็บตา น้้าตาพิการ ตามัว น้้าตาตก ตาแห้ง ดวงตา เป็นดั่งเยื่อล้าไยขาว มันเหลวพิการ มักให้บวมมือบวมเท้า เป็น น้้าเหลืองตก มักให้ผอมเหลือง มันเหลวพิการ ให้แล่นออกทั่วกาย ให้นัยต์ตา เหลือง มูตรและคูภเหลือง บางที ให้ลงและอาเจียนกลายเป็นป่วง ลม น้้าลายพิการ มักให้เป็นไข้ มักให้คอแห้ง และฟันแห้ง น้้าลายพิการ ให้ปากเปื่อยคอเปื่อย บางทีเป็น เม็ดขึ้นในคอ เป็นไข้ ให้ปากแห้ง คอแห้ง น้้ามูกพิการ มักให้ปวดศรีษะ น้้ามูกพิการ มักให้ปวดศรีษะ เป็นหวัด น้้ามูก ตก นัยต์ตามัว วิงเวียนศรีษะ ไขข้อพิการ มักให้เมื่อยทุกข้อทุกกระดูก ไขข้อพิการ มักให้เมื่อยทุกข้อทุกกระดูก ให้ขัด ให้ตึงทุกข้อ มูตรพิการ ให้ปัสสาวะแดงและขัด ปัสสาวะ ปัสสาวะเป็นโลหิต ปวดเจ็บเป็นเนืองๆ มูตรพิการ ให้ปัสสาวะแดงและขัดปัสสาวะ ปัสสาวะเป็นโลหิต ปวดเจ็บเป็น ก้าลัง ปถวีธาตุพิการ เดือน 2-4 เป็นด้วยนอนผิดเวลา ปถวีธาตุพิการ เดือน 2-4 เป็นด้วยนอนผิดเวลา ผมพิการ ให้คันศรีษะ เป็นรังแค ให้เจ็บ หนังศรีษะเนืองๆ ผมพิการ คันศรีษะ ผมหงอก เป็นรังแค ให้ เจ็บหนังศรีษะ ขนพิการ มักให้เจ็บทั่วสรรพางค์กายทุก ขุมขน ให้ขนลุกขนพองทั้งตัว ขนพิการ มักให้เจ็บทั่วสรรพางค์กายทุกขุม ขน ให้ขนลุกขนพองทั้งตัว
  • 4. โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย เล็บ ให้เจ็บต้นเล็บ ต้นเล็บเขียว ต้น เล็บด้าช้้าโลหิต เจ็บๆ เสียวๆ นิ้วมือ นิ้วเท้า เล็บ ให้เจ็บต้นเล็บ ต้นเล็บเขียว ด้า ช้้า เจ็บเสียวนิ้วมือ นิ้วเท้า ฟันพิการ มักให้เจ็บไรฟัน บางทีเป็นฝี ร้ามะนาด ฟันโยกคลอน ฟัน ถอนออก ฟันพิการ มักให้เจ็บไรฟัน ให้ฟันหลุด ฟัน โยกคลอน หนังพิการ ให้ร้อนผิวหนังทั่วสรรพางค์กาย ให้เป็นผื่นดุจเป็นผด แสบร้อน อยู่เนืองๆ หนังพิการ ให้ร้อนผิวหนังทั่วกาย บางทีให้ เป็นผื่นขึ้นตัวดุจหัวผด ให้ปวด แสบปวดร้อน เนื้อพิการ มักให้นอนสะดุ้ง ให้ฟกบวม เป็นวงผุดขึ้นเป็นหัวด้าหัวแดง หัวเขียวทั้งตัว บางทีดุจลมพิษ สมมติว่าเป็นประดงเหือดหัด ต่างๆ เนื้อพิการ มักให้นอนสะดุ้งไม่สมปฤดี มักให้ ฟกบวม บางทีผุดขึ้นเป็นหัวด้าหัว แดงหัวเขียวทั้งตัว บางทีเป็น ลมพิษ สมมติว่าเป็นประดง เอ็นพิการ มักให้เจ็บสะบัดร้อนสะบัด หนาว ปวดศรีษะ เรียกว่า ลม อัมพฤกษ์ก้าเริบ เอ็นพิการ มักให้จับสะบัดร้อนสะบัดหนาว ปวดศรีษะมาก เรียกว่า ลมอัม พฤกษ์ก้าเริบ กระดูกพิการ ให้เมื่อยขบทุกข้อทุกกระดูก กระดูกพิการ ให้เมื่อยขบทุกข้อทุกกระดูก สมองกระดูกพิการ ท้าให้ปวดศรีษะเนืองๆ เยื่อในกระดูกพิการ ให้ปวดตามแท่งกระดูกเป็นก้าลัง ม้ามพิการ มักให้ม้ามหย่อน ม้ามพิการ มักให้ม้ามหย่อน มักเป็นป้าง หฤทัยพิการ ท้าให้คลุ้มคลั่งดุจเป็นบ้า ให้หิว โหยหาแรงมิได้ ให้ทุรนทุรายยิ่ง นัก หัวใจพิการ ท้าให้คลุ้มคลั่งดุจเป็นบ้า ถ้ามิฟัง ดังนั้น ให้หิวโหยหาแรงมิได้ ให้ ทุรนทุรายยิ่งนัก ตับพิการ ให้ตับโต ตับทรุด เป็นฝีในตับ และตับพิการต่างๆ ตับพิการ ให้ตับโต ตับทรุด เป็นฝีในตับ กาฬ ขึ้นในตับ พังพืดพิการ ให้เจ็บ ให้อาเจียน จุกเสียด กลับเข้าเป็นเพื่อลม พังพืดพิการ ให้เจ็บ ให้อาเจียน จุกเสียด ให้ แดกขึ้นแดกลง ไตพิการ มักให้ปวดท้องแดกขึ้นแดกลง ปวดขบอยู่เนืองๆ ไตพิการ มักให้ปวดท้องแดกขึ้นแดกลง ปวดขัดเป็นก้าลัง ปอดพิการ มักให้ปอดเป็นพิษ กระหายน้้า อยู่เนืองๆ ปอดพิการ ให้เจ็บปวด ให้ปอดเป็นพิษ ให้ กระหายน้้ามาก กินน้้าจนปอด ลอยจึงหายอยาก ไส้ใหญ่พิการ มักให้สะอึก ให้หาว ให้เรอ ไส้ใหญ่พิการ มักให้สะอึก ให้หาว ให้เรอ ไส้น้อยพิการ มักให้พะอืดพะอม ท้องขึ้นท้อง พอง ท้องมาน กษัย ให้ลงท้อง ตกมูกเลือด เป็นไปต่างๆ ไส้น้อยพิการ มักให้พะอืดพะอม ท้องขึ้นท้อง พอง ท้องมาน กษัย ให้ลงท้อง ตกมูกเลือด เป็นไปต่างๆ
  • 5. โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย อาหารใหม่พิการ มักให้ลงท้อง ลงแดง มักให้ อาเจียนและมักให้เป็นป่วง 7 จ้าพวก อาหารใหม่พิการ มักให้ลงท้อง ลงแดง มักให้ อาเจียนและมักให้เป็นป่วง 7 จ้าพวก อาหารเก่าพิการ มักให้อาหารไม่รู้รส เป็นต้นเหตุ ที่จะให้เกิดโรคต่างๆ เพราะ อาหารแปลกส้าแดง อาหารเก่าพิการ มักให้อาหารไม่รู้รส เป็นต้นเหตุที่ จะให้เกิดโรคต่างๆ เพราะอาหาร แปลกส้าแดง มันสมองพิการ ให้ปวดศรีษะ ให้ตาแดง ให้คลั่ง เรียก สันนิบาตต่อกันกับลม มันสมองพิการ ให้ปวดศรีษะพร่องจากกระบาล มันในสมองเดือดขึ้นให้ปวด นัยต์ ตาแดงคลั่ง เรียกว่า สันนิบาต ธาตุทั้ง 4 พิการ (หรือธาตุแตก) ปถวีธาตุพิการ ธาตุ เวชศึกษา โรคนิทาน ธาตุวิภังค์ เกศา (ผม) เจ็บหนังหัว ผมร่วง เจ็บในสมอง ผมร่วง โลมา (ขน ) เจ็บผิวหนัง ขนร่วง เจ็บทุกรูขุมขน นขา (เล็บ) ปวดโคนเล็บ เล็บถอด เป็นเม็ด เป็นหนองที่โคนเล็บ ต้นเล็บช้้า เขียวด้า ฟกบวม เล็บขบ เป็นหนอง เหมือนหัวเดือนหัวดาว ทันตา (ฟัน) เป็นร้ามะนาด ปวดตามรากฟัน แมงกินฟัน หักถอนแล้วก็ดีเอง ถ้าเจ็บในเหงือกให้แก้ทางร้ามะนาด ตะโจ (หนัง) คัน สาก แสบร้อนตามผิวหนัง สากชา แสบร้อน เรียกว่า กัมมิโทษ (โรคที่เกิดแต่กรรม) มังสัง (เนื้อ) เนื้อเป็นผื่นช้้า แสบร้อน เป็นไฝ หูด พรายน้้า เสียวทั้งตัว ฟกบวม ร้อนดุจไฟ กระจายดาษ ประกายเพลิง นหารู (เส้นเอ็น) รู้สึกตึง สวิงสวาย ประธาน 10 บริวาร 2700 เส้นเอ็นจะแข็ง เป็นเถาดาน เส้นสุมนากับ อัมพฤกษ์ เป็นต้นเหตุ ท้าให้ระส่้าระส่าย ให้ร้อน เย็น เมื่อย เสียว ไป ทุกเส้นเอ็นทั่วตัว เจ็บเป็นเวลา เส้นอัมพฤกษ์เส้นเดียวให้โทษ 11 อย่าง ถ้าพร้อมกัน 2700 เส้น แล้วก็ตาย ถ้าเป็น 2 – 3 เส้นพอแก้ได้ อัฏฐิ (กระดูกอ่อน แข็ง) เจ็นในกระดูก 300 ท่อน ถ้าพิการแก้ยาก น้้ามันที่อยู่ในข้อ ละลายให้เจ็บ อัฏฐิมิญชัง (เยื่อในกระดูก) ให้ข้นเป็นไข เหน็บชา ไม่บอกอาการ ใช้ยาเหมือนแก้ กระดูก ปวดตามแท่งกระดูก วักกัง (ม้าม) สะท้านร้อนหนาวและเป็นโรค กษัยลม ม้ามหย่อน ม้ามหย่อนมักเป็นป้าง หทยัง (หัวใจ) เสียอารมณ์ ใจน้อย โกรธ หิวโหย เสียจริต ถ้าเป็นน้อยมักโกรธ ระส่้าระส่าย หิว หาก้าลังมิได้ ยกนัง (ตับอ่อน ตับแก่) ตับโต ตับย้อย ตับช้้า ตับเป็นฝี เป็นเพราะโทษ 4 ประการ คือ 1. กาฬขึ้นในตับ ท้าให้ตับหย่อน เป็นเพราะโทษ 4 ประการ ล่วง เข้าลักษณะอติสาร คือ กาฬผุด
  • 6. โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย 2. เป็นฝีในตับ ลงเป็นเลือดสดๆ 3. กาฬมูตรผุดในตับ ลงเป็น เสมหะเน่า ปวดมวน ตาแดง สมมติเรียกว่า กระสือ 4. ปถวีธาตุแตกเอง ระส่้าระส่าย กินไม่ได้ หายใจไม่ถึงท้องน้อย ขึ้นในตับ ตับทรุด เป็นฝีในตับ ลง เลือดเป็นสดๆ กาฬมูตรผุดในตับ ลงเป็นเสมหะเน่า กิโลมะกัง (พังผืด) อกแห้ง หิวน้้า เป็นริดสีดวงแห้ง อกแห้ง หิวน้้า คือ อาการริดสีดวงแห้ง ปิหะกัง (ไต) ขัด แน่นในอก เจ็บเสียว ท้องพอง ก้าลังน้อย ฉี่เหลือง ขัดอก ท้องขึ้น ท้องพอง กิน อาหารไม่ได้ ปัปผาสัง (ปอด) ร้อนในอก หิวน้้า หอบหนัก (กาฬ ขึ้นที่ปอด) อาการดุจไข้พิษ คือ กาฬขึ้นปอดร้อนในอก หิวน้้า อันตัง (ลาไส้ใหญ่) ลงท้อง แน่นท้อง ล้าไส้ตีบ ลงท้อง ขัดอก บางทีให้ลงให้อาเจียน คือ ลมกัมมัชวาตพัดเสมหะให้ เป็นดานแล้วกลับไปในท้องในทรวงอก แล้วให้ตัดอาหารย่อมว่าไส้ตีบ อันตะคุณัง (ลาไส้น้อย) หาว เรอ ขี้เป็นเลือด มืดหน้า ตา มัว เมื่อยเอว หาว เรอ จุกเสียด ตกเลือดตกหนองเป็นลม คลื่นเหียน เจ็บเอว เสมหะขึ้นคอ ร้อนคอร้อนท้องน้อย อุทริยัง (อาหารใหม่) ลงท้อง จุกเสียด พะอืดพะอม สะอึก กินอิ่มแล้วร้อนทั้งท้อง สะอึก จุกแน่นตามชายโครง ผะอืดผะอม กรีสัง (อาหารเก่า) ขี้ไม่ปกติ ธาตุเสีย มักเนื่องมาแต่ ตานขโมยและเป็นโรค เช่น ริดสีดวง คือ ซางขโมยกินเข้าไส้ เมื่อพ้นก้าหนดซางแล้ว คือ ริดสีดวงคูภทวาร มัตถะเกมัตถะลุงคัง (สมอง มันสมอง) หูตึง ตามัว ลิ้นกระด้างคางแข็ง เจ็บหัว ตามืด หูตึง ปากและจมูกเฟดขึ้น ลิ้นกระด้าง เดิมเป็นเพราะ สันนิบาตลมปะกัง แก้ไม่หาย
  • 7. โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย ธาตุทั้ง 4 พิการ (หรือธาตุแตก) อาโปธาตุพิการ ธาตุ เวชศึกษา โรคนิทาน ธาตุวิภังค์ ปิตตัง (น้าดี) พัทธะปิตตะ (น้าดีในฝัก) คลุ้มคลั่งเป็นบ้า คลั่งไคล้ไหลหลง ละเมอเพ้อพก ลงดุจกินยารุ ให้ลงเขียว แดง เหลือง ท้าให้หาสติไม่ได้ อพัทธปิตตะ (น้าดีนอกฝัก) ปวดหัว ตัวร้อน สะท้านร้อน สะท้านหนาว ตาเหลือง ฉี่เหลือง จับไข้ เสมหะ (น้าเสลด) ศอเสมหะ (ลาคอ) ไอ เจ็บคอ คอแห้ง เป็นหืด สะบัดร้อนหนาวเป็นเวลา ลงท้องเป็นเสมหะ เป็นโลหิตเน่า ปวดมวน ท้อง อุระเสมหะ ผอมเหลือง เป็นเถาดาน อกแห้ง แสบคอ คูภเสมหะ ตดอุจจาระเป็นเสมหะและโลหิต เช่น มูกเลือด ปุพโพ (น้าเหลือง) ไอ เบื่ออาหาร ซูบผอม หนองไหลออกมาเนืองๆ กิน อาหารไม่รู้รส ซูบผอม มักเป็นฝี ภายใน 7 ประการ ไอเป็นก้าลัง กินอาหารไม่รู้รส ซูบ ผอม มักเป็นฝีในท้อง โลหิตตัง (เลือด) เป็นไข้ตัวร้อน เพ้อคลั่ง ฉี่แดง เป็นเม็ดตามผิวหนัง เช่น ประดง ต่างๆ เป็นปานด้า ปานแดง กาฬ โรค เป็นต้น แพทย์สมมติว่า ไข้ก้าเดา เพราะโลหิตก้าเริบ ถ้าแตกก็ผุดออกมาเป็น พิษต่างๆ ภายนอก เรียก ไข้รากสาด ข้าวไหม้น้อย ข้าวไหม้ใหญ่ เปลว ไฟฟ้า ประกายเพลิง ล้าลาบเพลิง ส่วนภายในก็เกิดพิษต่างๆ เช่น อาเจียนเป็นเลือด หนาว ร้อน ฉี่ขัดและเป็นสีด้า แดง ขาว เหลือง เสโส (เหงื่อ) สวิงสวาย ตัวเย็น อ่อนใจ สวิงสวาย เหงื่อแตก ตัวเย็น สาก ชา เมโท (มันข้น) ผุดเป็นแผ่น เป็นวง ตามผิวหนัง น้้าเหลืองไหล ปวดแสบปวดร้อน ปวดศรีษะ ปวดตา ขาสั่น อัสสุ (น้าตา) น้้าตาไหล ตาแฉะ ตาเป็นต้อ ปวดศรีษะ เจ็บตา ตามัว น้้าตาตก ตาแห้ง ดวงตา เป็นเยื่อล้าไย วสา (มันเหลว) ตัวเหลือง ตาเหลือง ลงท้อง ตัวเหลือง ตาเหลือง ขี้เยี่ยวไม่ เหลือง ตัวเหลือง ตาเหลืองลงและ อาเจียนดั่งป่วงลม เขโฬ (น้าลาย) เจ็บคอ เป็นเม็ดในคอและโคนลิ้น น้้าลายเหนียว เป็นเม็ดในคอและ โคนลิ้น ปาก คอ เปื่อยน้้าลายเหนียว เป็น เม็ดในคอและโคนลิ้น สิงฆานิกา (น้ามูก) ปวดในสมอง ตามัว น้้ามูกตก ลสิกา (ไขข้อ) เจ็บตามข้อแท่งกระดูกทั่วตัว
  • 8. โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย มูตตัง (ปัสสวาะ) ฉี่เป็นสี ด้า แดง ขาว เหลือง ฉี่แดง เหลืองดังขมิ้น ขาวดังน้้าข้าวเช็ดเป็นนิ่ว ขัดเบา เจ็บหัวเหน่า เป็นมุตกิต สัณฑาต ธาตุทั้ง 4 พิการ (หรือธาตุแตก) วาโยธาตุพิการ ธาตุ เวชศึกษา โรคนิทาน ธาตุวิภังค์ อุทธังคมาวาตา (ลมพัดขึ้น) หาวเรอ เสมหะเพ้อ มือเท้า ขวักไขว่ ร้อนในท้อง ทุรนทุราย เรอบ่อยๆ มือเท้าขวักไขว่ (ดิ้นรน ทุรนทุราย มือเท้าขวักไขว่) อโธคมาวาตา (ลมพัดลง) ยกมือเท้าไม่ไหว เมื่อยขบไปทุกข้อ กุจฉิสยาวาตา (พัดในท้องนอกไส้) สวิงสวาย ท้องลั่น เมื่อยขบไปทุก ข้อ สวิงสวาย ท้องขึ้นท้องลั่น เจ็บอก แดกขึ้นแดกลง โกฐาสยาวาตา (พัดในไส้) ขัดในอก เหม็นข้าว จุกเสียด คลื่นเหียน อาเจียน แน่นในอก เหม็นคาวคอ จุกเสียด อาเจียน อังคะมังคานุสารีวา ตา (ลมพัดทั่วกาย) ตาพร่า วิงเวียน กินไม่ได้ อาเจียน ลมเปล่า สะบัดร้อนสะบัดหนาว เจ็บหน้าขา กระดูกสันหลัง ดุจหิ่งห้อยออกจากตา หูตึง อาเจียนลมเปล่า สะบัดร้อนสะบัดหนาว เมื่อยต้นขาทั้งสองข้าง ดุจกระดูกจะแตก ปวดในกระดูกสันหลัง อัสสาสะปัสสาสะ วาตะ (ลมหายใจเข้า ออก) หายใจสั้นเข้า จนหายใจออกไม่ได้ จะขาดไม่ได้ ขาดเมื่อใดตายเมื่อนั้น
  • 9. โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย ธาตุทั้ง 4 พิการ (หรือธาตุแตก) เตโชธาตุพิการ ธาตุ เวชศึกษา โรคนิทาน ธาตุวิภังค์ สันตัปปัคคี (ไฟอุ่นกาย) ท้าให้กายเย็นชืด เมื่อใดไม่ได้ ตายแล ปริณามัคคี (ไฟย่อยอาหาร) ขัดมือขัดเท้า เป็นม่องคร่อ คือ ปอดเป็นหวัด ไอ ปวดฝ่ามือฝ่า เท้า ท้องแข็ง ผะอืดผะอม ขัดในอกในใจ ไอ เป็นม่องคร่อ มือเท้าบวม ท้องขึ้นท้องพอง ผะอืดผะอม ชิรณัคคี (ไฟที่ทาให้แก่ชรา) กายไม่รู้สัมผัส ชิวหาไม่รู้รส หูตึง หน้าผากตึง อาการเหล่านี้ เปลี่ยนไปมา ความชราน้าพญามัจจุราชมาเล้าโลมสัตว์ทั้งปวง หน้าผากตึง ตาไม่ รู้จักคนแล้วกลับรู้จักอีก กายสัมผัสสิ่งใดก้ไม่รู้สึกตัว แล้วกลับรู้สึกอีก ปริทัยหัคคี (ไฟระส่าระส่าย) ร้อนภายในภายนอก เหงื่อออก มือเท้าเย็น ภายในร้อน เหงื่อตกดุจเมล็ด ข้าวโพด มือเท้าเย็น ชีพจรไม่เดิน ชีพจรเดินไม่สะดวก ชีพจรขาดหลัก 1 ก็ดี 2 ก็ดี ยาแก้ปถวีธาตุ โรคนิทาน ธาตุวิภังค์ ยาแก้หัวใจพิการอื่นๆ ยามหาสดมภ์ใหญ่ ยาชื่อ กล่อมนางนอน แก้ตับพิการ ยาชื่อ ตรีวาสัง แก้ปถวีธาตุพิการ ยาชื่อ พรหมภักตร์น้อย แก้กระดูกพิการ ยาชื่อ พรหมภักตร์กลาง แก้กระดูกพิการ ยาชื่อ มูลจิตใหญ่ แก้หัวใจพิการ ยาแก้หัวใจพิการอื่นๆ ยามหาสดมภ์ ยาสมุทรสาคร ยาสว่างว อารมณ์ ยาชื่อ กล่อมนางนอนใหญ่ แก้ตับพิการ ยาชื่อ ตรีชวาสังค์ แก้ปถวีธาตุพิการ ยาชื่อ ประสะพิมเสน แก้ปถวีธาตุพิการ 3 ประการ (หัวใจ ตับ ปอด)
  • 10. โดย กุญแจการแพทย์แผนไทย ยาแก้อาโปธาตุ โรคนิทาน ธาตุวิภังค์ ไม่ระบุ ยาชื่อ ปโตฬาธิคุณ แก้ไข้เพื่อโลหิตในคิมหันต์ฤดู ยาชื่อ มหาชุมนุมใหญ่สันนิบาต แก้ไข้ในวสันตฤดู ยาชื่อ เขียวมหาพรหม แก้โลหิตพิการ ทั้งกินทั้งพ่น ยาชื่อ อดุลย์วิการ แก้พิษก้าเดาและอาโปธาตุก้าเริบ ยาชื่อ มหาสมิทรธิ์ใหญ่ แก้พิษไข้เหนือไข้รากสาดสันนิบาต ยาชื่อ จักรวาฬฟ้าครอบ แก้ไข้พิษไข้กาฬทั้งปวง ยาชื่อ อนันตไกรวาต แก้ไข้พิษ ไข้ที่ท้าให้ชัก ยาชื่อ มหาก้าลัง แก้หิวหอบระดหยหาแรงมิได้ (ยาต้าราหลวง) ยาชื่อ จิตรมหาวงษ์ แก้คอเปื่อยลิ้นเปื่อย ยาชื่อ สุริจันทน์ แก้พิษก้าเดาและพิษกาฬ ยาแก้วาโยธาตุพิการ โรคนิทาน ธาตุวิภังค์ ยาชื่อ ชิระนัคคีจรื แก้วาโยธาตุพิการ ดีปลี แฝกหอม เปราะหอม พริกไทย แห้วหมู ว่านน้้า สิ่งละ 1 ส่วน รากกระเทียมเท่ายาทั้งหลาย ต้าผงละลายน้้าร้อน/น้้าผึ้ง ยาชื่อ ฤทธิจร แก้วาโยธาตุพิการ ตัวยาเหมือนชิระนัคคี ยาแก้เตโชธาตุพิการ โรคนิทาน ธาตุวิภังค์ ยาชื่อ กาลาธิจร แก้เตโชธาตุพิการ โกฐสอ โกฐพุงปลา ดีปลี แห้วหมู เปลือกโมกมัน ลูกผักชี ลูก เอ็น อบเชย สะค้าน ขิง อ้าพัน เสมอภาค บดละลายน้้าร้อน หรือน้้าผึ้งได้ ยาชื่อ กาลาธิจร แก้เตโชธาตุพิการ ใช้ตัวยาเดียวกับโรคนิทาน