SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
กรอบแนวทางแผนพัฒนาโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร
ตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกุมารี
ประจำาปีงบประมาณ 2556-2559
โรงเรียนบ้านแม่ระเมิง
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2
สังกัดสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิสัยทัศน์
“สุขภาพดี มีคุณธรรม นำาวิชาการ สืบสานงานพระ
ราชดำาริ มีชีวิตอย่างพอเพียง”(ที่มาจาก 6 วัตถุประสงค์
กพด.) ทุกโรงเรียนใช้เหมือนกัน
พันธกิจ
พัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ให้มีสุขภาพแข็ง
แรง มีคุณธรรม จริยธรรม
มีความรู้และทักษะทางวิชาการและอาชีพ บนพื้นฐาน
ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาท้องถิ่น
เป้าหมาย
ในการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระ
ราชดำาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้
กำาหนดเป้าหมายสูงสุดของ
การพัฒนาไว้ดังนี้ “เด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร มี
โภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง
มีความซื่อสัตย์ เสียสละ และเมตตาผู้อื่น มีความรู้และ
ทักษะทางวิชาการและการ
อาชีพที่เป็นรากฐานของการพึ่งตนเองและพัฒนาท้องถิ่น
ได้ นำาไปสู่การ
มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และมีโอการสได้รับการศึกษาใน
ระดับสูงขึ้นตามศักยภาพของ
ตนเอง เป็นคนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น”
วัตถุประสงค์
1. ส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยของเด็กและ
เยาวชนเริ่มตั้งแต่ในครรภ์มารดา
2. ส่งเสริมและสนับสนุนการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้
แก่เด็กและเยาวชน
3. เสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการเรียนรู้
ทางวิชาการ
4. เสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนทางการอาชีพ
5. ปลูกฝังจิตสำานึกและพัฒนาศักยภาพของเด็กและ
เยาวชนในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
6. เสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการ
อนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรมและ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
กลยุทธ์์
กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพนักเรียน
1.1 ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตของ
นักเรียน
1.2 พัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรม ยึดปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงในการดำารงชีวิต
1.3 ซาบซึ้งและมีความจงรักภักดีในสถาบันพระมหา
กษัตริย์
1.4 สถานศึกษามีการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพและมี
ระบบประกันคุณภาพภายใน ที่เข้มแข็งและได้รับ
การรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก
1.5 ประกันโอกาสให้แก่นักเรียนที่ด้อยโอกาสเข้าเรียน
ด้วยความเสมอภาคและ
เป็นธรรม
1.6 นักเรียนเกิดความรู้ และทักษะตามหลักสูตรการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.7 ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนตาม
วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งโรงเรียน
1.8 สืบสานภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น ตลอดจน
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
2.1 พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ให้เป็นผู้นำาในการนำา
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบริหารสถานศึกษา และ
การเป็นผู้นำาทางวิชาการตามแนวพระราชดำาริ
2.2 ส่งเสริมการบูรณาการโครงการตามแนวพระ
ราชดำาริ สมเด็จพระเทพ-รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี เข้ากับสาระการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษา
2.3 พัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้
สามารถจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตามแนว
พระราชดำาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราช
กุมารี
2.4 นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน มี
ความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนมีภูมิคุ้มกันต่อการ
เปลี่ยนแปลงในสังคมพหุวัฒนธรรม
กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้
พร้อมในการจัดการศึกษา
3.1 พัฒนาสภาพแวดล้อมในโรงเรียน ตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียงและตามแนวพระราชดำาริสมเด็จพระ
เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
3.2 ส่งเสริมให้โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ที่จำาเป็นต่อการ
พัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
กลยุทธที่ 4 การพัฒนากลไกในการประสานส่งเสริม
โรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็ก
และยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี
4.1 ส่งเสริมเครือข่ายโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร
ตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการพัฒนางานสู่ความ
สำาเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้
4.2 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง หน่วยงานภาค
รัฐและเอกชนในการส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียน
ในระดับเขตต้องมีเงื่อนไข ในระดับโรงเรียนไม่
ต้องมี
เงื่อนไขแห่งความสำาเร็จในการดำาเนินงานของ
โรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชน
ในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตน
ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
1.สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จัดสรรงบประมาณเป็นการเฉพาะ
ให้กับโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่น
ทุรกันดาร ตามพระราชดำาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2.สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้อง
ดำาเนินการจัดสรรงบประมาณ
ด้านการพัฒนาบุคลากรและส่งเสริมด้านวิชาการเพื่อให้
เกิดประสิทธิภาพ
3.สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้อง
กำาหนดเป้าหมายการพัฒนาโรงเรียนในโครงการพัฒนา
เด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่
ดำาเนินการจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐานให้เข้าสู่มาตรฐาน ได้อย่างมีคุณภาพและสม
พระเกียรติ
4.การสร้างขวัญและกำาลังใจในการปฏิบัติงานของ
บุคลากรโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนใน
ถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้อง
ดำาเนินการจัดสรรงบประมาณเกี่ยวกับเม็ดเงินในการ
พิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน หรือในรูปของเงินค่า
ตอบแทนรายเดือนเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ
กลยุทธ์ จุดเน้น วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด ของแผนพัฒนาโรงเรียนตามแนวพระราชดำาริสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ระยะ 4 ปี (ปีงบประมาณ 2556-2559)
กลยุทธ์ จุดเน้น วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
1. พัฒนา
คุณภาพ
นักเรียน
1.1 พัฒนานักเรียนให้มี
คุณธรรม ยึดปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงในการ
ดำารงชีวิต ซาบซึ้งและมี
ความ
จงรักภักดีในสถาบันพระ
มหากษัตริย์
1.1 นักเรียนมีคุณธรรม
ยึดหลักปรัชญา เศรษฐกิจ
พอเพียงในการดำารงชีวิต
ซาบซึ้งและมีความจงรัก
ภักดีใน
สถาบัน พระมหากษัตริย์
1.1 ร้อยละของนักเรียน
มีคุณธรรม
1.1 ร้อยละ 90 ของ
นักเรียนมี คุณธรรม
1.2 ร้อยละของนักเรียน
ที่นำาหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอ
เพียง
ไปใช้ในการ ดำารงชีวิต
1.2 ร้อยละ 80 ของ
นักเรียนที่นำาหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้
ในการดำารงชีวิต
1.3 ร้อยละของนักเรียน
มีความ
จงรักภักดีในสถาบันพระ
มหากษัตริย์
1.3 ร้อยละ 100 ของ
นักเรียนมีความ
จงรักภักดีในสถาบันพระ
มหากษัตริย์
1.2 ส่งเสริมสุขภาพ
อนามัยและ
คุณภาพชีวิตของ
นักเรียน
1.2 นักเรียนมีสุขภาพ
อนามัย
และคุณภาพ ชีวิตที่ดี
ตามเกณฑ์
กระทรวงสาธารณสุข
1.4 ร้อยละของนักเรียน
มีสุขภาพ
อนามัยตามเกณฑ์
มาตรฐาน
ของกระทรวง
สาธารณสุข
1.4 ร้อยละ 95 ของ
นักเรียนมีสุขภาพ
อนามัยตามเกณฑ์
มาตรฐาน
ของกระทรวง
สาธารณสุข
1.3 ประกันโอกาสให้แก่
นักเรียนที่ด้อยโอกาสได้
มีโอกาสเข้าเรียนด้วย
ความ เสมอภาคและเป็น
1.3 นักเรียนด้อยโอกาส
ได้รับ
การศึกษาด้วยความเสมอ
ภาค
1.5 ร้อยละของนักเรียน
ด้อยโอกาสได้รับการ
ศึกษาด้วยความเสมอภาค
และเป็นธรรม
1.5 ร้อยละ 98 ของ
นักเรียนด้อยโอกาสได้รับ
การศึกษาด้วยความเสมอ
ภาคและเป็นธรรม
ธรรม และเป็นธรรม
1.4 ประกันคุณภาพการ
ศึกษาตามหลักสูตรการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.5 นักเรียนมีคุณภาพ
การศึกษาตามหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.6 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนกลุ่มสาระ
การเรียนรู้หลักเพิ่มขึ้น
โดยผลการสอบระดับชาติ
(O-NET) เพิ่มขึ้นอย่าง
น้อยร้อยละ 3 %
1.7 เด็กปฐมวัยทุกคนได้
รับการเตรียมความพร้อม
ด้านร่างกาย อารมณ์
สังคม และสติปัญญา ตาม
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
อย่างมีคุณภาพ
1.8 นักเรียนชั้น ป.3 ทุก
คนอ่านออก เขียนได้ คิด
เลขเป็น และนักเรียนชั้น
ป.6 ทุกคนอ่านคล่อง
เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง
และมีทักษะการคิดขั้นพื้น
ฐาน
1.9 นักเรียนที่มีความ
สามารถด้านคณิตศาสตร์
1.6 ร้อยละของนักเรียน
มีคุณภาพการศึกษาตาม
หลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐานและหลักสูตร
สถานศึกษา
1.7 ร้อยละของนักเรียน
มีคุณภาพการศึกษาตาม
หลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐานและหลักสูตร
สถานศึกษา
1.8 ร้อยละของนักเรียน
ปฐมวัยทุกคนได้รับ
การเตรียมความพร้อม
ด้านร่างกาย อารมณ์
สังคม และสติปัญญา
ตามหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ
1.9 ร้อยละของนักเรียน
ชั้น ป.3 ทุกคนอ่านออก
เขียนได้ คิดเลขเป็น และ
นักเรียนชั้น ป.6 ทุกคน
อ่านคล่อง เขียนคล่อง
คิดเลขคล่อง และมีทักษะ
การคิดขั้นพื้นฐาน
1.6 ร้อยละ 90 ของ
นักเรียนมีคุณภาพการ
ศึกษาตามหลักสูตรการ
ศึกษาขั้นพื้นฐานและ
หลักสูตรสถานศึกษา
1.7 ร้อยละ 80 ของ
นักเรียนมีคุณภาพการ
ศึกษาตามหลักสูตรการ
ศึกษาขั้นพื้นฐานและ
หลักสูตรสถานศึกษา
1.8 ร้อยละ 80 ของ
นักเรียนปฐมวัยทุกคนได้
รับการเตรียมความพร้อม
ด้านร่างกาย อารมณ์
สังคม และสติปัญญา
ตามหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ
1.9 ร้อยละ 100 ของ
นักเรียนชั้น ป.3 ทุกคน
อ่านออก เขียนได้ คิด
เลขเป็น และนักเรียนชั้น
ป.6 ทุกคนอ่านคล่อง
เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง
และมีทักษะการคิดขั้นพื้น
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และศิลปศาสตร์ทุกคนได้
รับการส่งเสริมให้มีความ
เป็นเลิศ
1.10ประชากรวัยเรียนทุก
คนมีโอกาสเข้าถึงบริการ
ทางการศึกษาด้วยทาง
เลือกที่หลากหลาย เพื่อลด
อัตราเด็กตกหล่น ออก
กลางคัน ส่งเสริมการเรียน
ต่อหรือประกอบอาชีพ
1.10 ร้อยละของ
นักเรียนที่มีความสามารถ
ด้านคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และ ศิลปศาสตร์
ทุกคน
1.11 ประชากรวัยเรียน
ทุกคนมีโอกาสเข้าถึง
บริการทางการศึกษาด้วย
ทางเลือกที่หลากหลาย
เพื่อลดอัตราเด็กตกหล่น
ออกกลางคัน ส่งเสริม
การเรียนต่อหรือประกอบ
อาชีพ
ฐาน
1.10 ร้อยละ 100 ของ
นักเรียนที่มีความสามารถ
ด้านคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และ ศิลปศาสตร์ทุก
คนได้รับการส่งเสริมให้มี
ความเป็นเลิศ
1.11 ร้อยละ 95
ประชากรวัยเรียนมี
โอกาสเข้าถึงบริการ
ทางการศึกษาด้วยทาง
เลือกที่หลากหลาย เพื่อ
ลดอัตราเด็กตกหล่น ออก
กลางคัน ส่งเสริมการ
เรียนต่อหรือประกอบ
อาชีพ
1.5 สถานศึกษามีการ
พัฒนาอย่างเต็ม
ศักยภาพและมีระบบ
ประกันคุณภาพภายใน
ที่เข้มแข็งและได้รับการ
รับรองจากการประเมิน
1.11โรงเรียนในโครงการ
พระราชดำาริทุกแห่ง มีการ
พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ
และมีระบบประกันคุณภาพ
ภายใน ที่เข้มแข็งและ
ได้รับการรับรองจากการ
1.12 ร้อยละของ
นักเรียนมีศักยภาพตาม
วัตถุประสงค์ของการจัด
ตั้งโรงเรียน
1.13 ร้อยละของ
โรงเรียนในโครงการ
1.12 ร้อยละ 80 ของ
นักเรียนมีศักยภาพตาม
วัตถุประสงค์ของการจัด
ตั้งโรงเรียน
1.13 ร้อยละ 100 ของ
โรงเรียนในโครงการ
คุณภาพภายนอก
1.6 ส่งเสริมการพัฒนา
ศักยภาพของ นักเรียน
ตามวัตถุประสงค์ของ
การจัดตั้งโรงเรียน (6
วัตถุประสงค์ตาม กพด.)
1.7 สืบสานภูมิปัญญา
และวัฒนธรรมท้องถิ่น
ประเมินคุณภาพภายนอก
1. 12 นักเรียนมีศักยภาพ
ตามวัตถุประสงค์ของการ
จัดตั้งโรงเรียน
1.13 นักเรียนสามารถ
สืบสานภูมิปัญญาและ
วัฒนธรรมท้องถิ่นได้
พระราชดำาริทุกแห่ง มี
การพัฒนาอย่างเต็ม
ศักยภาพและมีระบบ
ประกันคุณภาพภายใน
ที่เข้มแข็งและได้รับการ
รับรองจากการประเมิน
คุณภาพภายนอก
1.14 ร้อยละของ
นักเรียนที่สามารถ
สืบสานภูมิปัญญาและ
วัฒนธรรมท้องถิ่น
พระราชดำาริทุกแห่ง มี
การพัฒนาอย่างเต็ม
ศักยภาพและมีระบบ
ประกันคุณภาพภายในที่
เข้มแข็งและได้รับการ
รับรองจากการประเมิน
คุณภาพภายนอก
1.14 ร้อยละ 90 ของ
นักเรียนที่สามารถ
สืบสานภูมิปัญญาและ
วัฒนธรรมท้องถิ่น
กลยุทธ์ จุดเน้น วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
2.พัฒนา
ครูและ
บุคลากร
2.1 พัฒนาผู้บริหาร
สถานศึกษาให้เป็น ผู้นำา
ในการนำาปรัชญา
2.1 พัฒนาผู้บริหารสถาน
ศึกษาให้เป็นผู้นำาการ
จัดการศึกษาโดยยึด
2.1 ร้อยละของผู้บริหาร
โรงเรียนที่จัดการศึกษา
โดยนำาปรัชญา
2.1 ร้อยละ 100 ของผู้
บริหารโรงเรียนที่จัดการ
ศึกษาโดยนำาปรัชญา
ทางการ
ศึกษา
เศรษฐกิจ
พอเพียงสู่การบริหาร
สถานศึกษา และการ
เป็นผู้นำาทางวิชาการ
ตาม แนวพระราชดำาริ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
2.2 โรงเรียนเป็นผู้นำาทาง
วิชาการตามแนวพระ
ราชดำาริ
2.2 ร้อยละของโรงเรียน
ที่เป็นต้นแบบการจัดการ
ศึกษาตามแนวพระ
ราชดำาริอย่างมี
ประสิทธิภาพ
2.2 ร้อยละ 80 ของ
โรงเรียนที่เป็นต้นแบบ
การจัดการศึกษาตาม
แนวพระราชดำาริอย่างมี
ประสิทธิภาพ
2.2 ส่งเสริมการพัฒนา
หลักสูตรและการ เรียน
การสอนตามแนวพระ
ราชดำาริ
2.3 โรงเรียนพัฒนา
หลักสูตรและการเรียนการ
สอนตามแนวพระราชดำาริ
2.3 ร้อยละของโรงเรียน
ดำาเนินการพัฒนา
หลักสูตรและการเรียน
การสอนตามแนวทาง
พระราชดำาริ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
2.3 ร้อยละ 100 ของ
โรงเรียนดำาเนินการ
พัฒนาหลักสูตรและการ
เรียนการสอนตาม
แนวทางพระราชดำาริได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
2.3 พัฒนาคุณภาพครู
และบุคลากรทางการ
ศึกษาให้สามารถจัดการ
เรียนการสอนตาม
มาตรฐานและตาม
แนวพระราชดำาริ
2.4 ครูและบุคลากร
ทางการศึกษาสามาร
จัดการเรียนการสอนตาม
มาตรฐานและแนว พระ
ราชดำาริ
2.4 ร้อยละของครูและ
บุคลากรทางการศึกษาที่
สามารถจัดการเรียนการ
สอนได้ตามมาตรฐาน
ของ สพฐ.
2.5 ร้อยละของครูและ
บุคลากรทางการศึกษาที่
สามารถจัดการเรียนการ
สอนได้ตามแนวพระ
ราชดำาริ
2.4 ร้อยละ 75 ของครู
และบุคลากรทางการ
ศึกษาที่สามารถจัดการ
เรียนการสอนได้ตาม
มาตรฐานของ สพฐ.2.5
ร้อยละ 90 ของครูและ
บุคลากรทางการศึกษาที่
สามารถจัดการเรียนการ
สอนได้ตามแนวพระ
ราชดำาริ
2.4 ครู และบุคลากร
ทางการศึกษาทุกคน มี
ความพร้อมในการ
จัดการเรียนรู้สู่
ประชาคมอาเซียน
2.5 ครู และบุคลากร
ทางการศึกษาทุกคน มี
ความพร้อมในการจัดการ
เรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
2.6 ร้อยละของครู และ
บุคลากรทางการศึกษา
ทุกคน มีความพร้อมใน
การจัดการเรียนรู้สู่
ประชาคมอาเซียน
2.6 ร้อยละ 100 ของครู
และบุคลากรทางการ
ศึกษาทุกคน มีความ
พร้อมในการจัดการเรียน
รู้สู่ประชาคมอาเซียน
กลยุทธ จุดเน้น วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
3. ปรับ
สภาพ
แวดล้อม
ของ
โรงเรียน
ให้พร้อม
ในการ
จัดการ
ศึกษา
3.1 พัฒนาสภาพ
แวดล้อมในโรงเรียน
ตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียงและตามแนว
พระราชดำาริสมเด็จพระ
เทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี
3.1 โรงเรียนมีพัฒนาสภาพ
แวดล้อมในโรงเรียน ตาม
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
และตามแนวพระราชดำาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ
ดาฯ สยามบรมราชกุมารี
3.1 ร้อยละของโรงเรียน
มีพัฒนาสภาพแวดล้อม
ในโรงเรียน ตาม
แนวทางเศรษฐกิจพอ
เพียงและตามแนวพระ
ราชดำาริสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี
3.1 ร้อยละ 90 ของ
โรงเรียนมีพัฒนาสภาพ
แวดล้อมในโรงเรียน
ตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียงและตามแนวพระ
ราชดำาริสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี
3.2 ส่งเสริมให้
โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้
ที่จำาเป็นต่อการพัฒนา
ศักยภาพของผู้เรียน
3.2 โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้
ตามแนวพระราชดำาริที่
จำาเป็นต่อการพัฒนา
ศักยภาพของผู้เรียน
3.2 ร้อยละ 100 ของ
โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้
ตามแนวพระราชดำาริที่
จำาเป็นต่อการพัฒนา
ศักยภาพของผู้เรียน
3.2 ร้อยละ 100 ของ
โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้
ตามแนวพระราชดำาริที่
จำาเป็นต่อการพัฒนา
ศักยภาพของผู้เรียน
4. พัฒนา
กลไกใน
การ
ประสาน
ส่งเสริม
โรงเรียน
ในพระ
ราชดำาริ
4.1 ส่งเสริมเครือข่าย
โรงเรียนในพระ
ราชดำาริ เพื่อการแลก
เปลี่ยนเรียนรู้ และ
ขยายผลสู่โรงเรียนอื่น
4.1 โรงเรียนในโครงการ
พระราชดำาริสร้างเครือข่าย
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสถาน
ศึกษาและองค์กรอื่นได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
4.1 ร้อยละของโรงเรียน
พระราชดำาริที่สามารถ
สร้างเครือข่ายแลก
เปลี่ยนเรียนรู้กับสถาน
ศึกษาและองค์กรอื่น
4.1 ร้อยละ 100 ของ
โรงเรียนพระราชดำาริที่
สามารถสร้างเครือข่าย
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ
สถานศึกษาและองค์กร
อื่น
4.2 ร้อยละของโรงเรียน
พระราชดำาริที่สามารถ
ขยายผลสู่โรงเรียนอื่นได้
4.2 ร้อยละ 80 ของ
โรงเรียนพระราชดำาริที่
สามารถขยายผลสู่
โรงเรียนอื่นได้
กลยุทธ จุดเน้น วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
4. พัฒนา
กลไกใน
การ
ประสาน
ส่งเสริม
โรงเรียน
ในพระ
ราชดำาริ
4.2 สำานักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษามีความเข้มแข้ง
สามารถสนับสนุนสถาน
ศึกษา จัดการศึกษาตามแนว
พระราชดำาริได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
4.3 ร้อยละของ
สำานักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษาที่ให้การสนับสนุน
โรงเรียนพระราชดำาริได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 ร้อยละ 100 ของ
สำานักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษาที่ให้การสนับสนุน
โรงเรียนพระราชดำาริได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 ส่งเสริมการมี
ส่วนร่วมของผู้
ปกครอง หน่วยงาน
ภาครัฐและเอกชนใน
การส่งเสริมสนับสนุน
โรงเรียน
4.3 สร้างเครือข่ายการมี
ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนใน
การส่งเสริมสนับสนุนการ
จัดการศึกษาของโรงเรียน
4.4 ร้อยละของโรงเรียน
ที่สร้างเครือข่ายการมี
ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
ในการส่งเสริมสนับสนุน
การจัดการศึกษาตาม
แนวพระราชดำาริ
4.4 ร้อยละ 100 ของ
โรงเรียนที่สร้างเครือข่าย
การมีส่วนร่วมของทุกภาค
ส่วนในการส่งเสริม
สนับสนุนการจัดการศึกษา
ตามแนวพระราชดำาริ

More Related Content

What's hot

ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
Nattapong Boonpong
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
Mam Chongruk
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
Sandee Toearsa
 
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
krupornpana55
 
บทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจ
บทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจบทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจ
บทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจ
พนัชกร ลี้เจริญ
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran Jarurnphong
 

What's hot (20)

โครงการสืบสานพระราชปณิธาน รัชกาลที่ 10
โครงการสืบสานพระราชปณิธาน รัชกาลที่ 10โครงการสืบสานพระราชปณิธาน รัชกาลที่ 10
โครงการสืบสานพระราชปณิธาน รัชกาลที่ 10
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษา
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
ก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิด
ก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิดก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิด
ก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิด
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 
09102017 รายงานสรุปผลการดำเนินงานกองทุนสปสช.-60.-ย่อไฟล์
09102017 รายงานสรุปผลการดำเนินงานกองทุนสปสช.-60.-ย่อไฟล์09102017 รายงานสรุปผลการดำเนินงานกองทุนสปสช.-60.-ย่อไฟล์
09102017 รายงานสรุปผลการดำเนินงานกองทุนสปสช.-60.-ย่อไฟล์
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
 
Ppt.happy 8 (1)
Ppt.happy 8 (1)Ppt.happy 8 (1)
Ppt.happy 8 (1)
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
 
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptxแผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
 
oogenesis
oogenesisoogenesis
oogenesis
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพการเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
บทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจ
บทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจบทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจ
บทเรียนสำเร็จรูปเรื่องระบบหายใจ
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
 

Similar to แนวทางการพัฒนาโรงเรียนในพระราชดำริ

แผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ
แผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริแผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ
แผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ
PRgroup Tak
 
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขโครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
N'Pop Intrara
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
pooh_monkichi
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
krupornpana55
 
6.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 26.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 2
Junior Bush
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
krupornpana55
 
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารมุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
Mr-Dusit Kreachai
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
โรงเรียนบ้านเสาเล้าฯ สผศ
 
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
Alisa Samansri
 

Similar to แนวทางการพัฒนาโรงเรียนในพระราชดำริ (20)

แผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ
แผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริแผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ
แผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ
 
28072557_std2
28072557_std228072557_std2
28072557_std2
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขโครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
 
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขโครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
 
Paper tci 2
Paper tci 2Paper tci 2
Paper tci 2
 
Kru nam
Kru namKru nam
Kru nam
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
 
6.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 26.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 2
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
 
ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]
 
ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]
 
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารมุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
 
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
 
โรงเรียนเทศบาลนครรังสิต (สินสมุทร)
โรงเรียนเทศบาลนครรังสิต (สินสมุทร)โรงเรียนเทศบาลนครรังสิต (สินสมุทร)
โรงเรียนเทศบาลนครรังสิต (สินสมุทร)
 
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
 
Whiteschool
WhiteschoolWhiteschool
Whiteschool
 
Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
Sufficiencyeconomy
 

More from PRgroup Tak

วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556              วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
PRgroup Tak
 
หลักการและแนวทางในการดำเนินงานสภานักเรียน
หลักการและแนวทางในการดำเนินงานสภานักเรียนหลักการและแนวทางในการดำเนินงานสภานักเรียน
หลักการและแนวทางในการดำเนินงานสภานักเรียน
PRgroup Tak
 

More from PRgroup Tak (8)

วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556              วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
 
หลักการและแนวทางในการดำเนินงานสภานักเรียน
หลักการและแนวทางในการดำเนินงานสภานักเรียนหลักการและแนวทางในการดำเนินงานสภานักเรียน
หลักการและแนวทางในการดำเนินงานสภานักเรียน
 
ประชาสัมพันธ์โครงการโพธิสัตว์น้อย ลูกขอพ่อแม่เลิกเหล้า ปีการศึกษา 2556
ประชาสัมพันธ์โครงการโพธิสัตว์น้อย ลูกขอพ่อแม่เลิกเหล้า ปีการศึกษา 2556ประชาสัมพันธ์โครงการโพธิสัตว์น้อย ลูกขอพ่อแม่เลิกเหล้า ปีการศึกษา 2556
ประชาสัมพันธ์โครงการโพธิสัตว์น้อย ลูกขอพ่อแม่เลิกเหล้า ปีการศึกษา 2556
 
ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 97/2556
ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 97/2556ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 97/2556
ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 97/2556
 
ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 95/2556
ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 95/2556ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 95/2556
ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 95/2556
 
ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 97/2556 ณ ค่ายลูกเสือพบพระ
ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 97/2556  ณ  ค่ายลูกเสือพบพระทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 97/2556  ณ  ค่ายลูกเสือพบพระ
ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 97/2556 ณ ค่ายลูกเสือพบพระ
 
ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 95/2556 ณ ค่ายลูกเสืออำเภอพบพระ
ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 95/2556  ณ  ค่ายลูกเสืออำเภอพบพระ ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 95/2556  ณ  ค่ายลูกเสืออำเภอพบพระ
ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 95/2556 ณ ค่ายลูกเสืออำเภอพบพระ
 
คู่มือระเบียบแถว
คู่มือระเบียบแถวคู่มือระเบียบแถว
คู่มือระเบียบแถว
 

แนวทางการพัฒนาโรงเรียนในพระราชดำริ

  • 1. กรอบแนวทางแผนพัฒนาโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็ก และเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี ประจำาปีงบประมาณ 2556-2559 โรงเรียนบ้านแม่ระเมิง สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 สังกัดสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิสัยทัศน์ “สุขภาพดี มีคุณธรรม นำาวิชาการ สืบสานงานพระ ราชดำาริ มีชีวิตอย่างพอเพียง”(ที่มาจาก 6 วัตถุประสงค์ กพด.) ทุกโรงเรียนใช้เหมือนกัน พันธกิจ พัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ให้มีสุขภาพแข็ง แรง มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้และทักษะทางวิชาการและอาชีพ บนพื้นฐาน ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาท้องถิ่น เป้าหมาย ในการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระ ราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ กำาหนดเป้าหมายสูงสุดของ การพัฒนาไว้ดังนี้ “เด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร มี โภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง มีความซื่อสัตย์ เสียสละ และเมตตาผู้อื่น มีความรู้และ ทักษะทางวิชาการและการ อาชีพที่เป็นรากฐานของการพึ่งตนเองและพัฒนาท้องถิ่น ได้ นำาไปสู่การ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และมีโอการสได้รับการศึกษาใน ระดับสูงขึ้นตามศักยภาพของ ตนเอง เป็นคนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น” วัตถุประสงค์
  • 2. 1. ส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยของเด็กและ เยาวชนเริ่มตั้งแต่ในครรภ์มารดา 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้ แก่เด็กและเยาวชน 3. เสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการเรียนรู้ ทางวิชาการ 4. เสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนทางการอาชีพ 5. ปลูกฝังจิตสำานึกและพัฒนาศักยภาพของเด็กและ เยาวชนในการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6. เสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการ อนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น กลยุทธ์์ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพนักเรียน 1.1 ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตของ นักเรียน 1.2 พัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรม ยึดปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงในการดำารงชีวิต 1.3 ซาบซึ้งและมีความจงรักภักดีในสถาบันพระมหา กษัตริย์ 1.4 สถานศึกษามีการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพและมี ระบบประกันคุณภาพภายใน ที่เข้มแข็งและได้รับ การรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก 1.5 ประกันโอกาสให้แก่นักเรียนที่ด้อยโอกาสเข้าเรียน ด้วยความเสมอภาคและ เป็นธรรม 1.6 นักเรียนเกิดความรู้ และทักษะตามหลักสูตรการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.7 ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนตาม วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งโรงเรียน 1.8 สืบสานภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น ตลอดจน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 2.1 พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ให้เป็นผู้นำาในการนำา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบริหารสถานศึกษา และ การเป็นผู้นำาทางวิชาการตามแนวพระราชดำาริ
  • 3. 2.2 ส่งเสริมการบูรณาการโครงการตามแนวพระ ราชดำาริ สมเด็จพระเทพ-รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี เข้ากับสาระการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษา 2.3 พัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้ สามารถจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตามแนว พระราชดำาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราช กุมารี 2.4 นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน มี ความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนมีภูมิคุ้มกันต่อการ เปลี่ยนแปลงในสังคมพหุวัฒนธรรม กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้ พร้อมในการจัดการศึกษา 3.1 พัฒนาสภาพแวดล้อมในโรงเรียน ตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงและตามแนวพระราชดำาริสมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3.2 ส่งเสริมให้โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ที่จำาเป็นต่อการ พัฒนาศักยภาพของผู้เรียน กลยุทธที่ 4 การพัฒนากลไกในการประสานส่งเสริม โรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็ก และยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 4.1 ส่งเสริมเครือข่ายโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็ก และเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการพัฒนางานสู่ความ สำาเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ 4.2 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง หน่วยงานภาค รัฐและเอกชนในการส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียน ในระดับเขตต้องมีเงื่อนไข ในระดับโรงเรียนไม่ ต้องมี เงื่อนไขแห่งความสำาเร็จในการดำาเนินงานของ โรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชน ในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  • 4. 1.สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดสรรงบประมาณเป็นการเฉพาะ ให้กับโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่น ทุรกันดาร ตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2.สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้อง ดำาเนินการจัดสรรงบประมาณ ด้านการพัฒนาบุคลากรและส่งเสริมด้านวิชาการเพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพ 3.สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้อง กำาหนดเป้าหมายการพัฒนาโรงเรียนในโครงการพัฒนา เด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ ดำาเนินการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานให้เข้าสู่มาตรฐาน ได้อย่างมีคุณภาพและสม พระเกียรติ 4.การสร้างขวัญและกำาลังใจในการปฏิบัติงานของ บุคลากรโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนใน ถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้อง ดำาเนินการจัดสรรงบประมาณเกี่ยวกับเม็ดเงินในการ พิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน หรือในรูปของเงินค่า ตอบแทนรายเดือนเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ
  • 5. กลยุทธ์ จุดเน้น วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด ของแผนพัฒนาโรงเรียนตามแนวพระราชดำาริสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระยะ 4 ปี (ปีงบประมาณ 2556-2559) กลยุทธ์ จุดเน้น วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1. พัฒนา คุณภาพ นักเรียน 1.1 พัฒนานักเรียนให้มี คุณธรรม ยึดปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงในการ ดำารงชีวิต ซาบซึ้งและมี ความ จงรักภักดีในสถาบันพระ มหากษัตริย์ 1.1 นักเรียนมีคุณธรรม ยึดหลักปรัชญา เศรษฐกิจ พอเพียงในการดำารงชีวิต ซาบซึ้งและมีความจงรัก ภักดีใน สถาบัน พระมหากษัตริย์ 1.1 ร้อยละของนักเรียน มีคุณธรรม 1.1 ร้อยละ 90 ของ นักเรียนมี คุณธรรม 1.2 ร้อยละของนักเรียน ที่นำาหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียง ไปใช้ในการ ดำารงชีวิต 1.2 ร้อยละ 80 ของ นักเรียนที่นำาหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ในการดำารงชีวิต 1.3 ร้อยละของนักเรียน มีความ จงรักภักดีในสถาบันพระ มหากษัตริย์ 1.3 ร้อยละ 100 ของ นักเรียนมีความ จงรักภักดีในสถาบันพระ มหากษัตริย์ 1.2 ส่งเสริมสุขภาพ อนามัยและ คุณภาพชีวิตของ นักเรียน 1.2 นักเรียนมีสุขภาพ อนามัย และคุณภาพ ชีวิตที่ดี ตามเกณฑ์ กระทรวงสาธารณสุข 1.4 ร้อยละของนักเรียน มีสุขภาพ อนามัยตามเกณฑ์ มาตรฐาน ของกระทรวง สาธารณสุข 1.4 ร้อยละ 95 ของ นักเรียนมีสุขภาพ อนามัยตามเกณฑ์ มาตรฐาน ของกระทรวง สาธารณสุข 1.3 ประกันโอกาสให้แก่ นักเรียนที่ด้อยโอกาสได้ มีโอกาสเข้าเรียนด้วย ความ เสมอภาคและเป็น 1.3 นักเรียนด้อยโอกาส ได้รับ การศึกษาด้วยความเสมอ ภาค 1.5 ร้อยละของนักเรียน ด้อยโอกาสได้รับการ ศึกษาด้วยความเสมอภาค และเป็นธรรม 1.5 ร้อยละ 98 ของ นักเรียนด้อยโอกาสได้รับ การศึกษาด้วยความเสมอ ภาคและเป็นธรรม
  • 6. ธรรม และเป็นธรรม 1.4 ประกันคุณภาพการ ศึกษาตามหลักสูตรการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.5 นักเรียนมีคุณภาพ การศึกษาตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.6 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนกลุ่มสาระ การเรียนรู้หลักเพิ่มขึ้น โดยผลการสอบระดับชาติ (O-NET) เพิ่มขึ้นอย่าง น้อยร้อยละ 3 % 1.7 เด็กปฐมวัยทุกคนได้ รับการเตรียมความพร้อม ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ตาม หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย อย่างมีคุณภาพ 1.8 นักเรียนชั้น ป.3 ทุก คนอ่านออก เขียนได้ คิด เลขเป็น และนักเรียนชั้น ป.6 ทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง และมีทักษะการคิดขั้นพื้น ฐาน 1.9 นักเรียนที่มีความ สามารถด้านคณิตศาสตร์ 1.6 ร้อยละของนักเรียน มีคุณภาพการศึกษาตาม หลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐานและหลักสูตร สถานศึกษา 1.7 ร้อยละของนักเรียน มีคุณภาพการศึกษาตาม หลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐานและหลักสูตร สถานศึกษา 1.8 ร้อยละของนักเรียน ปฐมวัยทุกคนได้รับ การเตรียมความพร้อม ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ตามหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ 1.9 ร้อยละของนักเรียน ชั้น ป.3 ทุกคนอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น และ นักเรียนชั้น ป.6 ทุกคน อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง และมีทักษะ การคิดขั้นพื้นฐาน 1.6 ร้อยละ 90 ของ นักเรียนมีคุณภาพการ ศึกษาตามหลักสูตรการ ศึกษาขั้นพื้นฐานและ หลักสูตรสถานศึกษา 1.7 ร้อยละ 80 ของ นักเรียนมีคุณภาพการ ศึกษาตามหลักสูตรการ ศึกษาขั้นพื้นฐานและ หลักสูตรสถานศึกษา 1.8 ร้อยละ 80 ของ นักเรียนปฐมวัยทุกคนได้ รับการเตรียมความพร้อม ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ตามหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ 1.9 ร้อยละ 100 ของ นักเรียนชั้น ป.3 ทุกคน อ่านออก เขียนได้ คิด เลขเป็น และนักเรียนชั้น ป.6 ทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง และมีทักษะการคิดขั้นพื้น
  • 7. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศิลปศาสตร์ทุกคนได้ รับการส่งเสริมให้มีความ เป็นเลิศ 1.10ประชากรวัยเรียนทุก คนมีโอกาสเข้าถึงบริการ ทางการศึกษาด้วยทาง เลือกที่หลากหลาย เพื่อลด อัตราเด็กตกหล่น ออก กลางคัน ส่งเสริมการเรียน ต่อหรือประกอบอาชีพ 1.10 ร้อยละของ นักเรียนที่มีความสามารถ ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ ศิลปศาสตร์ ทุกคน 1.11 ประชากรวัยเรียน ทุกคนมีโอกาสเข้าถึง บริการทางการศึกษาด้วย ทางเลือกที่หลากหลาย เพื่อลดอัตราเด็กตกหล่น ออกกลางคัน ส่งเสริม การเรียนต่อหรือประกอบ อาชีพ ฐาน 1.10 ร้อยละ 100 ของ นักเรียนที่มีความสามารถ ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ ศิลปศาสตร์ทุก คนได้รับการส่งเสริมให้มี ความเป็นเลิศ 1.11 ร้อยละ 95 ประชากรวัยเรียนมี โอกาสเข้าถึงบริการ ทางการศึกษาด้วยทาง เลือกที่หลากหลาย เพื่อ ลดอัตราเด็กตกหล่น ออก กลางคัน ส่งเสริมการ เรียนต่อหรือประกอบ อาชีพ 1.5 สถานศึกษามีการ พัฒนาอย่างเต็ม ศักยภาพและมีระบบ ประกันคุณภาพภายใน ที่เข้มแข็งและได้รับการ รับรองจากการประเมิน 1.11โรงเรียนในโครงการ พระราชดำาริทุกแห่ง มีการ พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ และมีระบบประกันคุณภาพ ภายใน ที่เข้มแข็งและ ได้รับการรับรองจากการ 1.12 ร้อยละของ นักเรียนมีศักยภาพตาม วัตถุประสงค์ของการจัด ตั้งโรงเรียน 1.13 ร้อยละของ โรงเรียนในโครงการ 1.12 ร้อยละ 80 ของ นักเรียนมีศักยภาพตาม วัตถุประสงค์ของการจัด ตั้งโรงเรียน 1.13 ร้อยละ 100 ของ โรงเรียนในโครงการ
  • 8. คุณภาพภายนอก 1.6 ส่งเสริมการพัฒนา ศักยภาพของ นักเรียน ตามวัตถุประสงค์ของ การจัดตั้งโรงเรียน (6 วัตถุประสงค์ตาม กพด.) 1.7 สืบสานภูมิปัญญา และวัฒนธรรมท้องถิ่น ประเมินคุณภาพภายนอก 1. 12 นักเรียนมีศักยภาพ ตามวัตถุประสงค์ของการ จัดตั้งโรงเรียน 1.13 นักเรียนสามารถ สืบสานภูมิปัญญาและ วัฒนธรรมท้องถิ่นได้ พระราชดำาริทุกแห่ง มี การพัฒนาอย่างเต็ม ศักยภาพและมีระบบ ประกันคุณภาพภายใน ที่เข้มแข็งและได้รับการ รับรองจากการประเมิน คุณภาพภายนอก 1.14 ร้อยละของ นักเรียนที่สามารถ สืบสานภูมิปัญญาและ วัฒนธรรมท้องถิ่น พระราชดำาริทุกแห่ง มี การพัฒนาอย่างเต็ม ศักยภาพและมีระบบ ประกันคุณภาพภายในที่ เข้มแข็งและได้รับการ รับรองจากการประเมิน คุณภาพภายนอก 1.14 ร้อยละ 90 ของ นักเรียนที่สามารถ สืบสานภูมิปัญญาและ วัฒนธรรมท้องถิ่น กลยุทธ์ จุดเน้น วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2.พัฒนา ครูและ บุคลากร 2.1 พัฒนาผู้บริหาร สถานศึกษาให้เป็น ผู้นำา ในการนำาปรัชญา 2.1 พัฒนาผู้บริหารสถาน ศึกษาให้เป็นผู้นำาการ จัดการศึกษาโดยยึด 2.1 ร้อยละของผู้บริหาร โรงเรียนที่จัดการศึกษา โดยนำาปรัชญา 2.1 ร้อยละ 100 ของผู้ บริหารโรงเรียนที่จัดการ ศึกษาโดยนำาปรัชญา
  • 9. ทางการ ศึกษา เศรษฐกิจ พอเพียงสู่การบริหาร สถานศึกษา และการ เป็นผู้นำาทางวิชาการ ตาม แนวพระราชดำาริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง 2.2 โรงเรียนเป็นผู้นำาทาง วิชาการตามแนวพระ ราชดำาริ 2.2 ร้อยละของโรงเรียน ที่เป็นต้นแบบการจัดการ ศึกษาตามแนวพระ ราชดำาริอย่างมี ประสิทธิภาพ 2.2 ร้อยละ 80 ของ โรงเรียนที่เป็นต้นแบบ การจัดการศึกษาตาม แนวพระราชดำาริอย่างมี ประสิทธิภาพ 2.2 ส่งเสริมการพัฒนา หลักสูตรและการ เรียน การสอนตามแนวพระ ราชดำาริ 2.3 โรงเรียนพัฒนา หลักสูตรและการเรียนการ สอนตามแนวพระราชดำาริ 2.3 ร้อยละของโรงเรียน ดำาเนินการพัฒนา หลักสูตรและการเรียน การสอนตามแนวทาง พระราชดำาริ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2.3 ร้อยละ 100 ของ โรงเรียนดำาเนินการ พัฒนาหลักสูตรและการ เรียนการสอนตาม แนวทางพระราชดำาริได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 2.3 พัฒนาคุณภาพครู และบุคลากรทางการ ศึกษาให้สามารถจัดการ เรียนการสอนตาม มาตรฐานและตาม แนวพระราชดำาริ 2.4 ครูและบุคลากร ทางการศึกษาสามาร จัดการเรียนการสอนตาม มาตรฐานและแนว พระ ราชดำาริ 2.4 ร้อยละของครูและ บุคลากรทางการศึกษาที่ สามารถจัดการเรียนการ สอนได้ตามมาตรฐาน ของ สพฐ. 2.5 ร้อยละของครูและ บุคลากรทางการศึกษาที่ สามารถจัดการเรียนการ สอนได้ตามแนวพระ ราชดำาริ 2.4 ร้อยละ 75 ของครู และบุคลากรทางการ ศึกษาที่สามารถจัดการ เรียนการสอนได้ตาม มาตรฐานของ สพฐ.2.5 ร้อยละ 90 ของครูและ บุคลากรทางการศึกษาที่ สามารถจัดการเรียนการ สอนได้ตามแนวพระ ราชดำาริ
  • 10. 2.4 ครู และบุคลากร ทางการศึกษาทุกคน มี ความพร้อมในการ จัดการเรียนรู้สู่ ประชาคมอาเซียน 2.5 ครู และบุคลากร ทางการศึกษาทุกคน มี ความพร้อมในการจัดการ เรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน 2.6 ร้อยละของครู และ บุคลากรทางการศึกษา ทุกคน มีความพร้อมใน การจัดการเรียนรู้สู่ ประชาคมอาเซียน 2.6 ร้อยละ 100 ของครู และบุคลากรทางการ ศึกษาทุกคน มีความ พร้อมในการจัดการเรียน รู้สู่ประชาคมอาเซียน
  • 11.
  • 12. กลยุทธ จุดเน้น วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 3. ปรับ สภาพ แวดล้อม ของ โรงเรียน ให้พร้อม ในการ จัดการ ศึกษา 3.1 พัฒนาสภาพ แวดล้อมในโรงเรียน ตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียงและตามแนว พระราชดำาริสมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3.1 โรงเรียนมีพัฒนาสภาพ แวดล้อมในโรงเรียน ตาม แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และตามแนวพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3.1 ร้อยละของโรงเรียน มีพัฒนาสภาพแวดล้อม ในโรงเรียน ตาม แนวทางเศรษฐกิจพอ เพียงและตามแนวพระ ราชดำาริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี 3.1 ร้อยละ 90 ของ โรงเรียนมีพัฒนาสภาพ แวดล้อมในโรงเรียน ตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียงและตามแนวพระ ราชดำาริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี 3.2 ส่งเสริมให้ โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ ที่จำาเป็นต่อการพัฒนา ศักยภาพของผู้เรียน 3.2 โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ ตามแนวพระราชดำาริที่ จำาเป็นต่อการพัฒนา ศักยภาพของผู้เรียน 3.2 ร้อยละ 100 ของ โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ ตามแนวพระราชดำาริที่ จำาเป็นต่อการพัฒนา ศักยภาพของผู้เรียน 3.2 ร้อยละ 100 ของ โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ ตามแนวพระราชดำาริที่ จำาเป็นต่อการพัฒนา ศักยภาพของผู้เรียน 4. พัฒนา กลไกใน การ ประสาน ส่งเสริม โรงเรียน ในพระ ราชดำาริ 4.1 ส่งเสริมเครือข่าย โรงเรียนในพระ ราชดำาริ เพื่อการแลก เปลี่ยนเรียนรู้ และ ขยายผลสู่โรงเรียนอื่น 4.1 โรงเรียนในโครงการ พระราชดำาริสร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสถาน ศึกษาและองค์กรอื่นได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 4.1 ร้อยละของโรงเรียน พระราชดำาริที่สามารถ สร้างเครือข่ายแลก เปลี่ยนเรียนรู้กับสถาน ศึกษาและองค์กรอื่น 4.1 ร้อยละ 100 ของ โรงเรียนพระราชดำาริที่ สามารถสร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ สถานศึกษาและองค์กร อื่น 4.2 ร้อยละของโรงเรียน พระราชดำาริที่สามารถ ขยายผลสู่โรงเรียนอื่นได้ 4.2 ร้อยละ 80 ของ โรงเรียนพระราชดำาริที่ สามารถขยายผลสู่ โรงเรียนอื่นได้
  • 13. กลยุทธ จุดเน้น วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 4. พัฒนา กลไกใน การ ประสาน ส่งเสริม โรงเรียน ในพระ ราชดำาริ 4.2 สำานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษามีความเข้มแข้ง สามารถสนับสนุนสถาน ศึกษา จัดการศึกษาตามแนว พระราชดำาริได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4.3 ร้อยละของ สำานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาที่ให้การสนับสนุน โรงเรียนพระราชดำาริได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 ร้อยละ 100 ของ สำานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาที่ให้การสนับสนุน โรงเรียนพระราชดำาริได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 ส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของผู้ ปกครอง หน่วยงาน ภาครัฐและเอกชนใน การส่งเสริมสนับสนุน โรงเรียน 4.3 สร้างเครือข่ายการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนใน การส่งเสริมสนับสนุนการ จัดการศึกษาของโรงเรียน 4.4 ร้อยละของโรงเรียน ที่สร้างเครือข่ายการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในการส่งเสริมสนับสนุน การจัดการศึกษาตาม แนวพระราชดำาริ 4.4 ร้อยละ 100 ของ โรงเรียนที่สร้างเครือข่าย การมีส่วนร่วมของทุกภาค ส่วนในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา ตามแนวพระราชดำาริ