SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
หนังสือ ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์
โดย จาเร็ด ไดมอนด์
แปล อรวรรณ คูหเจริญ นาวายุทธ
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ตามทฤษฎีของพระบาทสดเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สมาชิกกลุ่ม
นายชินพล สาตจีนพงษ์ 55080501001 ครุฯไฟฟ้ า
นางสาวชนกานต์ ผดุงเขตร์ 55080501004 ครุฯไฟฟ้ า
นายธนวัฒน์ การไสว 550805001005 ครุฯไฟฟ้ า
นายศุภวิชญ์ สุขเกิด 55080501006 ครุฯไฟฟ้ า
นางสาวกิดาการ ดากลืน 55090500604 ฟิ สิกส์
นายวิทยาศาสตร์ จงหมายกลาง 55090500635 ฟิ สิกส์
นางสาวสวรส คนหาญ 55090500642 ฟิ สิกส์
นางธนวัฒน์ นามโสวรรณ 56090500659 ฟิ สิกส์
นายสหพล ทองแสง 56090500729 ฟิ สิกส์
ภาคหนึ่ง : จากอีเดนสู่คาฮามาร์คา
1.ก่อนจะถึงจุดตั้งต้น
จ า ก บ ท ค ว า ม จ ะ ก ล่ า ว ถึ ง วิ วั ฒ น า ก า ร ข อ ง ม นุ ษ ย์ ใน ยุ ค ต่ า ง ๆ
ซึ่ง เ ริ่ม จ า ก ว่ าม นุ ษ ย์ พั ฒ น า ม า จ า ก อ ะ ไ ร ด า ร ง ชี วิ ต ด้ ว ย วิ ถี ชี วิ ต แ บ บ ใด
โดยจากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่
สามห่วง
การมีเหตุผล : การสูญพันธุ์ของสัตว์ล้วนเกิดจากการทาลายด้วยน้ามือของมนุษย์ทั้งนั้น
ซึ่งวิวัฒนาการของสัตว์ก็เกิดขึ้นพร้อมๆกันกับวิวัฒนาการการล่าของมนุษย์ที่ค่อยๆพัฒนามากขึ้นเรื่อยๆ
เช่นเดียวกัน ซึ่งสัตว์หลายๆประเภทก็ต้องสูญพันธุ์เพราะเหตุนี้เช่นกัน
ภูมิคุ้มกัน : มนุ ษย์ในยุ ค แรกๆ สามารถป รับ ตัว เข้ากับ สภาพแว ดล้อมได้ง่าย
ถึง แ ม้ จ ะ ย้ า ย ถิ่ น ฐ าน ไ ป ยั ง ภู มิ ภ า ค ที่ มีส ภ า พ แ ว ด ล้อ ม แ ต ก ต่ า ง จ า ก เ ดิ ม
มนุษย์ก็สภาพปรับตัวได้อย่างรวดเร็ว
สองเงื่อนไข
ค ว า ม รู้ : ม นุ ษ ย์ ก ารป ระยุ ก ต์ใช้ สิ่ง ข อ ง ร อบ ตัว ให้ เกิ ด ป ระโย ช น์ เช่ น
ใช้ หิ น ท า อ า วุ ธ ใ น ก า ร ล่ า สั ต ว์ แ ล ะ ป้ อ ง กั น อั น ต ร า ย จ า ก สั ต ว์ ใ ห ญ่
ใช้เปลือกไข่นกกระจอกเทศทาเครื่องประดับ และมีการใช้ประโยชน์จากสัตว์
2.การทดลองโดยธรรมชาติในประวัติศาสตร์
จากบทความนี้จะมีเนื้อหาเกี่ยวกับการทดลองหรือทดสอบถึงความแตกต่างระหว่างมนุษย์ที่อยู่ต่
างที่กัน ถึงแม้จะมาจากบรรพบุรุษเดียวกันก็ตาม แต่ถ้าแยกอาศัยอยู่ในที่ที่มีสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน
ภูมิป ระเท ศ ที่ต่ างกั นก็ ย่ อม มีก ารพัฒ นาและวิถีการดารงชี วิตที่ ต่ างกั นแน่ นอ น
โดยจากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่
สามห่วง
ก า ร มี เ ห ตุ ผ ล :
เพราะชาวโมริขดผู้นาและองค์กรที่เข้มแข็งแถวไม่มีป ระสบ การณ์ในการท าสงค ราม
ทาให้ถูกรุกรานจากชาวเมารีที่มีทั้งประสบการณ์การทาสงคราม เทคโนโลยีและอาวุธที่ทันสมัยกว่า
ความพอประมาณ : ชาวโมริอิใช้ชีวิตโดยวิถีชีวิตที่เรียบง่าย คือการทาการเกษตร
เช่นเดียวกับชาวโพลีนีเชียที่ใช้ชีวิตแบบผสมผสาน คือมีทั้งการเลี้ยงสัตว์และการทาการเกษตร
สองเงื่อนไข
ค ว าม รู้ : ช าว โพ ลีนีเชีย มีการท าช ลป ระท านซึ่งท าให้ มีน้ าไว้ใช้ งานต ลอด
มีการทาการเกษตรแบบขั้นบันได และมีการปลูกพืชหมุนเวียนหลายชนิด ทาให้มีอาหารเพียงพอตลอด
คุณธรรม : หลังจากที่ชาโมริอิถูกรุกรานจากชาวเมารีก็ไดย้ายถิ่นฐานไปอยู่บนเกาะแซแธม
แ ล ะ เ รี ย น รู้ วิ ธี ด า ร ง ชี วิ ต อ ยู่ ร่ ว ม กั น อ ย่ า ส ง บ ใ น สั ง ค ม ข อ ง ต น เ อ ง
ร ว ม ไ ป ถึ ง ย ก เ ลิ ก ก า ร ท า ส ง ค ร า ม แ ล ะ ล ด ปั ญ ห า ก า ร ขั ด แ ย้ ง
ซึ่งเป็นการยุติความขัดแย้งที่สงบและไม่ต้องมีการสูญเสียเกิดขึ้นอีก
3. การปะทะที่คาฮามาร์คา
ใ น เ นื้ อ ห า ร ข อ ง บ ท ที่ 3
เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีทางด้านอาวุธที่ดีกว่าทาให้มีความได้เปรียบทางด้านการล่
า แ ล ะ ข ย า ย อ า ณ า นิ ค ม ดั ง ตั ว อ ย่ า ง ใ น บ ท ที่ 3
ที่ได้ยกเหตุการณ์ที่คาฮามาร์คาที่กองทหารที่น้อยกว่าสามารถมีชัยเหนือกว่ากองกาลังที่มีจานวนมากกว่
า ซึ่งปัจจัยห ลักข องการมีชัย ในค รั้งนี้แห ละอีกห ลายห ลายค รั้งที่ตามมาเป็ นเพราะ
ฝ่ า ย ช น ะ มี อ า ว ะ ที่ ดี ก ว่ า มี ปื น มี ดิ น ร ะ เ บิ ด มี ม้ า
ซึ่งปัจจัยที่ได้เปรียบเหล่านี้ทาให้ฝ่ายยุโรปในยุคนั้นสามารถล่าอาณานิคมและแย่งชิงพื้นที่ต่างต่างของโล
ก ได้ เ ป็ น จ า น ว น ม าก ซึ่ง ท า ให้ ส่ ง ผ ล ก ร ะบ ท ต่ อ ก ลุ่ ม ช น ต่ า ง ต่ า ง บ น โล ก
ซึ่งสิ่งต่างต่างเหล่านี้ล้วนเกิดขึ้นมาเพียงเพราะ ปืน เชื้อโรคและเหล็กกล้า
สามห่วง
ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล :
การที่สเปนและฝังยุโรปไม่รู้จักพอทาให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวถ้าเรารู้จักพึ่งพิงกันเหตุการณ์เหล่านี้คงไม่
เกิดขึ้น
ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ :
การที่สเปนไม่รู้จักการพอมีความโลภที่จะอยากได้พิ้นที่ของคนอื่นทาให้เกิดมีการแยงชิงพิ้นที่ทาให้กระท
บกับชนพื้นเมืองถ้าสเปนรู้จักพอเหตุการณ์แบบนี้ก็คงไม่เกิดขึ้นโลกเราจะสงบขึ้น
ภู มิ คุ้ ม กั น :
ในสงครามครั้งน้าการณ์ที่สเปนสามารถชนะสงครามได้ก็เพราะฝังอินคาได้ไม่ทาศัตรูไว้กับชนเผ่าอื่นอื่นโ
ด ย ร อ บ ท า ใ ห้ ช น เ ผ่ า ร อ บ ร อ บ ไ ม่ ช อ บ อ ยู่ แ ล้ ว
แต่ถ้าเผ่าอินค าไป ผูกมิตรไว้สิ่งที่ได้ก็เกาะแห่ ง มิตรภ าพข องช นเผ่าถ้าสเป นบุ กมา
อินคาอาจจะยังไม่ล่มสลายก็ได้
สองเงื่อนไข
ค ว า ม รู้ :
จากเหตุการณ์ข้างต้นการที่เรามีความรู้เหนือกว่ามีเทคโนโลยีที่ดีกว่าทาให้เราได้เปรียบกว่าในการทาลา
ยแต่ถ้าเราเอาไปใช้ผิดก็จะทาให้เกิดการล้มตายเป็นจานวนมากแต่ถ้าเราใช้ถูกทางก็จะสามารถช่วยให้เร
าดารงง่ายขึ้น เทคโนโลยีมันจะดีจะไม่ดีก็อยู่ที่คนใช้
คุ ณ ธ ร ร ม : ถ้ า ส เ ป น รู้ จั ก ค ว า ม เ อื้ อ เ ฟื้ อ เ พื่ อ แ ผ่ รู้ จั ก พ อ
แ ล ะ เ ป็ น มิ ต ร กั น ดี ก ว่ า ท า ล า ย กั น ก า ร ท า ล า ย กั น ก็ ค ง ล ด ล ง
โล ก เ ร า ใน ปั จ จุ บั น ก็ เห มื อ น กั น ถ้ าเ ร า รู้จัก ก า ร เ อื้อ เ ฟื้ อ เพื่ อ แ ผ่ เ ห็ น ใจ กั น
สงครามหรือการทะเลาะก็คงจะน้อยลง
ภาคสอง : จุดเริ่มต้นและการขยายตัวของการผลิตอาหาร
4. อานาจของเกษตรกร
ส่วนในบทที่ 4 เป็นบทเริ่มของการเกษตรที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของมนุษย์โลก
โ ด ย ก า ร เ ล่ า เ รื่ อ ง ข อ ง วิ วั ฒ น า ก า ร ข อ ง ก า ร บ ริ โ ภ ค
เริ่มเล่าตั่งแต่เมื่อเริ่มมนุษย์มีการหาอาหารจากป่าจนเริ่มมีการเพราะปลูกรู้จักการเลี้ยงสัตว์เพื่อยังชีพ
และห ลังจากยุ ค ล่าอาณ านิค มมีการป ฏิวัติอุตสาห กรรมที่ให้การบ ริโภค เป ลี่ย นไป
ม นุ ษ ย์ โ ล ก บ ริ โ ภ ค ม า ก ขึ้ น ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ม า ก ขึ้ น
อัน เ นื่ อ ง ม า จ า ก ก า ร ผ ลิต แ ล ะ ข น ส่ ง ข อ ง ไ ป ยั ง ที่ ต่ า ง ต่ า ง ทั่ว ทุ ก มุ ม โ ล ก
ส่ ง ผ ล ให้ ธ ร ร ม ช า ติ ถู ก ท า ล า ย ม า ก ขึ้ น เกิ ด ค ว า ม ไม่ ส ม ดุ ล ท าง ธ ร ร ม ช า ติ
เกิดโรคระบาดและผลต่างต่างตามมา
สามห่วง
ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล
ในการบริโภคของเราในแต่ละวันเพิ่มมากขึ้นทุกวันถ้าเรารู้จักว่าเราบริโภคอะไรไปแล้วจะเกิดอะไรขึ้น
ถ้าทุ กค นบ นโลก นี้รู้และมาร่วม กันเป ลี่ย น แป ลง โลกข อง เราก็จะน่ าอยู่ มากขึ้ น
โรคระบาดร้ายแรงน้อยลง ธรรมชาติก็จะกลับมาสมบูรณ์ดังเดิม
ก า ร พ อ ป ร ะ ม า ณ
เหตุของการบริโภคที่เกินความจาเป็นซึ่งปัจจัยหลักก็เกิดมาจากเหตุผลเดิมคือการณ์พอประมาณ
ถ้า เร า ทุ ก ค น รู้จั ก ก า รป ร ะ ม า ณ ต น เ อ ง รู้ว่ าเ รา ค ว รท าอ ะ ไร แ ค่ ไห น ไ ม่ โล ภ
โลกเราคงจะดีว่ากว่าที่เป็นอยู่อย่างแน่นอน
ภู มิ คุ ม กั น
ภูมิคุมิกันที่ดีที่สุดสาหรับโลกเราในปัจจุบันที่โลกส่วนใหญ่หลงอยู่กับการบริโภคอย่างไม่หยุดยั้งก็คือภูมิคุ้
มกันที่ใจเราเอง เราคงปฏิเสธไม่ได้ว่าปัจจุบันสังคมเราที่แวดล้อมอยู่รอบตัวเรานั้นมีแต่การบริโภค
สิ่งแวดล้อมจึงเป็นภูมิคุมกันเราไม่ได้เลย สิ่งดีที่สุดคือใจเราเอง
สองเงื่อนไข
มีค ว ามรู้ ถ้าเรารู้ถึง วิ ธีการผลิตอาห ารและสารมารถ ผลิตอาห ารได้เอง
ก็จะทาให้เราสามารถอยู่ได้โดยที่พึ่งปัจจัยภายนอกลดลงซึ่งส่งผลทาให้การบริโภคที่พึ่งอุตสาหกรรมลดล
งที่ให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น
คุณ ธรรม เห ตุการณ์ต่างต่าง มันถูกขับ เค ลื่อนด้ว ย ค ว ามไม่พ อค ว ามโลภ
โลภ อ ย าก มีเป็ น ข อ งต น เอง โลภ อย าก บ ริโภ ค แล้ว สุด ท้ าผ ลออ กม ามันไม่ ดี
ถ้าเรา รู้เห ตุ แ ล้ว เรา ก็ ค ว รจะ ระงับ เห ตุ ที่ ส่ง ม ายั ง ผ ล ที่ ไม่ ดี เร าค ว รรู้จัก พ อ
ไม่ใช้ไม่กินไม่ใช้เลยแต่ให้บริโภคแต่ความจาเป็น มันก็ช่วยให้สิ่งต่างต่างดีขึ้นมาแล้วแหละครับ
5. ผู้มีอานาจและผู้ไร้อานาจในประวัติศาสตร์
จ า ก บ ท ค ว า ม ผู้ มี อ า น า จ แ ล ะ ผู้ ไ ร้ อ า น า จ ใ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์
จะเป็นการตั้งคาถามที่ต้องการคาอธิบายเกี่ยวกับแหล่งผลิตอาหารและการผลิตอาหาร
ท า ไ ม ถึ ง เ ป็ น เ ช่ น นี้ เ พ ร า ะ เ ห ตุ ใ ด
ซึ่งสอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตามหลัก “ สามห่วง
สองเงื่อนไข ” ดังนี้
สามห่วง
ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล : ค า ต อ บ ข อ ง ค า ถ า ม คื อ
เพ ร า ะ ส ภ า พ ท า ง นิ เ ว ศ วิ ท ย า แ ล ะ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง ส ภ า พ ภู มิ ศ า ส ต ร์
เป็ น ตัว แ ป รส าคัญ ที่ ท า ให้ ก าร ผ ลิต อ าห ารใน แ ต่ ละ พื้น ที่ เกิ ด ขึ้ น ได้ห รือ ไม่ ได้
แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ข อ ง แ ต่ ล ะ พื้ น ที่ นั้ น
เป็นตัวกาหนดว่าคนกลุ่มไหนในสังคมจะเป็นผู้มีอานาจหรือไร้อานาจในสังคม
ภูมิคุ้มกัน : เราควรปรับตัวตามสภาพแวดล้อมที่เราอาศัยอยู่ เพราะการมีภูมิคุ้มกันที่ดี
จะทาให้เราสามารถดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างยั่งยืน และอยู่รอดปลอดภัย
สองเงื่อนไข
ค ว า ม รู้ : ก า ร น า ค ว า ม รู้ท า ง วิ ช า ก า ร ม า ป รับ ใช้ ให้ เกิ ด ป ร ะ โย ช น์
ในการคานวณหาอายุของการผลิตอาหาร โดยดูจากสัดส่วนของธาตุคาร์บอน ๑๔ / คาร์บอน ๑๒
ในซากพืชและซากสัตว์ นั้นๆ ซากพืชและสัตว์เลี้ย งที่เราคานว ณและท ราบ อายุแล้ว
จะใช้เป็นหลักฐานบอกได้ว่าพื้นที่นั้นๆ มีการผลิตอาหารแล้ว และเกิดขึ้นในช่วงเวลาใด
6. ทาการเกษตร หรือ ไม่ทาการเกษตร
จ า ก บ ท ค ว า ม ท า ก า ร เ ก ษ ต ร ห รื อ ไ ม่ ท า ก า ร เ ก ษ ต ร
จะเป็นการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างพวกคนที่ดาเนินชีวิตแบบการผลิตอาหารเองกับพวกคนที่
ด า เ นิ น ชี วิ ต แ บ บ ห า ข อ ง ป่ า -ล่ า สั ต ว์
ซึ่งสอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตามหลักการ “
สามห่วง สองเงื่อนไข ” ดังนี้
สามห่วง
ความมีเหตุผล : การเป็นเกษตรกรนั้นมีข้อเสียมากกว่าพวกหาของป่า-ล่าสัตว์เสียอีก เช่น
มี อ า ห า ร ก า ร กิ น น้ อ ย ก ว่ า มี โ ร ค ภั ย ที่ รุ น แ ร ง ก ว่ า แ ล ะ อ า ยุ สั้ น ก ว่ า
แต่เหตุใดพวกเขาจึงตัดสินใจเลือกทางเดินการเป็นเกษตร
ความพอประมาณ : เราควรหาอาหารด้วยความพอประมาณ เพื่อให้ได้รับพลังงานแคลอรี่
โป ร ตี น ที่ เ พี ย ง พ อ ใน แ ต่ ล ะ วั น โ ด ย ต้ อ ง ใช้ เ ว ล า แ ล ะ แ ร ง ง า น น้ อ ย ที่ สุ ด
มากกว่าการที่หาอาหารแบบเกินความพอดี ใช้วิถีชีวิตแบบขึ้นๆลงๆ ที่มีโอกาสที่จะเสี่ยงต่อการอดตาย
ภู มิ คุ้ ม กั น : พ ว ก ที่ มี ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต แ บ บ ก า ร ผ ลิ ต อ า ห า ร
และพวกที่มีการดาเนินชีวิตแบบหาของป่าล่าสัตว์ มีการยอมรับการดาเนินชีวิตซึ่งกันและกัน
และนาบางส่วนมาผสมสานกับของตนเอง เพื่อการดาเนินชีวิตที่เรียบง่ายและดียิ่งขึ้น
สองเงื่อนไข
ค ว า ม รู้ :
การนาความรู้เกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจมาพัฒนาและประยุต์ใช้จนเกิดเป็นระบบเศรษฐกิจแบบผสม
แข่งขันกับระบบเศรษฐกิจบริสุทธิ์
7. วิธีผลิตเมล็ดอัลมอนด์
จากบทความวิธีผลิตเมล็ดอัลมอนด์นี้เราจะเห็นถึงการประยุกต์ใช้สิ่งต่างๆรอบตัวให้เกิดประโยช
น์และสามารถนามาใช้ป ระโยช น์ได้จริงซึ่งเป็ นไป ตามห ลักการสามห่ วงสองเงื่อนไข
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอันได้แก่
ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ :
ซึ่งในเรื่องนี้เราจะเห็นถึงการที่เกษตรกรในยุคก่อนซึ่งการปลูกผลไม้หรือการปลูกพืชผักนั้นเป็นไปได้ค่อ
นข้างยากซึ่งต้องมีความพอเพียงในการเก็บเกี่ยวผลผลิตให้เหมาะสมกับปริมาณที่จะนามาใช้บริโภคและ
นาไปแปรรูปเป็นผลผลิตอย่าอื่น
ค ว าม มีเห ตุผ ล : อัน ได้แก่ ป ริม าณ พืช ผ ลผ ลิตที่ มีจากั ดไม่ ว่ าจะเป็ นที่ ใด
ดังนั้นจึงแสดงให้เห็นว่าต้องมีความพอเพียงจึงจะทาให้มีผลิตที่จะสามารถเลี้ยงชีพได้ในระยะยาว
ภู มิ คุ้ ม กั น :
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเองจะเห็นได้โดยผลกระทบการเปลี่ยนแปลงของลักษณะทางชีววิทยาของพืช
พรรณ ซึ่งมีพืชหลากหลายชนิดที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเองที่ดีจะช่วยให้เกษตรกรมีผลิตผลทีดีและสามารถช่วยเลี้ยงชีพได้
ห ลัก ก า ร ส อ ง เงื่อ น ไข ต า ม แ น วเศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เพี ย ง อัน ได้แ ก่ ค ว าม รู้
ดังในบทความนี้จะเห็นได้ว่าความรู้ทางวิชาการสามารถนามาปรับปรุงพันธุ์พืชให้ดียิ่งๆขึ้นไปช่วยให้มีค
วามปลอดภัยโดยที่มนุษย์สามารถบริโภค และแพร่พันธุ์พืชได้มากยิ่งขึ้น
แล ะ ห ลัก คุ ณ ธ รร ม : นั่น คือ มี ค ว า ม ซื่ อ สัต ย์ ค ว า ม อ ด ท น ค ว าม เพี ย ร
ก า ร ใ ช้ ส ติ ปั ญ ญ า ใ น ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต
ดังในเรืองนี้เราจะเห็นได้ถึงความซื่อสัตย์สุจริตของเกษตรกรในการให้สิ่งดีๆต่อเพื่อนมนุษย์
การดาเนินชีวิตด้วยความไม่ประมาท เตรียมพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงหลายๆอย่างที่เกิดขึ้น
หลักการทั้งห้าอันได้แก่ความพอประมาน ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ความรู้ และหลักคุณธรรม
ดังในตัวอย่างบทความนี้จะนาไปสู่ความสมดุล พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงทุกรูปแบบ
8. แอปเปิ ล หรือ อินเดียน
จากบทความแอปเปิลหรืออินเดียนนี้เราจะเห็นถึงการประยุกต์ใช้สิ่งต่างๆรอบตัวให้เกิดประโยช
น์และสามารถนามาใช้ป ระโยช น์ได้จริงซึ่งเป็ นไป ตามห ลักการสามห่ วงสองเงื่อนไข
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอันได้แก่ความพอประมาณจะเห็นได้ว่าการ
ยึ ด ค ร อ ง อ า ณ า นิ ค ม ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ม ห า อ า น า จ
ทาให้ชาวอินเดียนต้องรู้จักแสวงหาการเอาตัวรอดโดยการปลูกพืชชนิดต่างๆที่หาได้จากรอบๆตัวนามาใ
ช้ให้เกิดประโยชน์
ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล :
จะให้ได้จากการที่ชาวอินเดียนพยายามปรับตัวให้เข้ากับเหตุการณ์โดยความพอประมาณเพราะจะช่วยใ
ห้เอาตัวรอดในยุคสงครามนั่นเอง
ภู มิ คุ ม กั น :
การใช้ชีวิตด้วยความโลภนั้นถ้าเราศึกษาจากบทความนี้จะเห็นว่าส่งผลกระทบต่อผู้อื่นอย่างมาก
ห า ก ม นุ ษ ย์ เ ร า ใ ช้ ชี วิ ต อ ยู่ บ น ค ว า ม พ อ เ พี ย ง พ อ ป ร ะ ม า ณ
และมีเหตุผลก็จะช่วยให้เรารู้จักใช้สิ่งที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ และสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข
ภูมิคุ้มกันที่ดีนั้นจึงต้องเริ่มต้นที่ตัวเราเอง
หลักการสองเงื่อนไขตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงอันได้แก่
ค ว า ม รู้ :
จากบทความแอปเปิลหรืออินเดียนนี้เราจะเห็นว่าปัจจัยที่มีผลถึงการปลูกพืชพรรณที่สาคัญคือสภาพลัก
ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ท า ง ชี ว วิ ท ย า ข อ ง พื ช นั้ น ๆ เ อ ง
ไ ม่ ว่ า จ ะ ใ น อ ดี ต ห รื อ ปั จ จุ บั น ห า ก เ ร า ศึ ก ษ า ปั จ จั ย เ ห ล่ า นี้ ใ ห้ ดี
เราก็จะมีผลิตผลที่ดีไว้ใช้บริโภคได้อย่างแน่นอน
คุณธรรม : ถ้าหากคนเราใช้ชีวิตบนโลกด้วยหลักมนุษยธรรมเราจะตระหนักถึงการเบียดเบียน
แ ล้ ว ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ผู้ อื่ น
ซึ่งค วาไม่รู้จักพอนี้เองที่จะเป็ นบ่ อเกิดปัญ หาที่ท าให้มนุษย์เราแก่ งแย่ งชิงดีกันไม่รู้จบ
ดั่งในตัวอย่างบทความนี้เราจะเห็นถึงการล่าอาณานิคมของประเทศมหาอานาจตะวันตกที่มีต่อชาวอินเดี
ยนนั่นเอง
9. ม้าลาย..คู่สมรสที่ไร้ความสุขและหลักการ แอนนา คาเรนนิน่า
จากหลักพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในเรื่องของความพอเพียง
โดยหลักการคือ สามห่วง สองเงื่อนไข ในส่วนของ สามห่วง คือ ความพอเพียง ความมีเหตุผล
แล ะก ารมีภู มิคุ้ม กั น แล ะใน ส่ ว น ข อ ง สอ ง เงื่อ น ไข คือ มีค ว าม รู้ มีคุ ณ ธรร ม
จะทาการเชื่อมโยงหลักการนี้กับบทความ
สามห่วง
ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ :
การเพาะเลี้ย งสัตว์ในสมัยนั้นเป็ นเรื่องที่ย ากมากและสัตว์บ างช นิดก็มีนิสัย ที่ดุร้าย
ถึงแม้มนุษย์จะเพาะเลี้ยงได้น้อยแค่ไหน ก็ไม่ยอมแพ้ที่จะเพาะเลี้ยงสัตว์ต่อไป
ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล :
อันเกิดจากการที่มนุษย์ในยุคนั้นจาเป็นจะต้องเพาะเลี้ยงสัตว์เพื่อเอสัตว์นั้นมาใช้ประโยชน์ในด้า
นต่างๆ เช่ น ใช้เป็ นอาห าร ใช้ ท างาน ใช้ท าปุ๋ ย ใช้เฝ้ าบ้าน และ อีก ห ลาย อย่ าง
มนุษย์จึงจาเป็นที่จะต้องนาสัตว์มาเพาะเลี้ยงได้
การมีภู มิคุ้มกัน : ในยุ ค นั้นมนุ ษย์ได้ป ระสบ ปัญ ห าก ารเพาะ เลี้ย งสัตว์ไม่ได้
จึงไม่มีสัตว์ให้เอามาใช้ประโยชน์ แต่มนุษย์ก็ได้ใช้ความรู้ที่มีอยู่ดารงชีวิตด้วยตัวเองได้
สองเงื่อนไข
ความรู้ :
มนุษย์ได้ใช้ความรู้จาการที่ได้ลองนาสัตว์ต่างๆมาเพาะเลี้ยงจนทาให้ได้ชนิดของสัตว์มากขึ้นกว่าเดิมและ
สัตว์บางชนิดนั้นถูกมนุษย์นามาพัฒนาสายพันธุ์ให้ได้ดียิ่งขึ้นเพื่อให้เหมาะกับการเอามาใช้ประโยชน์
มีคุณธรรม : ถึงแม้มนุษย์จะต้องล่าสัตว์มาเพื่อบริโภค แต่มนุษย์ก็ยังเลือกชนิดของสัตว์ในการล่า
กล่าว คือ สัตว์ที่ ไม่ นิย ม นามาท าเป็ นอาห าร เช่ น แม ว , กระต่าย , สุนั ข เป็ นต้น
เ พ ร า ะ สั ต ว์ จ า พ ว ก นี้ มั น เ ป็ น ม า ก ก ว่ า อ า ห า ร
เพราะมันเป็นสัตว์เลี้ยงของเราและยังเป็นเพื่อนของเราได้อีกด้วย
10. ผืนฟ้ ากว้าง กับ แนวการวางตัวของทวีป
จากหลักพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในเรื่องของความพอเพียง
โดยหลักการคือ สามห่วง สองเงื่อนไข ในส่วนของ สามห่วง คือ ความพอเพียง ความมีเหตุผล
แล ะก ารมีภู มิคุ้ม กั น แล ะใน ส่ ว น ข อ ง สอ ง เงื่อ น ไข คือ มีค ว าม รู้ มีคุ ณ ธรร ม
จะทาการเชื่อมโยงหลักการนี้กับบทความ
สามห่วง
ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ :
มนุ ษ ย์ ใน แต่ ละพื้น ที่ ทั่ว โลก นั้น มีค ว าม แต ก ต่าง กั น ใน ด้าน ข อง สภ าพ แ ว ด ล้อ ม
แต่ล ะพื้ นที่ จึงป ระ สบ ปัญ ห าใน ก ารเพ าะ ป ลูก พืช และ ก ารเพ าะ เลี้ย ง สัต ว์ต่ าง ๆ
มนุษย์ในสมัยนั้นจึงใช้ทรัพยากรเท่าที่มีอยู่ในการประกอบเลี้ยงชีวิตของตนเอง
ก า ร มี ภู มิ คุ้ ม กั น ที่ ดี :
ใน ยุ ค สมัย นั้นมนุ ษย์ ได้ป ระสบ ปัญ ห าข าดแค ลน วัตถุดิบ ใน ก ารป ระก อบ อาห าร
จึงทาให้มนุษย์จะต้องนาวัตถุดิบที่มีอยู่ในแถบพื้นที่นั้นมาปรับปรุงสายพันธุ์ให้มีความเหมาะสมกับพื้นที่
นั้นๆ เพื่อที่จะไม่ต้องพึ่งพาการนาเข้าวัตถุดิบจากที่อื่น
ความมีเห ตุผล : จากประโยค ที่ว่ า “ถ้าพื้นที่ไห นดี คว ามเจริญ ก็จะเข้ามาเอง ”
ดัง นั้ น ท วี ป ยู เรเ ชี ย จึง เ ป็ น พื้ น ที่ ที่ มี ก า รก ระจ า ย ข อ ง พื ช แ ละ สัต ว์ ม าก ที่ สุ ด
เพราะพื้นที่แถบทวีปยูเรเชียนั้นมีความอุดมสมบูรณ์ ภูมิอากาศที่ดีและระบบนิเวศน์ที่น่าอยู่ด้วย
สองเงื่อนไข
ความรู้ : ปั ญ ห า ข อ ง ก า ร ก ร ะ จ า ย อ า ห า ร ที่ ส า คั ญ ก็ คื อ
ลักษณะภูมิประเทศกับลักษณะของพืชและสัตว์แต่ละชนิดนั่นเอง แต่ปัจจุบันปัญหานี้ได้ถูกแก้ไขแล้ว
เพราะได้มีการพัฒนาสายพันธุ์ของพืชและสัตว์แต่ละชนิดให้เข้ากับพื้นที่นั้นๆ
มีคุณ ธรรม : ถึงแม้แต่ละพื้นที่จ ะป ระ สบ ปัญ ห าก ารก ระจ าย ตัว ข องอาห าร
แต่ก็ไม่มีเหตุการณ์แย่งชิงอาหารกันเกิดขึ้น เพราะมนุษย์ในสมัยนั้นดารงชีวิตด้วยความพอเพียง
ไม่เบียดเบียนใคร ไม่มีอาหารจากข้างนอกก็ปลูกพืชเลี้ยงสัตว์เป็นอาหารเองได้
11.ของขวัญมรณะจากสัตว์เลี้ยง
บท ค วามนี้จะกล่าว ถึงอันตรายที่มาจากเชื้อโรค ซึ่งจะพูดถึงที่มาของเชื้อโรค
ก า ร แ พ ร่ พั น ธุ์ ข อ ง เ ชื้ อ โร ค ร ว ม ไ ป ถึ ง ก า ร ป้ อ ง กั น เ ชื้ อ โร ค ข อ ง ม นุ ษ ย์
โดยจากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่
สามห่วง
ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล : เ ชื้ อ โร ค นั้ น เป็ น สิ่ ง ที่ ธ ร ร ม ช า ติ ได้ คั ด ส ร ร ม า แ ล้ ว
เช่ น เดี ย ว กั น ม นุ ษ ย์ อ ย่ าง เร าก็ เ ป็ น สิ่ง ที่ ถู ก ธร รม ช า ติคั ด ส รร ม า เห มื อ น กั น
ถ้ า เ ร า ล อ ง ป รั บ มุ ม ม อ ง ใ น ก า ร ม อ ง เ ชื้ อ โ ร ค ใ ห ม่
เราก็จะสามารถเห็นอะไรหลายๆอย่างที่เราปิดกั้นที่จะรับรู้มาตลอด
ภู มิ คุ้ ม กั น : ม นุ ษ ย์ ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง ภู มิ คุ้ ม กั น ไ ด้ เ อ ง
เพื่อที่จะนามาใช้ต่อต้านเชื้อโรคไม่ให้เข้ามาทาร้ายร่างกายของเรา
สองเงื่อนไข
ค ว า ม รู้ : สิ่ ง ที่ ท า ล า ย ม นุ ษ ย์ ไ ด้ ม า ก ที่ สุ ด ก็ คื อ เ ชื้ อ โ ร ค
ซึ่ ง เ ชื้ อ โ ร ค ไ ม่ ไ ด้ ท า อ ะ ไร เ ล ย มั น อ ยู่ เ ฉ ย ๆ นิ่ ง ๆ ก็ ส า ม า ร ถ แ พ ร่ พั น ธุ์ ไ ด้
ซึ่งก็คือการติดเชื้อระว่างคนที่เป็นโรคไปยังคนที่มีสุขภาพดีนั่นเอง
12.ภาษาเขียนคัดลอกหรือยืมมา
จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่
สามห่วง
ความพอประมาณ : ภาษาเขียนของชาวมายาเกิดขึ้นอย่างเป็นเอกเทศ
และรูปแบบสัญลักษณ์ที่ใช้ก็มีลักษณะโดดเด่นเฉพาะตัว
แต่กลับมีลักษณะโครงสร้างและหลักการพื้นฐานคล้ายคลึงกับภาษาเขียนของชาวสุเมเรียนและภาษาอื่น
ๆในยูเรเชียตะวันตก คือ
มีการใช้สัญลักษณ์ของคาที่มีความหมายอย่างหนึ่งมาใช้เขียนในความหมายนามธรรมที่มีเสียงพ้องกันด้
วย
สัญลักษณ์แทนเสียงของชาวมายาก็เหมือนกับสัญลักษณ์แทนเสียงพยางค์แบบตัวคะนะของญี่ปุ่นและลีเ
นียร์บีของชาวมัยซีเนียนในกรีซ
ความมีเหตุผล : ปัญหาพื้นฐานของภาษาเขียนทุกระบบ คือ
การประดิษฐ์เครื่องหมายที่สามารถยอมรับกันทั่วไป
ที่ใช้สื่อแทนเสียงพูดหรือเป็นเครื่องหมายที่ใช้แทนความคิดหรือคาพูดโดยสัมพันธ์กับการออกเสียง
ชนเผ่าสุเมเรียนหาทางออกของปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน
โดยใช้ภาพของสิ่งของนั้นๆเป็นสัญลักษณ์โดยตรง เช่น ภาพปลาหรือนก
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาพดังกล่าวประกอบด้วยจานวนนับและคานามซึ่งใช้กับสิ่งที่เป็นรูปธรรม
ต่อมาจึงค่อยๆมีลักษณะเป็นนามธรรมมากขึ้น เริ่มมาใช้ปากกาที่ทาจากต้นกกแทนวุสดุปลายแหลม
ความมีภูมิคุ้มกัน : ภาษาเขียนเคียงคู่อยู่กับอาวุธ จุลินทรีย์
และโครงสร้างทางการเมืองการปกครองแบบรวมศูนย์กลาง
ในฐานะเป็นตัวกระทาที่นาไปสู่ชัยชนะในยุคสมัยใหม่
จากการบอกเล่าถึงความมั่นคั่งและความอุดมสมบูรณ์ของดินแดนใหม่ๆที่รอคอยผูพิชิตจากแดนไกล
และยังสอนนักสารวจรุ่นต่อๆไปให้คาดการณ์ถึงสภาพเงื่อนไขล่วงหน้าที่ต้องเผชิญ
เพื่อสามารถเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ได้
สองเงื่อนไข
ความรู้ : ความรู้นามาซึ่งอานาจ และภาษาเขียนจึงเป็นการนาอานาจมาสู่สังคมสมัยใหม่
โดยเป็นตัวช่วยให้สามารถส่งผ่านความรู้ในปริมาณมากๆ และเต็มไปด้วยรายละเอียดของข้อมูล
คุณธรรม : พวกอินคามีความสามารถในการจัดการป กครองอาณาจักรของตนได้
โดยไม่จาเป็ นต้องใช้ภาษาเขีย น และคนห ลายกลุ่มที่ถือได้ว่าเป็ นพวกที่มีอารย ธรรม
ก็ไม่จาเป็นต้องเอาชนะพวกป่าเถื่อนหรือพวกอนารยชนเสมอไป
13. ความจาเป็นคือต้นกาเนิดของสิ่งประดิษฐ์
จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่
สามห่วง
ความพอประมาณ : จะสร้างสิ่งประดิษฐ์สิ่งหนึ่งมาแล้วสามารถนาไปใช้ปะโยชน์ได้หลายอย่าง
ซึ่งตอนแรกอาจจะประดิษฐ์มาแค่ทาในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
แต่คนรุ่นหลังก็นาสิ่งปะดิษฐ์นั้นไปคิดต่อยอดให้มีประโยชน์อย่างอื่นแทน
ความมีเหตุผล : สิ่งประดิษฐ์แต่ละชิ้นจะสร้างมาเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์เรา
แต่ละชิ้นจะมีประโยชน์แตกต่างกันไป แล้วแต่จุดประสงค์ที่ประดิษฐ์ขึ้นมา
ความมีภูมิคุ้มกัน : วัตถุดิบที่นามาสร้างสิ่งประดิษฐ์ก็จะมีอยู่ในท้องถิ่น ใช้อย่างพอเพียง
สองเงื่อนไข
ความรู้ : นาเอาภูมิปัญญาที่มีในท้องถิ่นมาสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่จาเป็นในการดารงวิถีชีวิต เช่น
การสร้างปืนขึ้นมาก็เพราะสมัยนั้นมีการขยายอาณาเขตเพื่อปกป้องหรือการรุกราน
จึงต้องสร้างเครื่องมือขึ้นมาในการช่วยปกป้องอาณาเขตของตัวเอง
คุณธรรม : สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นมาจะไม่ลอกเลียนแบบ
แต่จะนาไปประยุกต์เพื่อให้มีประโยชน์การใช้งานที่ดีกว่า
14.จากสังคมสมภาพนิยมสู่สังคมโจราธิปไตย
จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่
สามห่วง
ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล : ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ข อ ง สั ง ค ม ม นุ ษ ย์
ทาให้รู้ว่าวิวัฒนาการของแต่ละสังคมมีความแตกต่างกันอย่างมาก ทั้งการดารงชีวิตความเป็นอยู่
ทางด้านการเมืองการปกครอง สิทธิเสรีภาพ ทาให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันในสังคมเกิดขึ้น
เกิดการแบ่งชนชั้นอย่างชัดเจน
ความพอประมาณ : การดารงชีวิตความเป็นอยู่ของแต่ละสังคมจะต้องมีการตั้งที่อยู่อาศัย
ถิ่น ฐาน อ ย่ าเป็ นห ลักแ ห ล่ง ค นใน สัง ค ม จะไม่ สร้าง ค ว าม เดือ ดร้อ นให้ แ ก่ ผู้อื่ น
แ ล ะ จ ะ พึ่ ง พ า ต น เ อ ง ใ น ก า ร ผ ลิ ต อ า ห า ร เ พื่ อ ด า ร ง ชี วิ ต
ห รือไม่ก็จะต้อง อาศัย อยู่ ในแห ล่งที่มีอาห ารการกินและสภาพนิเวศ ที่ อุดมสมบู รณ์
เพื่อเป็นการพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด
ภูมิคุ้มกัน : การที่อาศัยอยู่ในที่มีแหล่งอาหารการกินและสภาพระบบนิเวศที่อุดสมบูรณ์
มีทรัพยากรหลากหลายอยู่ในบริเวณเดียวกันที่สามารถไล่ล่าหรือเก็บหามาเป็นอาหารได้
ทาให้ประชาชนเกิดภูมิคุ้มกันในตัวเอง สามารถทาให้มีชีวิตอยู่รอดต่อไปได้
สองเงื่อนไข
ความรู้ :ก า ร พั ฒ น า ส า ย พั น ธุ์ พื ช ส า ย พั น ธุ์ สั ต ว์
และมีธัญพืชป่าจานวนมากให้เก็บเกี่ยวมาเป็นประกอบอาหารได้อย่างพอเพียงตามความต้องการของคน
ในสังคม
คุ ณ ธ ร ร ม : ค ว า ม ซื่ อ สั ต ย์
อดทนและความมีเหตุผลทั้งหมดนี้จะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางด้านการดารงชีวิต การปกครอง
15.คนของยาลี
จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่
สามห่วง
ความมีเหตุผล : จะสร้างสิ่งประดิษฐ์ สิ่งหนึ่งมาแล้วสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง
ความพอป ระมาณ : วัตถุดิบที่นามาสร้างสิ่งประดิษฐ์จะพบ ได้อยู่ตามในท้องถิ่น
มีความอุดมสมบูรณ์ไปด้วยแร่ต่างๆ แต่เขาเลือกที่จะใช้วิถีการดาเนินชีวิตแบบยุคหิน
ภู มิคุ้มกั น : วั ต ถุดิบ ที่ น าม าสร้าง สิ่ง ป ระดิษ ฐ์ก็ จ ะพ บ ได้ต าม ใน ท้ อ ง ถิ่น
และสามารถใช้ได้อย่างพอเพียง
สองเงื่อนไข
ความรู้ : นาสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นมาแก้ไขปัญหา และนามาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
คุ ณ ธ ร ร ม : อ อ ส เ ต ร เ ลี ย เ ป็ น ท วี ป เ ดี ย ว ใ น โ ล ก ส มั ย ใ ห ม่
ที่ชนพื้นเมืองทุกกลุ่มยังคงเลี้ยงชีวิตโดยไม่มีสัญลักษณ์ของสิ่งที่เรียกว่า อารยธรรม ไม่ว่าจะเป็น
การทาเกษตร การเลี้ยงสัตว์ เครื่องใช้โลหะ เป็นสังคมปกครอง หรือ รัฐใดๆ
16.การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญของแผ่นดินจีน
จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่
สามห่วง
ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล :
ภูมิป ระเท ศแต่ละที่เป็นสาคัญ ที่ท าให้การผลิตอาห ารในแต่ละพื้นที่เกิดขึ้นได้ห รือไม่ได้
ชาวจีนพยายามปรับตัวให้เข้ากับเหตุการณ์โดยความพอประมาณเพราะจะช่วยให้เอาตัวรอดในการดารง
ชีวิต
ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ : รู้ จั ก น า ท รั พ ย์ พ ย า ก ร ภ า ย ใ น พื้ น ที่
มาใช้ให้เกิดประโยชน์และเลี้ยงชีพและคิดค้นสิ่งของมาเป็นเครื่องทุ่นแรง
ภูมิคุ้มกัน : การพึ่งตนเองและการเอาตัวรอดโดยการล่าสัตว์ -ของป่าและการเลี้ยงสัตว์
ช่วยเหลือกันภายในกลุ่ม
สองเงื่อนไข
ค ว า ม รู้ : ก า ร พั ฒ น า ส า ย พั น ธุ์ ข อ ง พื ช -
สัตว์และเครื่องมือทาการเกษตรแต่ละชนิดให้เข้ากับพื้นที่นั้นยุคก่อนซึ่งการปลูกพืชผัก และเลี้ยงสัตว์
เป็นเรื่องที่ทากันประจาในทุกพื้นที่
คุณธรรม : ความซื่อสัตย์ อดทนและความมีเหตุผลทั้งหมดนี้จะนาไปสู่ความเปลี่ยนแปลง
17.เรือเร็วมุ่งสู่โพลีนีเชีย
จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่
สามห่วง
คว ามมีเห ตุผล : ตั้ง ถิ่นฐานในบ ริเวณ เก าะช นพื้นเมืองที่ห าข อง ป่ า-ล่าสัตว์
ดารงชีพโดยสิ่งที่มีอยู่ในพื้นที่
ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ : ก า ร น า ต้ น ไ ม้ ม า ขุ ด เ ป็ น เ รื อ ม า ใช้ เ ป็ น
พาหนะที่ใช้กันภายในเกาะและหาแหล่งผลิตอาหารต่างๆ
ภู มิ คุ้ ม กั น : ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ กั น ภ า ย ใน ก ลุ่ ม ที่ ย้ า ย ถิ่ น ฐ า น ป ก ป้ อ ง
และหาทางพัฒนาเครื่องมือต่างๆที่ใช้ดารงชีพให้มีความสะดวกสบายมากขึ้น
สองเงื่อนไข
ความรู้ : นาสิ่งที่เกิดขึ้นมาแก้ไขและนามาพัฒนาให้เกิดประโยชน์แก่คนในกลุ่มย้ายถิ่นฐาน
คุ ณ ธ ร ร ม : มี ค ว า ม อ ด ท น แ ล ะ ซื่ อ สั ต ย์
สามัคคีกันภายในกลุ่มได้ขยายถิ่นฐานเพื่อแสวงหาที่อยู่อาศัย
18. การปะทะกันระหว่างโลกเก่า-โลกใหม่ กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่
สามห่วง
ความมีเหตุผล : การตัดสินของฝั่งยูเรเชียตะวันตก ที่ใช้ในการดาเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล
รว มถึงการพัฒ นาต นเอง ข องค นในป ระเท ศ ในห ลาย ด้านๆโดย ก ารพึ่งพ าตัว เอง
ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี ให้ก้วนทันประเทศอื่นๆ
ความพอพอประมาณ : การอยู่กันอย่างสงบของประเทศ ในชาวยูเรีเชียตะวันตก และยุโรป
ถึ ง แ ม้ ว่ า จ ะ มี ส ง ค ร า ม แ ล ะ ก า ร ไ ม่ ถู ก กั น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ บ า ง ก ลุ่ ม
แต่ก็ยังมีอีกกลุ่มหนึ่งที่อยู่อย่างสงบและไม่เบียดเบียนประเทศอื่น
ภู มิ คุ้ ม กั น :
การที่ประเทศชาวยุโรปเดินทางเข้ามาพร้อมกับเทคโนโลยีและความได้เปรียบทางด้านอื่นๆชาวยุโรปที่ส
ารามรถภูมิคุ้มกันให้กับประเทศตัวเอง มหาสมุทรแปซิฟิกได้เกือบทั้งหมดทาให้ฝั่งประเทศนี้
มีก า ร เ ต รีย ม ตั ว ให้ พ ร้อ ม กั บ ก า รรับ ผ ล ก ร ะท บ ที่ จ ะ เกิ ด ขึ้ น ใน ด้า น ต่ า ง ๆ
และมีการเตรียมพร้อมวางแผยล่วงหน้าไว้เป็นอย่างดี
สองเงื่อนไข
ค วามรู้ : มีค ว ามรอบ รู้เกี่ย วกั บ วิช าการต่างๆ ที่เกี่ย ว ข้องอย่ างรอบ ด้าน
ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ วางแผน
ที่พยายามพัฒนาประเทศของตนเองอยู่ตลอดเวลา ทาให้เกิดเทคโนโลยีใหม่ๆเกิดขึ้น
คุณธรรม : บ ทสรุปของประวัติศาสตร์โลกให ม่ แสดงให้เห็นว่า ก ารมีสติปัญ ญ า
และมีความตระหนักในการใช้ชีวิตท างฝั่งยุโรป แล้วมีค วามเจริญ เกิดขึ้นในบ้านเมือง
แสดงว่าเขาได้นาหลักการนี้มาใช้
19. แอฟริกากลายเป็นแผ่นดินของคนผิวดาได้อย่างไร กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่
สามห่วง
ความมีเหตุผล : การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความต้องการของประเทศตัวเองเหมือนกัน
นอกจากนี้ การแบ่งระหว่าง คนดา คนขาว และกลุ่มอื่นๆ ก็ไม่ค่อยมีกฎเกณฑ์ มากนัก
ทาให้ช่องว่างระหว่างคนผิวขาว กับคนผิวดา ไม่ค่อยแบ่งแยกมาก ในตอนนั้น
ภูมิคุ้มกัน : การที่ยุโรปสามารถยึดครองทวีปแอฟริกาได้ เกิดจากสภาพภูมิศาสตร์
และชีวภูมิศาสตร์ โดยอาศัย การใช้ อาวุธที่ตัวเองป ระดิษฐ์ขึ้ นมา และเทคโนโลยีอิ่นๆ
แสดงให้เห็นว่ามีการพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่องและปัจจุบันที่โลกส่วนใหญ่หลงอยู่กับการบริโภคอย่างไม่
หยุดยั้งก็คือภูมิคุ้มกันที่ใจเราเอง
สองเงื่อนไข
ค ว า ม รู้ : ช าว แ อ ฟ ริก า มี ค ว าม รู้ค ว าม ส า ม า รถ ใน ก า รพึ้ ง พ า ตั ว เอ ง
ใช้ ส ติ ปั ญ ญ าใน ก าร ด า เนิ น ชี วิ ต โด ย อ าศั ย ท รัพ ย า ก า รข อ ง ป ร ะเ ท ศ ที่ มี อ ยู่
ไม่ว่าจะเป็นมีพันธุ์พืชและสัตว์ที่เหมาะสมจะนามาเพาะเลี้ยง ซึ้งสามารถเลี้ยงคนในประเทศได้
ในตอนมีการแบ่งแยกสีผิว และการคุกคามของคนยุโรป
เ งื่ อ น ไ ข คุ ณ ธ ร ร ม :
ช่วงก่อนที่นักล่าอาณานิคมผิวขาวจะเข้ามายังทวีปแอฟริกามันถูกขับเคลื่อนด้วยความพอความโลภ
โลภอยากมีแผ่นดินเป็นของตนเองเพิ่มขึ้น โลภอยากบริโภค แล้วสุดท้าผลออกมามันไม่ดี

More Related Content

Similar to บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง

กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงfreelance
 
สงครามนกกระสา
สงครามนกกระสาสงครามนกกระสา
สงครามนกกระสาNapadon Yingyongsakul
 
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง Kkae Rujira
 
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์freelance
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขfreelance
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวPoramate Minsiri
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah102
 
สังคม 53
สังคม 53สังคม 53
สังคม 53suparada
 
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษาข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษาPerm Ton
 
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be303bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3Noot Ting Tong
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษาMintra Pudprom
 
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52
ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52Jinwara Sriwichai
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษาikwanz
 

Similar to บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง (20)

S mbuyer 111
S mbuyer 111S mbuyer 111
S mbuyer 111
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
สงครามนกกระสา
สงครามนกกระสาสงครามนกกระสา
สงครามนกกระสา
 
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
สังคม 53
สังคม 53สังคม 53
สังคม 53
 
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษาข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
 
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be303bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be303bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
 
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52
ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
ข้อสอบO-NET
ข้อสอบO-NETข้อสอบO-NET
ข้อสอบO-NET
 
M6social2552
M6social2552M6social2552
M6social2552
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 

More from freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง

  • 1. หนังสือ ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ โดย จาเร็ด ไดมอนด์ แปล อรวรรณ คูหเจริญ นาวายุทธ สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับแนวเศรษฐกิจพอเพียง ตามทฤษฎีของพระบาทสดเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมาชิกกลุ่ม นายชินพล สาตจีนพงษ์ 55080501001 ครุฯไฟฟ้ า นางสาวชนกานต์ ผดุงเขตร์ 55080501004 ครุฯไฟฟ้ า นายธนวัฒน์ การไสว 550805001005 ครุฯไฟฟ้ า นายศุภวิชญ์ สุขเกิด 55080501006 ครุฯไฟฟ้ า นางสาวกิดาการ ดากลืน 55090500604 ฟิ สิกส์ นายวิทยาศาสตร์ จงหมายกลาง 55090500635 ฟิ สิกส์ นางสาวสวรส คนหาญ 55090500642 ฟิ สิกส์ นางธนวัฒน์ นามโสวรรณ 56090500659 ฟิ สิกส์ นายสหพล ทองแสง 56090500729 ฟิ สิกส์
  • 2. ภาคหนึ่ง : จากอีเดนสู่คาฮามาร์คา 1.ก่อนจะถึงจุดตั้งต้น จ า ก บ ท ค ว า ม จ ะ ก ล่ า ว ถึ ง วิ วั ฒ น า ก า ร ข อ ง ม นุ ษ ย์ ใน ยุ ค ต่ า ง ๆ ซึ่ง เ ริ่ม จ า ก ว่ าม นุ ษ ย์ พั ฒ น า ม า จ า ก อ ะ ไ ร ด า ร ง ชี วิ ต ด้ ว ย วิ ถี ชี วิ ต แ บ บ ใด โดยจากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่ สามห่วง การมีเหตุผล : การสูญพันธุ์ของสัตว์ล้วนเกิดจากการทาลายด้วยน้ามือของมนุษย์ทั้งนั้น ซึ่งวิวัฒนาการของสัตว์ก็เกิดขึ้นพร้อมๆกันกับวิวัฒนาการการล่าของมนุษย์ที่ค่อยๆพัฒนามากขึ้นเรื่อยๆ เช่นเดียวกัน ซึ่งสัตว์หลายๆประเภทก็ต้องสูญพันธุ์เพราะเหตุนี้เช่นกัน ภูมิคุ้มกัน : มนุ ษย์ในยุ ค แรกๆ สามารถป รับ ตัว เข้ากับ สภาพแว ดล้อมได้ง่าย ถึง แ ม้ จ ะ ย้ า ย ถิ่ น ฐ าน ไ ป ยั ง ภู มิ ภ า ค ที่ มีส ภ า พ แ ว ด ล้อ ม แ ต ก ต่ า ง จ า ก เ ดิ ม มนุษย์ก็สภาพปรับตัวได้อย่างรวดเร็ว สองเงื่อนไข ค ว า ม รู้ : ม นุ ษ ย์ ก ารป ระยุ ก ต์ใช้ สิ่ง ข อ ง ร อบ ตัว ให้ เกิ ด ป ระโย ช น์ เช่ น ใช้ หิ น ท า อ า วุ ธ ใ น ก า ร ล่ า สั ต ว์ แ ล ะ ป้ อ ง กั น อั น ต ร า ย จ า ก สั ต ว์ ใ ห ญ่ ใช้เปลือกไข่นกกระจอกเทศทาเครื่องประดับ และมีการใช้ประโยชน์จากสัตว์ 2.การทดลองโดยธรรมชาติในประวัติศาสตร์ จากบทความนี้จะมีเนื้อหาเกี่ยวกับการทดลองหรือทดสอบถึงความแตกต่างระหว่างมนุษย์ที่อยู่ต่ างที่กัน ถึงแม้จะมาจากบรรพบุรุษเดียวกันก็ตาม แต่ถ้าแยกอาศัยอยู่ในที่ที่มีสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน ภูมิป ระเท ศ ที่ต่ างกั นก็ ย่ อม มีก ารพัฒ นาและวิถีการดารงชี วิตที่ ต่ างกั นแน่ นอ น โดยจากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่
  • 3. สามห่วง ก า ร มี เ ห ตุ ผ ล : เพราะชาวโมริขดผู้นาและองค์กรที่เข้มแข็งแถวไม่มีป ระสบ การณ์ในการท าสงค ราม ทาให้ถูกรุกรานจากชาวเมารีที่มีทั้งประสบการณ์การทาสงคราม เทคโนโลยีและอาวุธที่ทันสมัยกว่า ความพอประมาณ : ชาวโมริอิใช้ชีวิตโดยวิถีชีวิตที่เรียบง่าย คือการทาการเกษตร เช่นเดียวกับชาวโพลีนีเชียที่ใช้ชีวิตแบบผสมผสาน คือมีทั้งการเลี้ยงสัตว์และการทาการเกษตร สองเงื่อนไข ค ว าม รู้ : ช าว โพ ลีนีเชีย มีการท าช ลป ระท านซึ่งท าให้ มีน้ าไว้ใช้ งานต ลอด มีการทาการเกษตรแบบขั้นบันได และมีการปลูกพืชหมุนเวียนหลายชนิด ทาให้มีอาหารเพียงพอตลอด คุณธรรม : หลังจากที่ชาโมริอิถูกรุกรานจากชาวเมารีก็ไดย้ายถิ่นฐานไปอยู่บนเกาะแซแธม แ ล ะ เ รี ย น รู้ วิ ธี ด า ร ง ชี วิ ต อ ยู่ ร่ ว ม กั น อ ย่ า ส ง บ ใ น สั ง ค ม ข อ ง ต น เ อ ง ร ว ม ไ ป ถึ ง ย ก เ ลิ ก ก า ร ท า ส ง ค ร า ม แ ล ะ ล ด ปั ญ ห า ก า ร ขั ด แ ย้ ง ซึ่งเป็นการยุติความขัดแย้งที่สงบและไม่ต้องมีการสูญเสียเกิดขึ้นอีก 3. การปะทะที่คาฮามาร์คา ใ น เ นื้ อ ห า ร ข อ ง บ ท ที่ 3 เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีทางด้านอาวุธที่ดีกว่าทาให้มีความได้เปรียบทางด้านการล่ า แ ล ะ ข ย า ย อ า ณ า นิ ค ม ดั ง ตั ว อ ย่ า ง ใ น บ ท ที่ 3 ที่ได้ยกเหตุการณ์ที่คาฮามาร์คาที่กองทหารที่น้อยกว่าสามารถมีชัยเหนือกว่ากองกาลังที่มีจานวนมากกว่ า ซึ่งปัจจัยห ลักข องการมีชัย ในค รั้งนี้แห ละอีกห ลายห ลายค รั้งที่ตามมาเป็ นเพราะ ฝ่ า ย ช น ะ มี อ า ว ะ ที่ ดี ก ว่ า มี ปื น มี ดิ น ร ะ เ บิ ด มี ม้ า ซึ่งปัจจัยที่ได้เปรียบเหล่านี้ทาให้ฝ่ายยุโรปในยุคนั้นสามารถล่าอาณานิคมและแย่งชิงพื้นที่ต่างต่างของโล ก ได้ เ ป็ น จ า น ว น ม าก ซึ่ง ท า ให้ ส่ ง ผ ล ก ร ะบ ท ต่ อ ก ลุ่ ม ช น ต่ า ง ต่ า ง บ น โล ก ซึ่งสิ่งต่างต่างเหล่านี้ล้วนเกิดขึ้นมาเพียงเพราะ ปืน เชื้อโรคและเหล็กกล้า
  • 4. สามห่วง ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล : การที่สเปนและฝังยุโรปไม่รู้จักพอทาให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวถ้าเรารู้จักพึ่งพิงกันเหตุการณ์เหล่านี้คงไม่ เกิดขึ้น ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ : การที่สเปนไม่รู้จักการพอมีความโลภที่จะอยากได้พิ้นที่ของคนอื่นทาให้เกิดมีการแยงชิงพิ้นที่ทาให้กระท บกับชนพื้นเมืองถ้าสเปนรู้จักพอเหตุการณ์แบบนี้ก็คงไม่เกิดขึ้นโลกเราจะสงบขึ้น ภู มิ คุ้ ม กั น : ในสงครามครั้งน้าการณ์ที่สเปนสามารถชนะสงครามได้ก็เพราะฝังอินคาได้ไม่ทาศัตรูไว้กับชนเผ่าอื่นอื่นโ ด ย ร อ บ ท า ใ ห้ ช น เ ผ่ า ร อ บ ร อ บ ไ ม่ ช อ บ อ ยู่ แ ล้ ว แต่ถ้าเผ่าอินค าไป ผูกมิตรไว้สิ่งที่ได้ก็เกาะแห่ ง มิตรภ าพข องช นเผ่าถ้าสเป นบุ กมา อินคาอาจจะยังไม่ล่มสลายก็ได้ สองเงื่อนไข ค ว า ม รู้ : จากเหตุการณ์ข้างต้นการที่เรามีความรู้เหนือกว่ามีเทคโนโลยีที่ดีกว่าทาให้เราได้เปรียบกว่าในการทาลา ยแต่ถ้าเราเอาไปใช้ผิดก็จะทาให้เกิดการล้มตายเป็นจานวนมากแต่ถ้าเราใช้ถูกทางก็จะสามารถช่วยให้เร าดารงง่ายขึ้น เทคโนโลยีมันจะดีจะไม่ดีก็อยู่ที่คนใช้ คุ ณ ธ ร ร ม : ถ้ า ส เ ป น รู้ จั ก ค ว า ม เ อื้ อ เ ฟื้ อ เ พื่ อ แ ผ่ รู้ จั ก พ อ แ ล ะ เ ป็ น มิ ต ร กั น ดี ก ว่ า ท า ล า ย กั น ก า ร ท า ล า ย กั น ก็ ค ง ล ด ล ง โล ก เ ร า ใน ปั จ จุ บั น ก็ เห มื อ น กั น ถ้ าเ ร า รู้จัก ก า ร เ อื้อ เ ฟื้ อ เพื่ อ แ ผ่ เ ห็ น ใจ กั น สงครามหรือการทะเลาะก็คงจะน้อยลง ภาคสอง : จุดเริ่มต้นและการขยายตัวของการผลิตอาหาร 4. อานาจของเกษตรกร
  • 5. ส่วนในบทที่ 4 เป็นบทเริ่มของการเกษตรที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของมนุษย์โลก โ ด ย ก า ร เ ล่ า เ รื่ อ ง ข อ ง วิ วั ฒ น า ก า ร ข อ ง ก า ร บ ริ โ ภ ค เริ่มเล่าตั่งแต่เมื่อเริ่มมนุษย์มีการหาอาหารจากป่าจนเริ่มมีการเพราะปลูกรู้จักการเลี้ยงสัตว์เพื่อยังชีพ และห ลังจากยุ ค ล่าอาณ านิค มมีการป ฏิวัติอุตสาห กรรมที่ให้การบ ริโภค เป ลี่ย นไป ม นุ ษ ย์ โ ล ก บ ริ โ ภ ค ม า ก ขึ้ น ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ม า ก ขึ้ น อัน เ นื่ อ ง ม า จ า ก ก า ร ผ ลิต แ ล ะ ข น ส่ ง ข อ ง ไ ป ยั ง ที่ ต่ า ง ต่ า ง ทั่ว ทุ ก มุ ม โ ล ก ส่ ง ผ ล ให้ ธ ร ร ม ช า ติ ถู ก ท า ล า ย ม า ก ขึ้ น เกิ ด ค ว า ม ไม่ ส ม ดุ ล ท าง ธ ร ร ม ช า ติ เกิดโรคระบาดและผลต่างต่างตามมา สามห่วง ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล ในการบริโภคของเราในแต่ละวันเพิ่มมากขึ้นทุกวันถ้าเรารู้จักว่าเราบริโภคอะไรไปแล้วจะเกิดอะไรขึ้น ถ้าทุ กค นบ นโลก นี้รู้และมาร่วม กันเป ลี่ย น แป ลง โลกข อง เราก็จะน่ าอยู่ มากขึ้ น โรคระบาดร้ายแรงน้อยลง ธรรมชาติก็จะกลับมาสมบูรณ์ดังเดิม ก า ร พ อ ป ร ะ ม า ณ เหตุของการบริโภคที่เกินความจาเป็นซึ่งปัจจัยหลักก็เกิดมาจากเหตุผลเดิมคือการณ์พอประมาณ ถ้า เร า ทุ ก ค น รู้จั ก ก า รป ร ะ ม า ณ ต น เ อ ง รู้ว่ าเ รา ค ว รท าอ ะ ไร แ ค่ ไห น ไ ม่ โล ภ โลกเราคงจะดีว่ากว่าที่เป็นอยู่อย่างแน่นอน ภู มิ คุ ม กั น ภูมิคุมิกันที่ดีที่สุดสาหรับโลกเราในปัจจุบันที่โลกส่วนใหญ่หลงอยู่กับการบริโภคอย่างไม่หยุดยั้งก็คือภูมิคุ้ มกันที่ใจเราเอง เราคงปฏิเสธไม่ได้ว่าปัจจุบันสังคมเราที่แวดล้อมอยู่รอบตัวเรานั้นมีแต่การบริโภค สิ่งแวดล้อมจึงเป็นภูมิคุมกันเราไม่ได้เลย สิ่งดีที่สุดคือใจเราเอง สองเงื่อนไข
  • 6. มีค ว ามรู้ ถ้าเรารู้ถึง วิ ธีการผลิตอาห ารและสารมารถ ผลิตอาห ารได้เอง ก็จะทาให้เราสามารถอยู่ได้โดยที่พึ่งปัจจัยภายนอกลดลงซึ่งส่งผลทาให้การบริโภคที่พึ่งอุตสาหกรรมลดล งที่ให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น คุณ ธรรม เห ตุการณ์ต่างต่าง มันถูกขับ เค ลื่อนด้ว ย ค ว ามไม่พ อค ว ามโลภ โลภ อ ย าก มีเป็ น ข อ งต น เอง โลภ อย าก บ ริโภ ค แล้ว สุด ท้ าผ ลออ กม ามันไม่ ดี ถ้าเรา รู้เห ตุ แ ล้ว เรา ก็ ค ว รจะ ระงับ เห ตุ ที่ ส่ง ม ายั ง ผ ล ที่ ไม่ ดี เร าค ว รรู้จัก พ อ ไม่ใช้ไม่กินไม่ใช้เลยแต่ให้บริโภคแต่ความจาเป็น มันก็ช่วยให้สิ่งต่างต่างดีขึ้นมาแล้วแหละครับ 5. ผู้มีอานาจและผู้ไร้อานาจในประวัติศาสตร์ จ า ก บ ท ค ว า ม ผู้ มี อ า น า จ แ ล ะ ผู้ ไ ร้ อ า น า จ ใ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ จะเป็นการตั้งคาถามที่ต้องการคาอธิบายเกี่ยวกับแหล่งผลิตอาหารและการผลิตอาหาร ท า ไ ม ถึ ง เ ป็ น เ ช่ น นี้ เ พ ร า ะ เ ห ตุ ใ ด ซึ่งสอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตามหลัก “ สามห่วง สองเงื่อนไข ” ดังนี้ สามห่วง ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล : ค า ต อ บ ข อ ง ค า ถ า ม คื อ เพ ร า ะ ส ภ า พ ท า ง นิ เ ว ศ วิ ท ย า แ ล ะ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง ส ภ า พ ภู มิ ศ า ส ต ร์ เป็ น ตัว แ ป รส าคัญ ที่ ท า ให้ ก าร ผ ลิต อ าห ารใน แ ต่ ละ พื้น ที่ เกิ ด ขึ้ น ได้ห รือ ไม่ ได้ แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ข อ ง แ ต่ ล ะ พื้ น ที่ นั้ น เป็นตัวกาหนดว่าคนกลุ่มไหนในสังคมจะเป็นผู้มีอานาจหรือไร้อานาจในสังคม ภูมิคุ้มกัน : เราควรปรับตัวตามสภาพแวดล้อมที่เราอาศัยอยู่ เพราะการมีภูมิคุ้มกันที่ดี จะทาให้เราสามารถดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างยั่งยืน และอยู่รอดปลอดภัย สองเงื่อนไข ค ว า ม รู้ : ก า ร น า ค ว า ม รู้ท า ง วิ ช า ก า ร ม า ป รับ ใช้ ให้ เกิ ด ป ร ะ โย ช น์ ในการคานวณหาอายุของการผลิตอาหาร โดยดูจากสัดส่วนของธาตุคาร์บอน ๑๔ / คาร์บอน ๑๒
  • 7. ในซากพืชและซากสัตว์ นั้นๆ ซากพืชและสัตว์เลี้ย งที่เราคานว ณและท ราบ อายุแล้ว จะใช้เป็นหลักฐานบอกได้ว่าพื้นที่นั้นๆ มีการผลิตอาหารแล้ว และเกิดขึ้นในช่วงเวลาใด 6. ทาการเกษตร หรือ ไม่ทาการเกษตร จ า ก บ ท ค ว า ม ท า ก า ร เ ก ษ ต ร ห รื อ ไ ม่ ท า ก า ร เ ก ษ ต ร จะเป็นการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างพวกคนที่ดาเนินชีวิตแบบการผลิตอาหารเองกับพวกคนที่ ด า เ นิ น ชี วิ ต แ บ บ ห า ข อ ง ป่ า -ล่ า สั ต ว์ ซึ่งสอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตามหลักการ “ สามห่วง สองเงื่อนไข ” ดังนี้ สามห่วง ความมีเหตุผล : การเป็นเกษตรกรนั้นมีข้อเสียมากกว่าพวกหาของป่า-ล่าสัตว์เสียอีก เช่น มี อ า ห า ร ก า ร กิ น น้ อ ย ก ว่ า มี โ ร ค ภั ย ที่ รุ น แ ร ง ก ว่ า แ ล ะ อ า ยุ สั้ น ก ว่ า แต่เหตุใดพวกเขาจึงตัดสินใจเลือกทางเดินการเป็นเกษตร ความพอประมาณ : เราควรหาอาหารด้วยความพอประมาณ เพื่อให้ได้รับพลังงานแคลอรี่ โป ร ตี น ที่ เ พี ย ง พ อ ใน แ ต่ ล ะ วั น โ ด ย ต้ อ ง ใช้ เ ว ล า แ ล ะ แ ร ง ง า น น้ อ ย ที่ สุ ด มากกว่าการที่หาอาหารแบบเกินความพอดี ใช้วิถีชีวิตแบบขึ้นๆลงๆ ที่มีโอกาสที่จะเสี่ยงต่อการอดตาย ภู มิ คุ้ ม กั น : พ ว ก ที่ มี ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต แ บ บ ก า ร ผ ลิ ต อ า ห า ร และพวกที่มีการดาเนินชีวิตแบบหาของป่าล่าสัตว์ มีการยอมรับการดาเนินชีวิตซึ่งกันและกัน และนาบางส่วนมาผสมสานกับของตนเอง เพื่อการดาเนินชีวิตที่เรียบง่ายและดียิ่งขึ้น สองเงื่อนไข ค ว า ม รู้ : การนาความรู้เกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจมาพัฒนาและประยุต์ใช้จนเกิดเป็นระบบเศรษฐกิจแบบผสม แข่งขันกับระบบเศรษฐกิจบริสุทธิ์ 7. วิธีผลิตเมล็ดอัลมอนด์
  • 8. จากบทความวิธีผลิตเมล็ดอัลมอนด์นี้เราจะเห็นถึงการประยุกต์ใช้สิ่งต่างๆรอบตัวให้เกิดประโยช น์และสามารถนามาใช้ป ระโยช น์ได้จริงซึ่งเป็ นไป ตามห ลักการสามห่ วงสองเงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอันได้แก่ ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ : ซึ่งในเรื่องนี้เราจะเห็นถึงการที่เกษตรกรในยุคก่อนซึ่งการปลูกผลไม้หรือการปลูกพืชผักนั้นเป็นไปได้ค่อ นข้างยากซึ่งต้องมีความพอเพียงในการเก็บเกี่ยวผลผลิตให้เหมาะสมกับปริมาณที่จะนามาใช้บริโภคและ นาไปแปรรูปเป็นผลผลิตอย่าอื่น ค ว าม มีเห ตุผ ล : อัน ได้แก่ ป ริม าณ พืช ผ ลผ ลิตที่ มีจากั ดไม่ ว่ าจะเป็ นที่ ใด ดังนั้นจึงแสดงให้เห็นว่าต้องมีความพอเพียงจึงจะทาให้มีผลิตที่จะสามารถเลี้ยงชีพได้ในระยะยาว ภู มิ คุ้ ม กั น : การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเองจะเห็นได้โดยผลกระทบการเปลี่ยนแปลงของลักษณะทางชีววิทยาของพืช พรรณ ซึ่งมีพืชหลากหลายชนิดที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเองที่ดีจะช่วยให้เกษตรกรมีผลิตผลทีดีและสามารถช่วยเลี้ยงชีพได้ ห ลัก ก า ร ส อ ง เงื่อ น ไข ต า ม แ น วเศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เพี ย ง อัน ได้แ ก่ ค ว าม รู้ ดังในบทความนี้จะเห็นได้ว่าความรู้ทางวิชาการสามารถนามาปรับปรุงพันธุ์พืชให้ดียิ่งๆขึ้นไปช่วยให้มีค วามปลอดภัยโดยที่มนุษย์สามารถบริโภค และแพร่พันธุ์พืชได้มากยิ่งขึ้น แล ะ ห ลัก คุ ณ ธ รร ม : นั่น คือ มี ค ว า ม ซื่ อ สัต ย์ ค ว า ม อ ด ท น ค ว าม เพี ย ร ก า ร ใ ช้ ส ติ ปั ญ ญ า ใ น ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต ดังในเรืองนี้เราจะเห็นได้ถึงความซื่อสัตย์สุจริตของเกษตรกรในการให้สิ่งดีๆต่อเพื่อนมนุษย์ การดาเนินชีวิตด้วยความไม่ประมาท เตรียมพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงหลายๆอย่างที่เกิดขึ้น หลักการทั้งห้าอันได้แก่ความพอประมาน ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ความรู้ และหลักคุณธรรม ดังในตัวอย่างบทความนี้จะนาไปสู่ความสมดุล พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงทุกรูปแบบ 8. แอปเปิ ล หรือ อินเดียน จากบทความแอปเปิลหรืออินเดียนนี้เราจะเห็นถึงการประยุกต์ใช้สิ่งต่างๆรอบตัวให้เกิดประโยช น์และสามารถนามาใช้ป ระโยช น์ได้จริงซึ่งเป็ นไป ตามห ลักการสามห่ วงสองเงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอันได้แก่ความพอประมาณจะเห็นได้ว่าการ
  • 9. ยึ ด ค ร อ ง อ า ณ า นิ ค ม ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ม ห า อ า น า จ ทาให้ชาวอินเดียนต้องรู้จักแสวงหาการเอาตัวรอดโดยการปลูกพืชชนิดต่างๆที่หาได้จากรอบๆตัวนามาใ ช้ให้เกิดประโยชน์ ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล : จะให้ได้จากการที่ชาวอินเดียนพยายามปรับตัวให้เข้ากับเหตุการณ์โดยความพอประมาณเพราะจะช่วยใ ห้เอาตัวรอดในยุคสงครามนั่นเอง ภู มิ คุ ม กั น : การใช้ชีวิตด้วยความโลภนั้นถ้าเราศึกษาจากบทความนี้จะเห็นว่าส่งผลกระทบต่อผู้อื่นอย่างมาก ห า ก ม นุ ษ ย์ เ ร า ใ ช้ ชี วิ ต อ ยู่ บ น ค ว า ม พ อ เ พี ย ง พ อ ป ร ะ ม า ณ และมีเหตุผลก็จะช่วยให้เรารู้จักใช้สิ่งที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ และสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ภูมิคุ้มกันที่ดีนั้นจึงต้องเริ่มต้นที่ตัวเราเอง หลักการสองเงื่อนไขตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงอันได้แก่ ค ว า ม รู้ : จากบทความแอปเปิลหรืออินเดียนนี้เราจะเห็นว่าปัจจัยที่มีผลถึงการปลูกพืชพรรณที่สาคัญคือสภาพลัก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ท า ง ชี ว วิ ท ย า ข อ ง พื ช นั้ น ๆ เ อ ง ไ ม่ ว่ า จ ะ ใ น อ ดี ต ห รื อ ปั จ จุ บั น ห า ก เ ร า ศึ ก ษ า ปั จ จั ย เ ห ล่ า นี้ ใ ห้ ดี เราก็จะมีผลิตผลที่ดีไว้ใช้บริโภคได้อย่างแน่นอน คุณธรรม : ถ้าหากคนเราใช้ชีวิตบนโลกด้วยหลักมนุษยธรรมเราจะตระหนักถึงการเบียดเบียน แ ล้ ว ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ผู้ อื่ น ซึ่งค วาไม่รู้จักพอนี้เองที่จะเป็ นบ่ อเกิดปัญ หาที่ท าให้มนุษย์เราแก่ งแย่ งชิงดีกันไม่รู้จบ ดั่งในตัวอย่างบทความนี้เราจะเห็นถึงการล่าอาณานิคมของประเทศมหาอานาจตะวันตกที่มีต่อชาวอินเดี ยนนั่นเอง 9. ม้าลาย..คู่สมรสที่ไร้ความสุขและหลักการ แอนนา คาเรนนิน่า จากหลักพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในเรื่องของความพอเพียง โดยหลักการคือ สามห่วง สองเงื่อนไข ในส่วนของ สามห่วง คือ ความพอเพียง ความมีเหตุผล แล ะก ารมีภู มิคุ้ม กั น แล ะใน ส่ ว น ข อ ง สอ ง เงื่อ น ไข คือ มีค ว าม รู้ มีคุ ณ ธรร ม จะทาการเชื่อมโยงหลักการนี้กับบทความ
  • 10. สามห่วง ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ : การเพาะเลี้ย งสัตว์ในสมัยนั้นเป็ นเรื่องที่ย ากมากและสัตว์บ างช นิดก็มีนิสัย ที่ดุร้าย ถึงแม้มนุษย์จะเพาะเลี้ยงได้น้อยแค่ไหน ก็ไม่ยอมแพ้ที่จะเพาะเลี้ยงสัตว์ต่อไป ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล : อันเกิดจากการที่มนุษย์ในยุคนั้นจาเป็นจะต้องเพาะเลี้ยงสัตว์เพื่อเอสัตว์นั้นมาใช้ประโยชน์ในด้า นต่างๆ เช่ น ใช้เป็ นอาห าร ใช้ ท างาน ใช้ท าปุ๋ ย ใช้เฝ้ าบ้าน และ อีก ห ลาย อย่ าง มนุษย์จึงจาเป็นที่จะต้องนาสัตว์มาเพาะเลี้ยงได้ การมีภู มิคุ้มกัน : ในยุ ค นั้นมนุ ษย์ได้ป ระสบ ปัญ ห าก ารเพาะ เลี้ย งสัตว์ไม่ได้ จึงไม่มีสัตว์ให้เอามาใช้ประโยชน์ แต่มนุษย์ก็ได้ใช้ความรู้ที่มีอยู่ดารงชีวิตด้วยตัวเองได้ สองเงื่อนไข ความรู้ : มนุษย์ได้ใช้ความรู้จาการที่ได้ลองนาสัตว์ต่างๆมาเพาะเลี้ยงจนทาให้ได้ชนิดของสัตว์มากขึ้นกว่าเดิมและ สัตว์บางชนิดนั้นถูกมนุษย์นามาพัฒนาสายพันธุ์ให้ได้ดียิ่งขึ้นเพื่อให้เหมาะกับการเอามาใช้ประโยชน์ มีคุณธรรม : ถึงแม้มนุษย์จะต้องล่าสัตว์มาเพื่อบริโภค แต่มนุษย์ก็ยังเลือกชนิดของสัตว์ในการล่า กล่าว คือ สัตว์ที่ ไม่ นิย ม นามาท าเป็ นอาห าร เช่ น แม ว , กระต่าย , สุนั ข เป็ นต้น เ พ ร า ะ สั ต ว์ จ า พ ว ก นี้ มั น เ ป็ น ม า ก ก ว่ า อ า ห า ร เพราะมันเป็นสัตว์เลี้ยงของเราและยังเป็นเพื่อนของเราได้อีกด้วย 10. ผืนฟ้ ากว้าง กับ แนวการวางตัวของทวีป
  • 11. จากหลักพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในเรื่องของความพอเพียง โดยหลักการคือ สามห่วง สองเงื่อนไข ในส่วนของ สามห่วง คือ ความพอเพียง ความมีเหตุผล แล ะก ารมีภู มิคุ้ม กั น แล ะใน ส่ ว น ข อ ง สอ ง เงื่อ น ไข คือ มีค ว าม รู้ มีคุ ณ ธรร ม จะทาการเชื่อมโยงหลักการนี้กับบทความ สามห่วง ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ : มนุ ษ ย์ ใน แต่ ละพื้น ที่ ทั่ว โลก นั้น มีค ว าม แต ก ต่าง กั น ใน ด้าน ข อง สภ าพ แ ว ด ล้อ ม แต่ล ะพื้ นที่ จึงป ระ สบ ปัญ ห าใน ก ารเพ าะ ป ลูก พืช และ ก ารเพ าะ เลี้ย ง สัต ว์ต่ าง ๆ มนุษย์ในสมัยนั้นจึงใช้ทรัพยากรเท่าที่มีอยู่ในการประกอบเลี้ยงชีวิตของตนเอง ก า ร มี ภู มิ คุ้ ม กั น ที่ ดี : ใน ยุ ค สมัย นั้นมนุ ษย์ ได้ป ระสบ ปัญ ห าข าดแค ลน วัตถุดิบ ใน ก ารป ระก อบ อาห าร จึงทาให้มนุษย์จะต้องนาวัตถุดิบที่มีอยู่ในแถบพื้นที่นั้นมาปรับปรุงสายพันธุ์ให้มีความเหมาะสมกับพื้นที่ นั้นๆ เพื่อที่จะไม่ต้องพึ่งพาการนาเข้าวัตถุดิบจากที่อื่น ความมีเห ตุผล : จากประโยค ที่ว่ า “ถ้าพื้นที่ไห นดี คว ามเจริญ ก็จะเข้ามาเอง ” ดัง นั้ น ท วี ป ยู เรเ ชี ย จึง เ ป็ น พื้ น ที่ ที่ มี ก า รก ระจ า ย ข อ ง พื ช แ ละ สัต ว์ ม าก ที่ สุ ด เพราะพื้นที่แถบทวีปยูเรเชียนั้นมีความอุดมสมบูรณ์ ภูมิอากาศที่ดีและระบบนิเวศน์ที่น่าอยู่ด้วย สองเงื่อนไข ความรู้ : ปั ญ ห า ข อ ง ก า ร ก ร ะ จ า ย อ า ห า ร ที่ ส า คั ญ ก็ คื อ ลักษณะภูมิประเทศกับลักษณะของพืชและสัตว์แต่ละชนิดนั่นเอง แต่ปัจจุบันปัญหานี้ได้ถูกแก้ไขแล้ว เพราะได้มีการพัฒนาสายพันธุ์ของพืชและสัตว์แต่ละชนิดให้เข้ากับพื้นที่นั้นๆ มีคุณ ธรรม : ถึงแม้แต่ละพื้นที่จ ะป ระ สบ ปัญ ห าก ารก ระจ าย ตัว ข องอาห าร แต่ก็ไม่มีเหตุการณ์แย่งชิงอาหารกันเกิดขึ้น เพราะมนุษย์ในสมัยนั้นดารงชีวิตด้วยความพอเพียง ไม่เบียดเบียนใคร ไม่มีอาหารจากข้างนอกก็ปลูกพืชเลี้ยงสัตว์เป็นอาหารเองได้
  • 12. 11.ของขวัญมรณะจากสัตว์เลี้ยง บท ค วามนี้จะกล่าว ถึงอันตรายที่มาจากเชื้อโรค ซึ่งจะพูดถึงที่มาของเชื้อโรค ก า ร แ พ ร่ พั น ธุ์ ข อ ง เ ชื้ อ โร ค ร ว ม ไ ป ถึ ง ก า ร ป้ อ ง กั น เ ชื้ อ โร ค ข อ ง ม นุ ษ ย์ โดยจากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่ สามห่วง ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล : เ ชื้ อ โร ค นั้ น เป็ น สิ่ ง ที่ ธ ร ร ม ช า ติ ได้ คั ด ส ร ร ม า แ ล้ ว เช่ น เดี ย ว กั น ม นุ ษ ย์ อ ย่ าง เร าก็ เ ป็ น สิ่ง ที่ ถู ก ธร รม ช า ติคั ด ส รร ม า เห มื อ น กั น ถ้ า เ ร า ล อ ง ป รั บ มุ ม ม อ ง ใ น ก า ร ม อ ง เ ชื้ อ โ ร ค ใ ห ม่ เราก็จะสามารถเห็นอะไรหลายๆอย่างที่เราปิดกั้นที่จะรับรู้มาตลอด ภู มิ คุ้ ม กั น : ม นุ ษ ย์ ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง ภู มิ คุ้ ม กั น ไ ด้ เ อ ง เพื่อที่จะนามาใช้ต่อต้านเชื้อโรคไม่ให้เข้ามาทาร้ายร่างกายของเรา สองเงื่อนไข ค ว า ม รู้ : สิ่ ง ที่ ท า ล า ย ม นุ ษ ย์ ไ ด้ ม า ก ที่ สุ ด ก็ คื อ เ ชื้ อ โ ร ค ซึ่ ง เ ชื้ อ โ ร ค ไ ม่ ไ ด้ ท า อ ะ ไร เ ล ย มั น อ ยู่ เ ฉ ย ๆ นิ่ ง ๆ ก็ ส า ม า ร ถ แ พ ร่ พั น ธุ์ ไ ด้ ซึ่งก็คือการติดเชื้อระว่างคนที่เป็นโรคไปยังคนที่มีสุขภาพดีนั่นเอง 12.ภาษาเขียนคัดลอกหรือยืมมา จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่ สามห่วง
  • 13. ความพอประมาณ : ภาษาเขียนของชาวมายาเกิดขึ้นอย่างเป็นเอกเทศ และรูปแบบสัญลักษณ์ที่ใช้ก็มีลักษณะโดดเด่นเฉพาะตัว แต่กลับมีลักษณะโครงสร้างและหลักการพื้นฐานคล้ายคลึงกับภาษาเขียนของชาวสุเมเรียนและภาษาอื่น ๆในยูเรเชียตะวันตก คือ มีการใช้สัญลักษณ์ของคาที่มีความหมายอย่างหนึ่งมาใช้เขียนในความหมายนามธรรมที่มีเสียงพ้องกันด้ วย สัญลักษณ์แทนเสียงของชาวมายาก็เหมือนกับสัญลักษณ์แทนเสียงพยางค์แบบตัวคะนะของญี่ปุ่นและลีเ นียร์บีของชาวมัยซีเนียนในกรีซ ความมีเหตุผล : ปัญหาพื้นฐานของภาษาเขียนทุกระบบ คือ การประดิษฐ์เครื่องหมายที่สามารถยอมรับกันทั่วไป ที่ใช้สื่อแทนเสียงพูดหรือเป็นเครื่องหมายที่ใช้แทนความคิดหรือคาพูดโดยสัมพันธ์กับการออกเสียง ชนเผ่าสุเมเรียนหาทางออกของปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน โดยใช้ภาพของสิ่งของนั้นๆเป็นสัญลักษณ์โดยตรง เช่น ภาพปลาหรือนก สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาพดังกล่าวประกอบด้วยจานวนนับและคานามซึ่งใช้กับสิ่งที่เป็นรูปธรรม ต่อมาจึงค่อยๆมีลักษณะเป็นนามธรรมมากขึ้น เริ่มมาใช้ปากกาที่ทาจากต้นกกแทนวุสดุปลายแหลม ความมีภูมิคุ้มกัน : ภาษาเขียนเคียงคู่อยู่กับอาวุธ จุลินทรีย์ และโครงสร้างทางการเมืองการปกครองแบบรวมศูนย์กลาง ในฐานะเป็นตัวกระทาที่นาไปสู่ชัยชนะในยุคสมัยใหม่ จากการบอกเล่าถึงความมั่นคั่งและความอุดมสมบูรณ์ของดินแดนใหม่ๆที่รอคอยผูพิชิตจากแดนไกล และยังสอนนักสารวจรุ่นต่อๆไปให้คาดการณ์ถึงสภาพเงื่อนไขล่วงหน้าที่ต้องเผชิญ เพื่อสามารถเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ได้ สองเงื่อนไข ความรู้ : ความรู้นามาซึ่งอานาจ และภาษาเขียนจึงเป็นการนาอานาจมาสู่สังคมสมัยใหม่ โดยเป็นตัวช่วยให้สามารถส่งผ่านความรู้ในปริมาณมากๆ และเต็มไปด้วยรายละเอียดของข้อมูล คุณธรรม : พวกอินคามีความสามารถในการจัดการป กครองอาณาจักรของตนได้ โดยไม่จาเป็ นต้องใช้ภาษาเขีย น และคนห ลายกลุ่มที่ถือได้ว่าเป็ นพวกที่มีอารย ธรรม ก็ไม่จาเป็นต้องเอาชนะพวกป่าเถื่อนหรือพวกอนารยชนเสมอไป
  • 14. 13. ความจาเป็นคือต้นกาเนิดของสิ่งประดิษฐ์ จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่ สามห่วง ความพอประมาณ : จะสร้างสิ่งประดิษฐ์สิ่งหนึ่งมาแล้วสามารถนาไปใช้ปะโยชน์ได้หลายอย่าง ซึ่งตอนแรกอาจจะประดิษฐ์มาแค่ทาในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง แต่คนรุ่นหลังก็นาสิ่งปะดิษฐ์นั้นไปคิดต่อยอดให้มีประโยชน์อย่างอื่นแทน ความมีเหตุผล : สิ่งประดิษฐ์แต่ละชิ้นจะสร้างมาเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์เรา แต่ละชิ้นจะมีประโยชน์แตกต่างกันไป แล้วแต่จุดประสงค์ที่ประดิษฐ์ขึ้นมา ความมีภูมิคุ้มกัน : วัตถุดิบที่นามาสร้างสิ่งประดิษฐ์ก็จะมีอยู่ในท้องถิ่น ใช้อย่างพอเพียง สองเงื่อนไข ความรู้ : นาเอาภูมิปัญญาที่มีในท้องถิ่นมาสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่จาเป็นในการดารงวิถีชีวิต เช่น การสร้างปืนขึ้นมาก็เพราะสมัยนั้นมีการขยายอาณาเขตเพื่อปกป้องหรือการรุกราน จึงต้องสร้างเครื่องมือขึ้นมาในการช่วยปกป้องอาณาเขตของตัวเอง คุณธรรม : สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นมาจะไม่ลอกเลียนแบบ แต่จะนาไปประยุกต์เพื่อให้มีประโยชน์การใช้งานที่ดีกว่า 14.จากสังคมสมภาพนิยมสู่สังคมโจราธิปไตย จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่ สามห่วง ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล : ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ข อ ง สั ง ค ม ม นุ ษ ย์ ทาให้รู้ว่าวิวัฒนาการของแต่ละสังคมมีความแตกต่างกันอย่างมาก ทั้งการดารงชีวิตความเป็นอยู่ ทางด้านการเมืองการปกครอง สิทธิเสรีภาพ ทาให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันในสังคมเกิดขึ้น เกิดการแบ่งชนชั้นอย่างชัดเจน
  • 15. ความพอประมาณ : การดารงชีวิตความเป็นอยู่ของแต่ละสังคมจะต้องมีการตั้งที่อยู่อาศัย ถิ่น ฐาน อ ย่ าเป็ นห ลักแ ห ล่ง ค นใน สัง ค ม จะไม่ สร้าง ค ว าม เดือ ดร้อ นให้ แ ก่ ผู้อื่ น แ ล ะ จ ะ พึ่ ง พ า ต น เ อ ง ใ น ก า ร ผ ลิ ต อ า ห า ร เ พื่ อ ด า ร ง ชี วิ ต ห รือไม่ก็จะต้อง อาศัย อยู่ ในแห ล่งที่มีอาห ารการกินและสภาพนิเวศ ที่ อุดมสมบู รณ์ เพื่อเป็นการพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด ภูมิคุ้มกัน : การที่อาศัยอยู่ในที่มีแหล่งอาหารการกินและสภาพระบบนิเวศที่อุดสมบูรณ์ มีทรัพยากรหลากหลายอยู่ในบริเวณเดียวกันที่สามารถไล่ล่าหรือเก็บหามาเป็นอาหารได้ ทาให้ประชาชนเกิดภูมิคุ้มกันในตัวเอง สามารถทาให้มีชีวิตอยู่รอดต่อไปได้ สองเงื่อนไข ความรู้ :ก า ร พั ฒ น า ส า ย พั น ธุ์ พื ช ส า ย พั น ธุ์ สั ต ว์ และมีธัญพืชป่าจานวนมากให้เก็บเกี่ยวมาเป็นประกอบอาหารได้อย่างพอเพียงตามความต้องการของคน ในสังคม คุ ณ ธ ร ร ม : ค ว า ม ซื่ อ สั ต ย์ อดทนและความมีเหตุผลทั้งหมดนี้จะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางด้านการดารงชีวิต การปกครอง 15.คนของยาลี จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่ สามห่วง ความมีเหตุผล : จะสร้างสิ่งประดิษฐ์ สิ่งหนึ่งมาแล้วสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง ความพอป ระมาณ : วัตถุดิบที่นามาสร้างสิ่งประดิษฐ์จะพบ ได้อยู่ตามในท้องถิ่น มีความอุดมสมบูรณ์ไปด้วยแร่ต่างๆ แต่เขาเลือกที่จะใช้วิถีการดาเนินชีวิตแบบยุคหิน ภู มิคุ้มกั น : วั ต ถุดิบ ที่ น าม าสร้าง สิ่ง ป ระดิษ ฐ์ก็ จ ะพ บ ได้ต าม ใน ท้ อ ง ถิ่น และสามารถใช้ได้อย่างพอเพียง สองเงื่อนไข
  • 16. ความรู้ : นาสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นมาแก้ไขปัญหา และนามาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต คุ ณ ธ ร ร ม : อ อ ส เ ต ร เ ลี ย เ ป็ น ท วี ป เ ดี ย ว ใ น โ ล ก ส มั ย ใ ห ม่ ที่ชนพื้นเมืองทุกกลุ่มยังคงเลี้ยงชีวิตโดยไม่มีสัญลักษณ์ของสิ่งที่เรียกว่า อารยธรรม ไม่ว่าจะเป็น การทาเกษตร การเลี้ยงสัตว์ เครื่องใช้โลหะ เป็นสังคมปกครอง หรือ รัฐใดๆ 16.การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญของแผ่นดินจีน จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่ สามห่วง ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล : ภูมิป ระเท ศแต่ละที่เป็นสาคัญ ที่ท าให้การผลิตอาห ารในแต่ละพื้นที่เกิดขึ้นได้ห รือไม่ได้ ชาวจีนพยายามปรับตัวให้เข้ากับเหตุการณ์โดยความพอประมาณเพราะจะช่วยให้เอาตัวรอดในการดารง ชีวิต ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ : รู้ จั ก น า ท รั พ ย์ พ ย า ก ร ภ า ย ใ น พื้ น ที่ มาใช้ให้เกิดประโยชน์และเลี้ยงชีพและคิดค้นสิ่งของมาเป็นเครื่องทุ่นแรง ภูมิคุ้มกัน : การพึ่งตนเองและการเอาตัวรอดโดยการล่าสัตว์ -ของป่าและการเลี้ยงสัตว์ ช่วยเหลือกันภายในกลุ่ม สองเงื่อนไข ค ว า ม รู้ : ก า ร พั ฒ น า ส า ย พั น ธุ์ ข อ ง พื ช - สัตว์และเครื่องมือทาการเกษตรแต่ละชนิดให้เข้ากับพื้นที่นั้นยุคก่อนซึ่งการปลูกพืชผัก และเลี้ยงสัตว์ เป็นเรื่องที่ทากันประจาในทุกพื้นที่ คุณธรรม : ความซื่อสัตย์ อดทนและความมีเหตุผลทั้งหมดนี้จะนาไปสู่ความเปลี่ยนแปลง 17.เรือเร็วมุ่งสู่โพลีนีเชีย
  • 17. จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่ สามห่วง คว ามมีเห ตุผล : ตั้ง ถิ่นฐานในบ ริเวณ เก าะช นพื้นเมืองที่ห าข อง ป่ า-ล่าสัตว์ ดารงชีพโดยสิ่งที่มีอยู่ในพื้นที่ ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ : ก า ร น า ต้ น ไ ม้ ม า ขุ ด เ ป็ น เ รื อ ม า ใช้ เ ป็ น พาหนะที่ใช้กันภายในเกาะและหาแหล่งผลิตอาหารต่างๆ ภู มิ คุ้ ม กั น : ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ กั น ภ า ย ใน ก ลุ่ ม ที่ ย้ า ย ถิ่ น ฐ า น ป ก ป้ อ ง และหาทางพัฒนาเครื่องมือต่างๆที่ใช้ดารงชีพให้มีความสะดวกสบายมากขึ้น สองเงื่อนไข ความรู้ : นาสิ่งที่เกิดขึ้นมาแก้ไขและนามาพัฒนาให้เกิดประโยชน์แก่คนในกลุ่มย้ายถิ่นฐาน คุ ณ ธ ร ร ม : มี ค ว า ม อ ด ท น แ ล ะ ซื่ อ สั ต ย์ สามัคคีกันภายในกลุ่มได้ขยายถิ่นฐานเพื่อแสวงหาที่อยู่อาศัย 18. การปะทะกันระหว่างโลกเก่า-โลกใหม่ กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่ สามห่วง ความมีเหตุผล : การตัดสินของฝั่งยูเรเชียตะวันตก ที่ใช้ในการดาเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล รว มถึงการพัฒ นาต นเอง ข องค นในป ระเท ศ ในห ลาย ด้านๆโดย ก ารพึ่งพ าตัว เอง ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี ให้ก้วนทันประเทศอื่นๆ
  • 18. ความพอพอประมาณ : การอยู่กันอย่างสงบของประเทศ ในชาวยูเรีเชียตะวันตก และยุโรป ถึ ง แ ม้ ว่ า จ ะ มี ส ง ค ร า ม แ ล ะ ก า ร ไ ม่ ถู ก กั น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ บ า ง ก ลุ่ ม แต่ก็ยังมีอีกกลุ่มหนึ่งที่อยู่อย่างสงบและไม่เบียดเบียนประเทศอื่น ภู มิ คุ้ ม กั น : การที่ประเทศชาวยุโรปเดินทางเข้ามาพร้อมกับเทคโนโลยีและความได้เปรียบทางด้านอื่นๆชาวยุโรปที่ส ารามรถภูมิคุ้มกันให้กับประเทศตัวเอง มหาสมุทรแปซิฟิกได้เกือบทั้งหมดทาให้ฝั่งประเทศนี้ มีก า ร เ ต รีย ม ตั ว ให้ พ ร้อ ม กั บ ก า รรับ ผ ล ก ร ะท บ ที่ จ ะ เกิ ด ขึ้ น ใน ด้า น ต่ า ง ๆ และมีการเตรียมพร้อมวางแผยล่วงหน้าไว้เป็นอย่างดี สองเงื่อนไข ค วามรู้ : มีค ว ามรอบ รู้เกี่ย วกั บ วิช าการต่างๆ ที่เกี่ย ว ข้องอย่ างรอบ ด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ วางแผน ที่พยายามพัฒนาประเทศของตนเองอยู่ตลอดเวลา ทาให้เกิดเทคโนโลยีใหม่ๆเกิดขึ้น คุณธรรม : บ ทสรุปของประวัติศาสตร์โลกให ม่ แสดงให้เห็นว่า ก ารมีสติปัญ ญ า และมีความตระหนักในการใช้ชีวิตท างฝั่งยุโรป แล้วมีค วามเจริญ เกิดขึ้นในบ้านเมือง แสดงว่าเขาได้นาหลักการนี้มาใช้ 19. แอฟริกากลายเป็นแผ่นดินของคนผิวดาได้อย่างไร กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จากบทความนี้จะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงในหลักการสามห่วงสองเงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่ สามห่วง
  • 19. ความมีเหตุผล : การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความต้องการของประเทศตัวเองเหมือนกัน นอกจากนี้ การแบ่งระหว่าง คนดา คนขาว และกลุ่มอื่นๆ ก็ไม่ค่อยมีกฎเกณฑ์ มากนัก ทาให้ช่องว่างระหว่างคนผิวขาว กับคนผิวดา ไม่ค่อยแบ่งแยกมาก ในตอนนั้น ภูมิคุ้มกัน : การที่ยุโรปสามารถยึดครองทวีปแอฟริกาได้ เกิดจากสภาพภูมิศาสตร์ และชีวภูมิศาสตร์ โดยอาศัย การใช้ อาวุธที่ตัวเองป ระดิษฐ์ขึ้ นมา และเทคโนโลยีอิ่นๆ แสดงให้เห็นว่ามีการพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่องและปัจจุบันที่โลกส่วนใหญ่หลงอยู่กับการบริโภคอย่างไม่ หยุดยั้งก็คือภูมิคุ้มกันที่ใจเราเอง สองเงื่อนไข ค ว า ม รู้ : ช าว แ อ ฟ ริก า มี ค ว าม รู้ค ว าม ส า ม า รถ ใน ก า รพึ้ ง พ า ตั ว เอ ง ใช้ ส ติ ปั ญ ญ าใน ก าร ด า เนิ น ชี วิ ต โด ย อ าศั ย ท รัพ ย า ก า รข อ ง ป ร ะเ ท ศ ที่ มี อ ยู่ ไม่ว่าจะเป็นมีพันธุ์พืชและสัตว์ที่เหมาะสมจะนามาเพาะเลี้ยง ซึ้งสามารถเลี้ยงคนในประเทศได้ ในตอนมีการแบ่งแยกสีผิว และการคุกคามของคนยุโรป เ งื่ อ น ไ ข คุ ณ ธ ร ร ม : ช่วงก่อนที่นักล่าอาณานิคมผิวขาวจะเข้ามายังทวีปแอฟริกามันถูกขับเคลื่อนด้วยความพอความโลภ โลภอยากมีแผ่นดินเป็นของตนเองเพิ่มขึ้น โลภอยากบริโภค แล้วสุดท้าผลออกมามันไม่ดี