SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
ครูตอเหลบ ปอหรา
รายวิชาฟิสิกส์1 รหัสวิชา ว30201
โรงเรียนท่าแพผดุงวิทย์ จ.สตูล
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต16
แรงเสียดทาน
Friction force
o แรงเสียดทาน Friction force คือ แรงที่เกิดขึ้นระหว่างผิวของวัตถุ
เพื่อต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ มี 3 ระดับ
𝑓 𝑠
𝐹
แรงเสียดทานสถิต
𝑓 𝑠 = 𝜇 𝑠 𝑁
1 . วัตถุไม่เคลื่อนที่
𝑣 = 0
𝑓 𝑘
𝐹
𝑣 > 0
แรงเสียดทานจลน์
𝑓 𝑘 = 𝜇 𝑘 𝑁
2 . วัตถุเริ่มเคลื่อนที่
3 . วัตถุเคลื่อนที่
การพิจารณาทิศทางของแรงเสียดทานได้หลายแบบ เช่น
1. แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นบนผิวสัมผัสของวัตถุที่ไถลจากกันจะมี
ทิศตรงข้ามกับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ดังภาพ
การพิจารณาทิศทางของแรงเสียดทานได้หลายแบบ เช่น
2. แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นที่ผิวสัมผัสของวัตถุที่เคลื่อนที่ไปด้วยกัน
จะมีทิศเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ ดังภาพ
ตัวอย่างพื้นฐาน
การคานวณ เรื่อง แรงเสียดทาน
ข้อ1. ออกแรง 20 นิวตัน ลากวัตถุไปตามพื้นราบ ถ้าสัมประสิทธิ์ของแรง
เสียดทานเท่ากับ 10 จงค้านวณหาน้้าหนักของวัตถุ
ข้อ2. วัตถุ ก มีแรงกดลงบนพื้นโต๊ะ 30 นิวตัน ต้องออกแรงฉุดใน
แนวขนาน 3 นิวตัน สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานมีค่าเท่าไร
ข้อ3. วัตถุอันหนึ่งชั่งได้ 400 นิวตัน วางบนพื้นราบ ถ้าต้องการให้วัตถุ
เคลื่อนที่ต้องออกแรงผลักอย่างน้อย 150 นิวตัน ไปตามแนวราบ
สัมประสิทธิ์ของความเสียดทานมีค่าเท่าไร
ข้อ4. จงหาค่าสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุที่วางอยู่
บนโต๊ะ มีน้้าหนักของวัตถุหรือแรงกดทับ 100 นิวตัน ออกแรงดึง
40 นิวตันในแนวราบ
วิธีคิด จากสูตร
แรงดึง = 40 นิวตัน
แรงกดของวัตถุ = 100 นิวตัน
แทนค่า
ค่าสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานเท่ากับ 0.4
หมายเหตุ : ค่าสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานไม่มีหน่วย
แรงที่ดึงวัตถุให้เคลื่อนที่
แรงที่กดทับลงบนผิวสัมผัส
สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน =
40 นิวตัน
100 นิวตัน
สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน =
ประโยชน์ของแรงเสียดทาน
ประโยชน์ของแรงเสียดทาน ลักษณะการเกิดแรงเสียดทาน
1. ช่วยให้รถยนต์แล่นไปข้างหน้าได้
ยางรถยนต์จึงมีร่องยางช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพการยึดเกาะถนน การยึด
เกาะถนนเรียกว่า ดอกยาง
2. ช่วยให้รถยนต์ถอยหลังได้ ยาง
รถยนต์จึงมีลวดลายดอกยางเพื่อช่วย
ในการยึดเกาะถนน
ประโยชน์ของแรงเสียดทาน ลักษณะการเกิดแรงเสียดทาน
3. การเดินบนพื้นต้องอาศัยแรงเสียดทาน
จึงควรใช้รองเท้าที่มีพื้นเป็นยางและมี
ลวดลายขรุขระ ไม่ควรใช้รองเท้าแบบพื้น
เรียบ เนื่องจากพื้นเรียบแรงเสียดทานน้อย
จะท้าให้ลื่น
4. นักฟุตบอลใช้รองเท้าพื้นตะปู เพื่อเพิ่ม
แรงเสียดทานท้าให้มีแรงยึดเกาะกับพื้น
สนามช่วยให้วิ่งเร็วขึ้น
โทษของแรงเสียดทาน
โทษของแรงเสียดทาน การลดแรงเสียดทาน
1. เกิดความฝืดในเครื่องจักรกล ท้าให้เกิดการ
สูญเสียพลังงานในการขับเคลื่อนเครื่องยนต์
และเกิดความร้อนจากการ ขัดสีท้าให้
เครื่องยนต์สึกหรอ
2. อากาศต้านการเคลื่อนที่ของรถยนต์ ท้าให้
รถยนต์แล่นได้ช้ากว่าที่ควรจะเป็น
3. แรงจากกระแสน้้าต้านการเคลื่อนที่ของเรือ
1. สามารถลดแรงเสียดทานได้ด้วยการ
- ใส่น้้ามันหล่อลื่น
- ใส่บุชกันไม่ให้เหล็กเสียดสีกัน
- ใส่ลูกปืน
2. การผลิตรถยนต์ให้มีรูปร่างเพรียวลม
3. การผลิตเรือให้มีรูปร่างเพรียว ไม่ต้าน
กระแสน้้า
ต่อไปให้นักเรียน ไปทาแบบฝึกทบทวนความเข้าใจ
ปฏิบัติตามขั้นตอนการศึกษาต่อไปได้เลยครับ

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงPonpirun Homsuwan
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 

Similar to แรงเสียดทาน

แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานrutchaneechoomking
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทานkrupornpana55
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3treera
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3treera
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3treera
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 Supaluk Juntap
 

Similar to แรงเสียดทาน (12)

แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
 

แรงเสียดทาน