SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 107 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปร
The Administrative Skills of School Administrators of
Sarasas Affiliated Schools under the Office of the Samut
Education Area, Samut Prakan Province
บทคัดยอ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาทักษะการบริหารงานของผูบริหา
โรงเรียนสารสาสนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ
ตามความคิดเห็นของผูบริหาร และเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหาร
ในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ
จําแนกตามขนาดของโรงเรียน กลุมตัวอ
ในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ
จํานวน 196 คนโดยการสุมอยางงาย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสอบถาม
ซึ่งมีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.96 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ได
คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการเปรียบเทียบโดยการหาคาความแปรปรวน
ทางเดียว กรณีมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ จะทดสอบความแตกตางรายคู
โดยวิธีของเชฟเฟ ผลการวิจัย พบวา 1) ภาพรวมทักษะการบริหารงานของผูบริหาร
ในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามความคิดเห็นของ
ผูบริหาร จังหวัดสมุทรปราการ อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา
ผูบริหารมีทักษะการบริหารงานจากมากไปหานอย คือ ทักษะการบริหารงาน
ดานความคิดรวบยอด รองลงมา ทักษะการบริหารงานดานมนุษย และทักษะ
1
นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภั
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ
The Administrative Skills of School Administrators of
Sarasas Affiliated Schools under the Office of the Samut Prakan
Education Area, Samut Prakan Province
กิ่งกาญ แกนจันทร1
เพื่อ ศึกษาทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือ
โรงเรียนสารสาสนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ
และเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหาร
ในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ
จําแนกตามขนาดของโรงเรียน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ ผูบริหาร
ในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ
คนโดยการสุมอยางงาย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสอบถาม
สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอยละ
คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการเปรียบเทียบโดยการหาคาความแปรปรวน
ทางเดียว กรณีมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ จะทดสอบความแตกตางรายคู
ภาพรวมทักษะการบริหารงานของผูบริหาร
กัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามความคิดเห็นของ
ผูบริหาร จังหวัดสมุทรปราการ อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา
ผูบริหารมีทักษะการบริหารงานจากมากไปหานอย คือ ทักษะการบริหารงาน
ดานความคิดรวบยอด รองลงมา ทักษะการบริหารงานดานมนุษย และทักษะ
นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 108 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
การบริหารงานดานเทคนิค 2) การเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหารใน
เครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามความคิดเห็นของ
ผูบริหาร จังหวัดสมุทรปราการ จําแนกตามขนาดของโรงเรียน พบวา ในภาพรวมไมมี
ความแตกตางกัน เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ทักษะการบริหารงานดานเทคนิค
ของโรงเรียนขนาดเล็ก และขนาดใหญพิเศษมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ
ทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนทักษะการบริหารงานดานมนุษยและดานความคิดรวบยอด
ไมมีความแตกตางกัน
คําสําคัญ การบริหารงาน ผูบริหาร ทักษะการบริหารงาน
Abstract
The objectives of this research were to: study the administrative
skills of school administrators of Sarasas Affiliated Schools in the opinion
of the administrators under the Office of Samut Prakan Education Area,
Samut Prakan Province, and compare the administrative skills of school
administrators of Sarasas Affiliated Schools under the Office Samut
Prakan Education Area, Samut Prakan Province classified by school size.
The research sample was 196 school administrators selected by simple
random sampling method in Sarasas Affiliated Schools under the Office
of Samut Prakan Education Area, Samut Prakan Province. The research
instrument was a questionnaire with the reliability of .96. The data were
analyzed using percentage, mean and standard deviation. The statistics
for testing mean difference were one-way analyzed of variance. In case
of significant difference, Scheffe method was used to test the pair
difference. The research results revealed that: 1) as a whole the
administrative skills of school administrators in the opinion of the
administrators of Sarasas Affiliated Schools under the Office of Samut
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 109 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
Prakan Education Area, Samut Prakan Province were at a high level.
When considered by aspects, it was found that the average
administrative skills from high to low level were conceptual skills,
human relation skills and technical skills, 2) the comparison of
administrative skills of school administrators in the opinion of the
administrators of Sarasas Affiliated Schools under the Office of Samut
Prakan Education Area, Samut Prakan Province classified by school size
as a whole was not different. When considered by aspects it was found
that the technical skills of small schools and extra large schools were
different at .05 level of significance. The human skills and conceptual
skills of school administrators were not different.
Keyword Administration, Administrators, Administrative Skill
บทนํา
การศึกษาเปนกระบวนการที่สําคัญในการพัฒนาคน เปนเครื่องมือในการพัฒนา
ประเทศ หากประเทศใดประชากรไดรับการศึกษาดี การพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ
การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรมจะมีความมั่นคงกาวหนา สามารถรับรูขอมูล
ขาวสารของสังคมโลกไดทันเหตุการณ
การจัดการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเปนการจัดการศึกษา
ในระดับที่สําคัญที่สุดเปนหัวใจสําคัญของการจัดการศึกษาของชาติทั้งนี้
เพราะเปนการศึกษาที่จัดใหประชากรสวนใหญของประเทศ รัฐบาลทุกสมัยไดให
ความสําคัญตอการศึกษาในระดับนี้เปนอยางมาก รัฐไดพยายามจัดและสนับสนุน
ใหพลเมืองทุกคนไดรับการศึกษาอยางเทาเทียมกันโดยมุงวางรากฐาน เพื่อใหผูเรียนได
พัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค ทั้งในดานคุณธรรม จริยธรรม ความรู
และความสามารถ
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 110 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
หนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ของไทยมีหลายหนวยงาน ประกอบดวยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สํานักบริหารงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชนสํานักกรุงเทพมหานคร สํานัก
บริหารการศึกษาทองถิ่น หนวยงานดังกลาว มีหนาที่ความรับผิดชอบและขอบขาย
งานตางกัน
โรงเรียนเอกชนเปนหนวยงานที่จัดการศึกษาโดยเอกชน ภายใตการกํากับ
ดูแลโดยสํานักบริหารคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ
มีสวนรวมแบงเบาภาระการจัดการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งเปนอีก
ทางเลือกหนึ่งของผูปกครองที่จะนําบุตรหลานมาเขารับการศึกษาในโรงเรียนเอกชน
ตามสิทธิที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญ โรงเรียนเอกชนจึงจําเปนตองบริหารและ
จัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ เปนที่ยอมรับของผูปกครอง
องคกรหรือหนวยงานใด ๆ ก็ตามยอมมีเปาหมายสูงสุดที่ทําใหกิจการของ
องคกรนั้นดําเนินไปสูความสําเร็จตามวัตถุประสงคที่วางไวและมีความเจริญกาวหนา
เปนปกแผนมั่นคง กระบวนการที่ทําใหองคกรหรือหนวยงานเปนไปตามที่คาดหวัง
ก็คือการบริหารโดยจะตองมีวิธีการที่เหมาะสม และสอดคลองกับสภาพของสังคม
ปญหา โอกาสและทรัพยากรที่มีอยูหรือกลาวอีกนัยหนึ่งวาความสําเร็จหรือความ
ลมเหลวขององคกรยอมขึ้นอยูกับคุณภาพและประสิทธิภาพของการบริหารเปนสําคัญ
(วิโรจน สารรัตนะ, 2542: 11 อางถึงใน วันระวี รัตนกําเนิด, 2558: 9) ผูบริหาร
มีความสําคัญตอการบริหารงานในองคกรเปนอยางมาก ตองสรางศรัทธาการยอมรับ
นับถือและเปนตัวอยางที่ดีแกผูใตบังคับบัญชาและคนในสังคม การบริหารงานนอกจาก
มีหลักการในการทํางานโดยยึดหลักกฎหมาย ระเบียบคําสั่งตามสภาพและวัฒนธรรม
ของสังคมนั้น ๆ และความสําเร็จของ การบริหารงานตองถือวาความรูคูคุณธรรม
(ยุพิน อินทนิล, 2549: 2-3 อางถึงใน รุจิภาส คําแกว, 2559: 89) โดยเฉพาะ
ในสังคมไทยนั้น ภาพลักษณของผูบริหารจะตองเปยมดวยคุณธรรมหลายประการ
จึงจะเอื้ออํานวยตอการบริหารงาน และการบริหารงานที่ประกอบดวยคุณธรรม
จะทําใหการดําเนินงานขององคกรไปสูเปาหมายไดดีเสมอ
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 111 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
การบริหารงานของหนวยงานระดับตาง ๆ ตามโครงสราง ถือวาโรงเรียน
เปนหนวยงานที่สําคัญที่สุด ในการนํานโยบายและหลักสูตรไปปฏิบัติเพื่อใหการศึกษา
แกนักเรียน เพื่อใหนักเรียนบรรลุจุดหมาย ที่กําหนดไวในหลักสูตร ซึ่งผลการ
จัดการศึกษาจะเปนอยางไรนั้น อยูที่การปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงเรียน
และกระบวนการบริหารเปนสําคัญ ซึ่งบุคคลที่จะตองรับภาระหนาที่โดยตรง
ในกระบวนการบริหาร จึงเปนผูบริหารโรงเรียนนั่นเอง
วัตถุประสงคการวิจัย
1. เพื่อศึกษาทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียน
สารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ จําแนกตามขนาด
ของโรงเรียน
สมมติฐานการวิจัย
ทักษะการบริหารงานของผูบริหารโรงเรียนในเครือโรงเรียนสารสาสนตาม
คิดเห็นของผูบริหาร สังกัดโรงเรียนขนาดตางกันมีทักษะการบริหารงานแตกตางกัน
วิธีดําเนินการวิจัย
ประชากร
ประชากร ประกอบดวย ผูบริหารโรงเรียน ตําแหนงผูอํานวยการโรงเรียน
และรองผูอํานวยการโรงเรียน และหัวหนากลุมสาระการเรียนรูในเครือโรงเรียนสาร
สาสน จังหวัดสมุทรปราการ ปการศึกษา 2558 จํานวน 394 คน จากโรงเรียน 30
โรงเรียนจําแนกเปนโรงเรียนขนาดเล็ก 9 โรงเรียน โรงเรียนขนาดกลาง 13 โรงเรียน
โรงเรียนขนาดใหญ5โรงเรียน และโรงเรียนขนาดใหญพิเศษ 3 โรงเรียน
กลุมตัวอยาง ประกอบดวย ผูบริหารโรงเรียน ตําแหนงผูอํานวยการ
โรงเรียนและรองผูอํานวยการโรงเรียน และหัวหนากลุมสาระการเรียนรู
ในเครือโรงเรียนสารสาสน จังหวัดสมุทรปราการ ปการศึกษา 2558 จํานวน 196 คน
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 112 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
กําหนดขนาดของกลุมตัวอยางใชตารางกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางของเครจซี่
และมอรแกน (Krejcie & Morgan, 1970 อางถึงใน ธานินทร ศิลปจารุ, 2551: 49)
การสุมตัวอยางใชวิธีสุมอยางงาย (Simple random sampling method)
เครื่องมือ
เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถาม จํานวน 1 ฉบับ
แบงออกเปน 2 ตอน มีรายละเอียด ดังนี้
ตอนที่ 1 แบบสอบถามสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม เกี่ยวกับ
ตําแหนงงาน และขนาดของโรงเรียน ลักษณะแบบสอบถามเปนแบบตรวจสอบรายการ
(Check List) จํานวน 2 ขอ
ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะดานการบริหารงานของผูบริหาร
ทั้ง 3 ทักษะ คือ ทักษะดานเทคนิค (Technical Skills) ทักษะดานมนุษย (Human
Skills) และทักษะดานความคิดรวบยอด (Conceptual Skills) โดยแบงเปนดานละ
10 ขอ รวมทั้งหมดจํานวน 30 ขอ ใชแบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา
ของลิเคอรท (Rating Scale) แบงเปน 5 ระดับ ดังนี้
5 หมายถึง มีทักษะการบริหาร ระดับมากที่สุด
4 หมายถึง มีทักษะการบริหาร ระดับมาก
3 หมายถึง มีทักษะการบริหาร ระดับปานกลาง
2 หมายถึง มีทักษะการบริหาร ระดับนอย
1 หมายถึง มีทักษะการบริหาร ระดับนอยที่สุด
การเก็บรวบรวมขอมูล
ผูศึกษาเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางแบงเปน 2 ทาง
ทางที่หนึ่งผูศึกษานําแบบสอบถามไปสงใหกับกลุมตัวอยางและรับแบบสอบถาม
กลับคืนดวยตนเองและทางที่สอง ผูศึกษาเก็บรวบรวมขอมูล โดยสงทางไปรษณียแลว
ใหผูตอบแบบสอบถามสงกลับคืนมายังผูวิจัย โดยดําเนินการระหวางวันที่ 10-30
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 113 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ไดรับแบบสอบถามกลับคืน จํานวน 196 ฉบับคิดเปน
รอยละ 100
การวิเคราะหขอมูล
1. การวิเคราะหขอมูลสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม เกี่ยวกับตําแหนง
งาน และขนาดของโรงเรียน โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution)
และหาคารอยละ (Percentage)
2. การวิเคราะหขอมูลทักษะการบริหารงานทั้ง 3 ดาน คือ ทักษะ
ดานเทคนิค (Technical Skills) ทักษะดานมนุษย (Human Skills) และทักษะ
ดานความคิดรวบยอด (Conceptual Skills) โดยการหาคาเฉลี่ย (X ) และคาสวน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
3. การเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียน
สารสาสน จังหวัดสมุทรปราการ ทั้ง 3 ทักษะ จําแนกตามขนาดของโรงเรียน เปน
โรงเรียนขนาดเล็กโรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญและโรงเรียนขนาดใหญ
พิเศษ ใชการวิเคราะหโดยการหาคาความแปรปรวนทางเดียว (One – way Analysis
of Variance: F - test) และทําการทดสอบรายคู โดยวิธีของเชฟเฟ (Scheffe test)
ในกรณีมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ
สรุปและอภิปรายผล
สรุป
1. ทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก
และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา มีทักษะการบริหารงานอยูในระดับมากทุกดาน
เรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ดังนี้ คือ ทักษะดานความคิดรวบยอด
ทักษะดานมนุษย และทักษะดานเทคนิค
2. การเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียน
สารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ จําแนกตามขนาด
ของโรงเรียน เปนโรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 114 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
และโรงเรียนขนาดใหญพิเศษ โดยภาพรวม พบวา ไมมีความแตกตางกันไมเปนไป
ตามสมมติฐานที่ตั้งไว
เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ทักษะการบริหารงานดานเทคนิคมีความ
แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยผูบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
มีทักษะการบริหารงานดานเทคนิคแตกตางกับผูบริหารโรงเรียนขนาดใหญพิเศษอยาง
มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และไมมีความแตกตางกับผูบริหารโรงเรียนขนาด
กลางและผูบริหารโรงเรียนขนาดใหญ สวนผูบริหารโรงเรียนขนาดกลางมีทักษะ
การบริหารงานดานเทคนิคไมแตกตางกับผูบริหารโรงเรียนขนาดใหญและผูบริหาร
โรงเรียนขนาดใหญพิเศษ และผูบริหารโรงเรียนขนาดใหญมีทักษะการบริหารงาน
ดานเทคนิคไมแตกตางกับผูบริหารโรงเรียนขนาดใหญพิเศษ
อภิปรายผล
1. ทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก
และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา มีทักษะการบริหารงานอยูในระดับมาก
ทุกดาน ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาการจัดการระบบบริหารของหนวยงานมีการทํางาน
รวมกันเปนทีมบุคลากรทุกคนมีสวนรวมแบงเบาภาระขององคกรในการจัดการศึกษา
เพื่อใหการจัดการศึกษาของโรงเรียนดําเนินงานอยางมีคุณภาพ เนนประสิทธิภาพ
ในการทํางาน เพื่อใหเกิดความนาเชื่อถือ เปนที่ไววางใจแกผูปกครอง ใหนักเรียนเปนผู
ที่เกง ดี มีสุข ตามวัตถุประสงคของแผนการศึกษาของชาติ ผูบริหารโรงเรียนเอกชน
จึงตองเปนผูที่มีความรูความสามารถในการบริหารจัดการ โดยเฉพาะจะตองเปน
ผูบริหารที่มีประสิทธิภาพ มีทักษะในการบริหารทั้ง 3 ทักษะ คือทักษะดานเทคนิค
(Technical Skills) ทักษะดานมนุษย (Human Skills) และทักษะดานความคิดรวบ
ยอด (Conceptual Skills) ซึ่งสอดคลองกับ แคทซ (Katz, 1974: 60-85)
ที่เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับทักษะที่สําคัญสําหรับผูบริหารที่มีประสิทธิภาพไว 3 ประการ
เรียกวา "สามทักษะ" (Three Skill Method) วิเคราะหความรูความสามารถ
ของผูบริหาร พบวาผูบริหาร ที่จะทําหนาที่ของตนไดดีเพียงใด ประสบความสําเร็จ
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 115 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
มากนอยกวากันหรือไม ขึ้นอยูกับทักษะ 3 ทักษะ คือ ทักษะดานเทคนิค (Technical
Skills) ทักษะดานมนุษย (Human Skills) และทักษะดานความคิดรวบยอด
(Conceptual Skills)
ผลการวิเคราะหทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียน
สารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อพิจารณา
เปนรายดาน พบวา มีทักษะการบริหารงานอยูในระดับมากทุกดาน ซึ่งเรียงลําดับ
คาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ดังนี้ คือ ทักษะดานความคิดรวบยอด ทักษะดานมนุษย
และทักษะดานเทคนิคตามลําดับ ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ สมภูมิ รวิวรรณ
(2542: 3) ศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาการใชทักษะการบริหารงานของผูบริหารโรงเรียน
ประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดหนองคาย ผลการวิจัยพบวา
ผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จัดหวัดหนองคาย
ใชทักษะการบริหารอยูในระดับมาก เรียงลําดับ ดังนี้ ทักษะทางดานความคิดรวบยอด
ทักษะทางดานมนุษย และทักษะทางดานเทคนิควิธี สอดคลองกับงานวิจัยของ มานิตย
คณะวาป (2546: 61) ศึกษาทักษะการบริหารงานของผูบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาขอนแกน เขต 3 ผลการวิจัยพบวา 1) ทักษะการบริหารงาน
ของผูบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามความคิดเห็นของผูบริหาร และครูผูสอน
อยูในระดับ “มาก” เรียงลําดับจากมาก คือ ทักษะเชิงความคิดรวบยอด ทักษะเชิง
มนุษยสัมพันธ และทักษะเชิงเทคนิค นอกจากนี้ ยังสอดคลองกับงานวิจัยของ เสกสรร
รัตนจริยากุล (2547: บทคัดยอ) ศึกษาระดับทักษะและความตองการการพัฒนาทักษะ
การบริหารของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน
ผลการวิจัยพบวา 1) ผูบริหารสถานศึกษา มีระดับทักษะ การบริหารโดยรวมอยูใน
ระดับมาก ไดแก ทักษะทางดานความคิดรวบยอด ทักษะทางดานมนุษย
และทักษะทางดานเทคนิค ตามลําดับ และมีความตองการพัฒนาโดยรวมอยูในระดับ
มาก
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 116 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
สําหรับทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อพิจารณาเปนรายดาน
มีประเด็นสําคัญที่นํามาอภิปรายในรายละเอียด ดังนี้
ดานเทคนิค (Technical Skills) ผลการวิจัย พบวา ทักษะการบริหารงาน
ดานเทคนิคของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
จังหวัดสมุทรปราการ โดยรวมมีทักษะอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายการ
พบวา อยูในระดับมากทุกรายการ ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา ในปจจุบันผูบริหารโรงเรียน
อกชนสวนใหญไดรับการฝกอบรมในดานเทคนิคตาง ๆ เพิ่มเติมเชน เทคนิคการบริหาร
องคการ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการประเมินการปฏิบัติงาน
การประชาสัมพันธโรงเรียน เปนตน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Katz (1974: 90-
102) ที่กลาววา “ทักษะดานเทคนิค มีความสําคัญตอความกาวหนาอยางมาก
ในการบริหารงานในองคการ และจําเปนอยางแทจริงในการบริหารงานที่มี
ประสิทธิภาพของผูบริหารระดับตน” สอดคลองกับแนวคิดของ สุเทพ พงศศรีวัฒน
(2548: 125)ที่กลาววา “ทักษะดานเทคนิค ประกอบดวยความรูที่เกี่ยวกับวิธีการ
กระบวนการขั้นตอนและเทคนิควิธี ในการปฏิบัติกิจกรรมเฉพาะทางของผูบริหาร
ประจําหนวยงานในองคการ”
นอกจากนี้ ยังสอดคลองกับงานวิจัยของ วินัย ธรรมเกื้อกูล (2546: 52)
ศึกษาทักษะการบริหารของผูบริหารที่สงผลตอการปฏิบัติงานวิชาการในโรงเรียน
ประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี ผลการวิจัยพบวา
ทักษะการบริหารของผูบริหารสงผลตอการปฏิบัติงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา
ทั้งในภาพรวมและรายดาน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ทักษะดานเทคนิค สงผลตอการปฏิบัติงานวิชาการใหสอดคลองกับหลักสูตร ธรรมนูญ
โรงเรียนและแผนปฏิบัติงาน ผูบริหารการศึกษาจะตองมีความสามารถปฏิบัติงาน
ดานกิจกรรมเฉพาะอยางไดดี ซึ่งกิจกรรมเหลานั้น จะเกี่ยวกับวิธีการ กระบวนการ
และเทคนิค การวิเคราะหและการรูจักใชเครื่องมือในการปฏิบัติงาน (วินัย ธรรมเกื้อกูล
, 2546: 46)
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 117 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- ดานมนุษย (Human Skills) ผลการวิจัยพบวา ทักษะการบริหารงาน
ดานมนุษย ของผูบริหารโรงเรียนในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้น
ที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ โดยรวมมีทักษะอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณา
เปนรายการ พบวา อยูในระดับมากทุกรายการ ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาผูบริหารโรงเรียน
เอกชนตองทํางานสัมพันธกับกลุมคนหลาย ๆ ประเภท หลาย ๆ คนผูบริหาร
จําเปนตองมีมนุษยสัมพันธที่ดี ความสําเร็จของงานสวนใหญจึงขึ้นอยูกับความสามารถ
ในการทํางานรวมกันเปนสิ่งสําคัญ ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Katz (1974: 90-102)
ที่กลาววา ทักษะดานมนุษยมีความจําเปนและความสําคัญตอการบริหาร
ที่มีประสิทธิภาพทุกระดับ ทั้งระดับตน ระดับกลาง และระดับสูง ทั้งนี้เพราะผูบริหาร
ทุกระดับจะตองทํางานกับบุคคล และกลุมบุคคลในองคการ ดังนั้น ความเกี่ยวของกับ
การอํานวยความสะดวก การสื่อสารในองคการและมนุษยสัมพันธมีความสําคัญ
ตอการบริหารทุกระดับ ทักษะดานมนุษยนี้จะชวยใหผูบริหารไดรับความรวมมือ
และเกิดการประสานงานที่ดีขึ้นภายในโรงเรียน ซึ่งจะชวยใหการดําเนินงาน
ของโรงเรียนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด
นอกจากนี้ ยังสอดคลองกับงานวิจัยของ ชูศักดิ์ เปาอินทร (2546: 84)
ศึกษาการใชทักษะการบริหารงานของผูบริหารวิทยาลัยการอาชีพ สังกัดเขตการศึกษา
6 ผลการวิจัย พบวา สถานศึกษาที่ผานเกณฑและไมผานเกณฑการประเมิน
ผูบริหารในทุกตําแหนงใชทักษะทางมนุษย อยูในอันดับสูงสุด ใชทักษะทางความคิด
รวบยอด อยูในอันดับต่ําสุด และสอดคลองกับงานวิจัยของ สัมพันธ ทรัพยแตง (2547:
96) ศึกษาทักษะการบริหารของผูบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขต
พื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 2 ผลการวิจัยพบวา ทักษะการบริหารของผูบริหาร
สถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 2 เมื่อพิจารณาเปนราย
ดาน พบวา ทักษะดานมนุษยอยูในระดับมาก แนวทางการพัฒนาทักษะการบริหารของ
ผูบริหาร คือ มีความตองการใหพัฒนาเรื่องการวิจัย การใชคนใหเหมาะกับงาน
การรับฟงและการเปดโอกาสแสดงความคิดเห็น การตัดสินใจ การเปนผูนําในการ
เปลี่ยนแปลงการประสานงาน และผูนําและผูตามเพื่อสรางสรรค
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 118 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- ดานความคิดรวบยอด (Conceptual Skills) พบวา ทักษะการ
บริหารงานดานความคิดรวบยอดของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัด
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ โดยรวมมีทักษะอยูในระดับมาก
เมื่อพิจารณาเปนรายการ พบวา อยูในระดับมากทุกรายการ ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา
ผูบริหารโรงเรียนเอกชนตองเปนผูที่มีความสามารถเขาใจโครงสรางการบริหารโรงเรียน
เปนอยางดี และเห็นความสัมพันธของโรงเรียนที่มีตอหนวยงานหรือองคการอื่นที่
เกี่ยวของเชน ตองสามารถกําหนดแผนงานของโรงเรียนไดสอดคลองกับนโยบายและ
แผนการศึกษาของชาติเปนผูที่มีวิสัยทัศนในการบริหารงาน มีความคิดริเริ่มสรางสรรค
และยอมรับในการเปลี่ยนแปลง เปนตน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Katz (1974: 90-
102) ที่กลาวถึง ทักษะดานความคิดรวบยอดวา “เมื่อผูบริหารกาวไปในระดับที่สูงขึ้น
ทักษะดานนี้จะกลายเปนเครื่องมือที่สําคัญสําหรับการตัดสินใจในเรื่องนโยบาย และ
การปฏิบัติงานในขอบขายกวาง ๆ และเปนทักษะที่สําคัญที่สุดสําหรับผูบริหารระดับสูง
สวนในระดับตนและระดับกลางจะมีความสําคัญนอยลงในการบริหาร” สอดคลองกับ
แนวคิดของ นพพงษ บุญจิตราดุลย (2534: 17) ที่กลาววา ทักษะดานความคิดรวบ
ยอดครูใหญในฐานะผูบริหารสูงสุดในโรงเรียน จะตองมีทักษะนี้มากที่สุด
ผูบริหารระดับสูงขององคการจําเปนตองมีทักษะดานความคิดรวบยอดเพิ่มมากขึ้น
การตัดสินใจเชิงกลยุทธที่ดีจําเปนอยางยิ่งตองอาศัยทักษะดานความคิดรวบยอดเปน
หลัก สุเทพ พงศศรีวัฒน (2548: 130) นอกจากนี้ ยังสอดคลองกับงานวิจัยของ
วินัย ธรรมเกื้อกูล (2546: บทคัดยอ) ศึกษาทักษะการบริหารของผูบริหารที่สงผลตอ
การปฏิบัติงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษา
จังหวัดกาญจนบุรี ผลการวิจัยพบวา ทักษะการบริหารของผูบริหารสงผลตอการ
ปฏิบัติงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งทักษะดานความคิด
รวบยอด สงผลตอการปฏิบัติงานวิชาการใหสอดคลองกับหลักสูตร ธรรมนูญโรงเรียน
และแผนปฏิบัติงาน
2. ผลการเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียน
สารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ จําแนกตามขนาด
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 119 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ของโรงเรียน โดยภาพรวม พบวา ไมมีความแตกตางกัน ซึ่งไมเปนไปตามสมมติฐาน
ที่ตั้งไว ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาในปจจุบันผูบริหารโรงเรียนเอกชน โดยเฉพาะตําแหนง
ผูอํานวยการโรงเรียน ตองเปนผูที่จบการศึกษาทางดานการบริหารการศึกษา โดยตรง
จึงจะสามารถดํารงตําแหนงผูอํานวยการโรงเรียนได ดังนั้นผูบริหารโรงเรียนเอกชน
ไมวาจะเปนโรงเรียนเอกชนขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ หรือขนาดใหญพิเศษ
จึงเปนผูที่มีความรูความสามารถ มีทักษะในการบริหารงานทั้ง 3 ทักษะ คือ ทักษะดาน
เทคนิค (Technical Skills) ทักษะดานมนุษย(Human Skills) และทักษะดานความคิด
รวบยอด (Conceptual Skills) เปนอยางดี รวมทั้งผูบริหารโรงเรียนเอกชน
ยังไดรับการอบรม การฝกทักษะในการบริหารงานดานตาง ๆ อยูเสมอ จึงทําใหโดย
ภาพรวมขนาดของโรงเรียนไมมีผลตอทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือ
โรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ สําหรับ
ผลการเปรียบเทียบทักษะการบริหาร งานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ จําแนกตามขนาดของ
โรงเรียน เมื่อพิจารณาเปนรายดาน มีประเด็นสําคัญที่นํามาอภิปรายในรายละเอียด
ดังนี้
- ดานเทคนิค (Technical Skills) พบวา ทักษะการบริหารงาน
ดานเทคนิคของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
จังหวัดสมุทรปราการ ขนาดเล็กแตกตางกับโรงเรียนขนาดใหญพิเศษอยางมีนัยสําคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาโรงเรียนที่มีขนาดใหญกวา คือ มีจํานวน
นักเรียน มีจํานวนบุคลากรมากกวา มีการใชทรัพยากร วัสดุอุปกรณรวมทั้งงบประมาณ
ในการบริหารมากกวา ทําใหผูบริหารโรงเรียนตองใชความรูความสามารถ
การควบคุมดูแล เทคนิคในการปฏิบัติงานดานตาง ๆ ที่มากกวาตามมาดวย
ยังผลใหผูบริหารโรงเรียนเอกชนขนาดใหญพิเศษจึงมีทักษะการบริหารงานดานเทคนิค
มากกวาผูบริหารโรงเรียนเอกชนขนาดเล็ก สอดคลองกับแนวคิดของ ธงชัย สันติวงษ
(2539: 194) ที่กลาววา “ขนาดขององคการมีสวนสําคัญที่จะทําใหการปฏิบัติงาน
ภายในองคการนั้น ๆ ประสบความสําเร็จไดมากหรือนอย เมื่อองคการมีขนาดใหญขึ้น
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 120 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
กิจกรรมในองคการมีความซับซอนขึ้น จึงทําใหผูบริหารตองใชทักษะในการบริหารงาน
มากขึ้น”
- ดานมนุษย (Human Skills) พบวา ทักษะการบริหารงานดานมนุษย
ของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
จังหวัดสมุทรปราการไมมีความแตกตางกัน แตเมื่อพิจารณาในรายละเอียด
พบวา ผูบริหารโรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนขนาดกลาง มีทักษะการบริหารงานดาน
มนุษยสูงกวาผูบริหารโรงเรียนขนาดใหญและขนาดใหญพิเศษ ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา
โรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนขนาดกลาง มีจํานวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานไมมากนัก
ผูบริหารโรงเรียนสามารถดูแล ใหคําปรึกษา ชวยเหลือในการแกปญหาแกบุคลากร
ไดอยางทั่วถึง ดังนั้นบุคลากรทุกคนจึงมีโอกาสใกลชิดกับผูบริหารไดโดยตรงทําให
เกิดการสรางความเขาใจที่ดีตอกันในโรงเรียน ซึ่งตางกับโรงเรียนขนาดใหญ
และโรงเรียนขนาดใหญพิเศษที่มีบุคลากรในการปฏิบัติงานมาก ตองมีผูที่ทําหนาที่
คอยประสานงานทําใหผูบริหารมีโอกาสใกลชิดกับบุคลากรทุกคนไดไมทั่วถึง
การสรางบรรยากาศที่ดีในการทํางานหรือการสรางความเขาใจที่ดีตอกันจึงมีนอยลง
- ดานความคิดรวบยอด (Conceptual Skills) พบวา ทักษะการ
บริหารงานดานความคิดรวบยอดของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ ไมมีความแตกตางกัน
ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาผูบริหารโรงเรียนเอกชนไมวาจะเปนโรงเรียนเอกชนขนาดใด
ก็ตาม ผูบริหารตองเปนผูทีมีวิสัยทัศนในการทํางาน เขาใจโครงสรางการบริหารงาน
เปนผูนําที่รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม สอดคลองกับแนวคิดของ วินัย
ธรรมเกื้อกูล (2546: 47) ที่กลาววา “ผูบริหารการศึกษาจะตองมีความรูความเขาใจใน
หนาที่ของตนเองเปนอยางดี มีความเขาใจในกระบวนการของงานทุกขั้นตอน รูความ
เกี่ยวพันระหวางหนวยงานของตนกับหนวยงานอื่นมีความคิดริเริ่มพัฒนางานในหนาที่
มีความคิดกวางขวางมองการณไกล”
ในภาพรวมทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ ของโรงเรียนขนาดเล็ก
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 121 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
และขนาดใหญพิเศษ ดานเทคนิคแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .05 นอกนั้นไม
แตกตางกัน
ขอเสนอแนะ
1. ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใช
1.1 ผลการวิจัย พบวา ทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือ
โรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ ที่บริหาร
โรงเรียนขนาดเล็กมีทักษะการบริหารงานดานเทคนิคแตกตางกับผูบริหารที่บริหาร
โรงเรียนขนาดใหญพิเศษอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้น
สํานักบริหารงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน จึงควรดําเนินการจัดอบรม
สัมมนาฝกฝนทักษะการบริหารงานใหแกผูบริหารที่บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก เพื่อให
ผูบริหารมีเทคนิคในการปฏิบัติงานดานตาง ๆ มากยิ่งขึ้น
1.2 พัฒนาทักษะผูบริหารดานการจัดระบบงานธุรการการเงินและพัสดุ
ใหสามารถดําเนินไปตามระเบียบแบบแผนขององคกรอยางมีประสิทธิภาพ
1.3 เปดโอกาสใหทุกคนมีสวนรวมในการทํางานและตัดสินใจรวมกับ
ผูบริหาร
1.4 ผูบริหารสถานศึกษาสามารถบริหารงบประมาณใหสอดคลองกับ
แผนปฏิบัติการได
2. ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป
2.1 ควรมีการศึกษาทักษะการบริหารงานของผูบริหารในโรงเรียนอื่น ๆ
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ สังกัดอื่นนอกเหนือจากสังกัด
สํานักบริหารงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน
2.2 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหาร
ในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ
ตามความคิดเห็นของครูและผูบริหารโรงเรียน เปรียบเทียบกับเขตพื้นที่การศึกษาอื่น
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 122 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
2.3 ควรมีการศึกษาแนวทางการพัฒนาทักษะการบริหารงานของ
ผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
จังหวัดสมุทรปราการ
2.4 ควรมีการศึกษาทักษะการบริหารงานของผูบริหารโรงเรียนเอกชน
ที่สงผลตอการปฏิบัติงานของครูและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในเครือ
สารสาสน
เอกสารอางอิง
ชูศักดิ์ เปาอินทร. (2546). การใชทักษะการบริหารงานของผูบริหารวิทยาลัย
การ อาชีพ สังกัดเขตการศึกษา 6. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
ธงชัย สันติวงษ. (2539). องคการและการบริหาร. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนา
พานิช.
ธานินทร ศิลปจารุ. (2551). การวิจัยและการวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย SPSS.
นนทบุรี: เอส.อาร. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส.
นพพงษ บุญจิตราดุลย. (2534). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร:
บพิธการพิมพ.
มานิตย คณะวาป. (2546). ศึกษาทักษะการบริหารงานของผูบริหารโรงเรียน
มัธยมศึกษาสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาขอนแกนเขต 3. วิทยานิพนธ
ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย
ขอนแกน.
รุจิภาส คําแกว. (2559). ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมคุณธรรมและพฤติกรรม
การบริหารงานของผูบริหารตามความคิดเห็นของครูในโรงเรียน สังกัด
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สมุทรปราการเขต 2.
วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. 10 (1): 89.
วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 123 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
วันระวี รัตนกําเนิด. (2558). การบริหารความขัดแยงตามการปฏิบัติงานของผูบริหาร
สถานศึกษาตําบลปลายบาง นนทบุรี. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
9(2): 9.
วินัย ธรรมเกื้อกูล. (2546). ทักษะการบริหารของผูบริหารที่สงผลตอการปฏิบัติงาน
วิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัด
กาญจนบุรี. วิทยานิพนธ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร
การศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สมภูมิ รวิวรรณ. (2542). การศึกษาการใชทักษะการบริหารงานของผูบริหาร
โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดหนองคาย.
วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยขอนแกน.
สัมพันธ ทรัพยแตง. (2547). ทักษะการบริหารของผูบริหารสถานศึกษาสังกัด
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐมเขต 2. วิทยานิพนธปริญญาศิลป
ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุเทพ พงศศรีวัฒน. (2548). ภาวะผูนําทฤษฎีและปฏิบัติ: ศาสตรและศิลปสูความ
เปนผูนําที่สมบูรณ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: วิรัตนเอ็ดดูเคชั่น.
เสกสรร รัตนจริยากุล. (2547). ระดับทักษะและความตองการการพัฒนาทักษะ
การบริหารของผูบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักบริหารงานการศึกษานอก
โรงเรียน. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร
การศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณในพระบรมราชูปถัมภ.
Katz, Robert L. (1974). Skills of an effective administrator. Harvard
Business Review. 52(5): 90-102.

More Related Content

What's hot

คู่มือปฏิบัติงานนิเทศ กศน.จังหวัดลำพูน2557
คู่มือปฏิบัติงานนิเทศ กศน.จังหวัดลำพูน2557คู่มือปฏิบัติงานนิเทศ กศน.จังหวัดลำพูน2557
คู่มือปฏิบัติงานนิเทศ กศน.จังหวัดลำพูน2557ปราณี อร่ามดิลกรัตน์
 
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กนำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กsosoksg
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนMontira Butyothee
 
Instructional academic leadership of school administrato
Instructional academic leadership of school administratoInstructional academic leadership of school administrato
Instructional academic leadership of school administratosiriphan siriphan
 
แผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ
แผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริแผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ
แผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริPRgroup Tak
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนในพระราชดำริ
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนในพระราชดำริแนวทางการพัฒนาโรงเรียนในพระราชดำริ
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนในพระราชดำริPRgroup Tak
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญkruprang
 

What's hot (17)

แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
 
คู่มือสภา
คู่มือสภาคู่มือสภา
คู่มือสภา
 
คู่มือปฏิบัติงานนิเทศ กศน.จังหวัดลำพูน2557
คู่มือปฏิบัติงานนิเทศ กศน.จังหวัดลำพูน2557คู่มือปฏิบัติงานนิเทศ กศน.จังหวัดลำพูน2557
คู่มือปฏิบัติงานนิเทศ กศน.จังหวัดลำพูน2557
 
Paper tci 1
Paper tci 1Paper tci 1
Paper tci 1
 
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กนำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
T2
T2T2
T2
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
 
T1
T1T1
T1
 
3
33
3
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
Instructional academic leadership of school administrato
Instructional academic leadership of school administratoInstructional academic leadership of school administrato
Instructional academic leadership of school administrato
 
Abc2.pdf
Abc2.pdfAbc2.pdf
Abc2.pdf
 
แผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ
แผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริแผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ
แผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนในพระราชดำริ
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนในพระราชดำริแนวทางการพัฒนาโรงเรียนในพระราชดำริ
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนในพระราชดำริ
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
 
A3
A3A3
A3
 

Similar to Paper tci 2

เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์Krusupharat
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
บทความวิจัย
บทความวิจัยบทความวิจัย
บทความวิจัยampai numpar
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...rungaroonnoumsawat
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
Whiteschool
WhiteschoolWhiteschool
Whiteschoolxxitkgl
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 

Similar to Paper tci 2 (20)

Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
 
Thaijo 1
Thaijo 1Thaijo 1
Thaijo 1
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swotแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
 
จุดเน้น
จุดเน้นจุดเน้น
จุดเน้น
 
Focus7
Focus7Focus7
Focus7
 
Tci 3
Tci 3Tci 3
Tci 3
 
บทความวิจัย
บทความวิจัยบทความวิจัย
บทความวิจัย
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
2
22
2
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอแบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
Whiteschool
WhiteschoolWhiteschool
Whiteschool
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 

Paper tci 2

  • 1. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 107 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปร The Administrative Skills of School Administrators of Sarasas Affiliated Schools under the Office of the Samut Education Area, Samut Prakan Province บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาทักษะการบริหารงานของผูบริหา โรงเรียนสารสาสนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ ตามความคิดเห็นของผูบริหาร และเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหาร ในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ จําแนกตามขนาดของโรงเรียน กลุมตัวอ ในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ จํานวน 196 คนโดยการสุมอยางงาย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสอบถาม ซึ่งมีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.96 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ได คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการเปรียบเทียบโดยการหาคาความแปรปรวน ทางเดียว กรณีมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ จะทดสอบความแตกตางรายคู โดยวิธีของเชฟเฟ ผลการวิจัย พบวา 1) ภาพรวมทักษะการบริหารงานของผูบริหาร ในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามความคิดเห็นของ ผูบริหาร จังหวัดสมุทรปราการ อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ผูบริหารมีทักษะการบริหารงานจากมากไปหานอย คือ ทักษะการบริหารงาน ดานความคิดรวบยอด รองลงมา ทักษะการบริหารงานดานมนุษย และทักษะ 1 นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภั สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ The Administrative Skills of School Administrators of Sarasas Affiliated Schools under the Office of the Samut Prakan Education Area, Samut Prakan Province กิ่งกาญ แกนจันทร1 เพื่อ ศึกษาทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือ โรงเรียนสารสาสนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ และเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหาร ในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ จําแนกตามขนาดของโรงเรียน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ ผูบริหาร ในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ คนโดยการสุมอยางงาย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการเปรียบเทียบโดยการหาคาความแปรปรวน ทางเดียว กรณีมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ จะทดสอบความแตกตางรายคู ภาพรวมทักษะการบริหารงานของผูบริหาร กัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามความคิดเห็นของ ผูบริหาร จังหวัดสมุทรปราการ อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ผูบริหารมีทักษะการบริหารงานจากมากไปหานอย คือ ทักษะการบริหารงาน ดานความคิดรวบยอด รองลงมา ทักษะการบริหารงานดานมนุษย และทักษะ นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
  • 2. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 108 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี การบริหารงานดานเทคนิค 2) การเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหารใน เครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามความคิดเห็นของ ผูบริหาร จังหวัดสมุทรปราการ จําแนกตามขนาดของโรงเรียน พบวา ในภาพรวมไมมี ความแตกตางกัน เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ทักษะการบริหารงานดานเทคนิค ของโรงเรียนขนาดเล็ก และขนาดใหญพิเศษมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนทักษะการบริหารงานดานมนุษยและดานความคิดรวบยอด ไมมีความแตกตางกัน คําสําคัญ การบริหารงาน ผูบริหาร ทักษะการบริหารงาน Abstract The objectives of this research were to: study the administrative skills of school administrators of Sarasas Affiliated Schools in the opinion of the administrators under the Office of Samut Prakan Education Area, Samut Prakan Province, and compare the administrative skills of school administrators of Sarasas Affiliated Schools under the Office Samut Prakan Education Area, Samut Prakan Province classified by school size. The research sample was 196 school administrators selected by simple random sampling method in Sarasas Affiliated Schools under the Office of Samut Prakan Education Area, Samut Prakan Province. The research instrument was a questionnaire with the reliability of .96. The data were analyzed using percentage, mean and standard deviation. The statistics for testing mean difference were one-way analyzed of variance. In case of significant difference, Scheffe method was used to test the pair difference. The research results revealed that: 1) as a whole the administrative skills of school administrators in the opinion of the administrators of Sarasas Affiliated Schools under the Office of Samut
  • 3. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 109 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี Prakan Education Area, Samut Prakan Province were at a high level. When considered by aspects, it was found that the average administrative skills from high to low level were conceptual skills, human relation skills and technical skills, 2) the comparison of administrative skills of school administrators in the opinion of the administrators of Sarasas Affiliated Schools under the Office of Samut Prakan Education Area, Samut Prakan Province classified by school size as a whole was not different. When considered by aspects it was found that the technical skills of small schools and extra large schools were different at .05 level of significance. The human skills and conceptual skills of school administrators were not different. Keyword Administration, Administrators, Administrative Skill บทนํา การศึกษาเปนกระบวนการที่สําคัญในการพัฒนาคน เปนเครื่องมือในการพัฒนา ประเทศ หากประเทศใดประชากรไดรับการศึกษาดี การพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรมจะมีความมั่นคงกาวหนา สามารถรับรูขอมูล ขาวสารของสังคมโลกไดทันเหตุการณ การจัดการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเปนการจัดการศึกษา ในระดับที่สําคัญที่สุดเปนหัวใจสําคัญของการจัดการศึกษาของชาติทั้งนี้ เพราะเปนการศึกษาที่จัดใหประชากรสวนใหญของประเทศ รัฐบาลทุกสมัยไดให ความสําคัญตอการศึกษาในระดับนี้เปนอยางมาก รัฐไดพยายามจัดและสนับสนุน ใหพลเมืองทุกคนไดรับการศึกษาอยางเทาเทียมกันโดยมุงวางรากฐาน เพื่อใหผูเรียนได พัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค ทั้งในดานคุณธรรม จริยธรรม ความรู และความสามารถ
  • 4. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 110 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี หนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของไทยมีหลายหนวยงาน ประกอบดวยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักบริหารงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชนสํานักกรุงเทพมหานคร สํานัก บริหารการศึกษาทองถิ่น หนวยงานดังกลาว มีหนาที่ความรับผิดชอบและขอบขาย งานตางกัน โรงเรียนเอกชนเปนหนวยงานที่จัดการศึกษาโดยเอกชน ภายใตการกํากับ ดูแลโดยสํานักบริหารคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ มีสวนรวมแบงเบาภาระการจัดการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งเปนอีก ทางเลือกหนึ่งของผูปกครองที่จะนําบุตรหลานมาเขารับการศึกษาในโรงเรียนเอกชน ตามสิทธิที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญ โรงเรียนเอกชนจึงจําเปนตองบริหารและ จัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ เปนที่ยอมรับของผูปกครอง องคกรหรือหนวยงานใด ๆ ก็ตามยอมมีเปาหมายสูงสุดที่ทําใหกิจการของ องคกรนั้นดําเนินไปสูความสําเร็จตามวัตถุประสงคที่วางไวและมีความเจริญกาวหนา เปนปกแผนมั่นคง กระบวนการที่ทําใหองคกรหรือหนวยงานเปนไปตามที่คาดหวัง ก็คือการบริหารโดยจะตองมีวิธีการที่เหมาะสม และสอดคลองกับสภาพของสังคม ปญหา โอกาสและทรัพยากรที่มีอยูหรือกลาวอีกนัยหนึ่งวาความสําเร็จหรือความ ลมเหลวขององคกรยอมขึ้นอยูกับคุณภาพและประสิทธิภาพของการบริหารเปนสําคัญ (วิโรจน สารรัตนะ, 2542: 11 อางถึงใน วันระวี รัตนกําเนิด, 2558: 9) ผูบริหาร มีความสําคัญตอการบริหารงานในองคกรเปนอยางมาก ตองสรางศรัทธาการยอมรับ นับถือและเปนตัวอยางที่ดีแกผูใตบังคับบัญชาและคนในสังคม การบริหารงานนอกจาก มีหลักการในการทํางานโดยยึดหลักกฎหมาย ระเบียบคําสั่งตามสภาพและวัฒนธรรม ของสังคมนั้น ๆ และความสําเร็จของ การบริหารงานตองถือวาความรูคูคุณธรรม (ยุพิน อินทนิล, 2549: 2-3 อางถึงใน รุจิภาส คําแกว, 2559: 89) โดยเฉพาะ ในสังคมไทยนั้น ภาพลักษณของผูบริหารจะตองเปยมดวยคุณธรรมหลายประการ จึงจะเอื้ออํานวยตอการบริหารงาน และการบริหารงานที่ประกอบดวยคุณธรรม จะทําใหการดําเนินงานขององคกรไปสูเปาหมายไดดีเสมอ
  • 5. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 111 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี การบริหารงานของหนวยงานระดับตาง ๆ ตามโครงสราง ถือวาโรงเรียน เปนหนวยงานที่สําคัญที่สุด ในการนํานโยบายและหลักสูตรไปปฏิบัติเพื่อใหการศึกษา แกนักเรียน เพื่อใหนักเรียนบรรลุจุดหมาย ที่กําหนดไวในหลักสูตร ซึ่งผลการ จัดการศึกษาจะเปนอยางไรนั้น อยูที่การปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงเรียน และกระบวนการบริหารเปนสําคัญ ซึ่งบุคคลที่จะตองรับภาระหนาที่โดยตรง ในกระบวนการบริหาร จึงเปนผูบริหารโรงเรียนนั่นเอง วัตถุประสงคการวิจัย 1. เพื่อศึกษาทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียน สารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ จําแนกตามขนาด ของโรงเรียน สมมติฐานการวิจัย ทักษะการบริหารงานของผูบริหารโรงเรียนในเครือโรงเรียนสารสาสนตาม คิดเห็นของผูบริหาร สังกัดโรงเรียนขนาดตางกันมีทักษะการบริหารงานแตกตางกัน วิธีดําเนินการวิจัย ประชากร ประชากร ประกอบดวย ผูบริหารโรงเรียน ตําแหนงผูอํานวยการโรงเรียน และรองผูอํานวยการโรงเรียน และหัวหนากลุมสาระการเรียนรูในเครือโรงเรียนสาร สาสน จังหวัดสมุทรปราการ ปการศึกษา 2558 จํานวน 394 คน จากโรงเรียน 30 โรงเรียนจําแนกเปนโรงเรียนขนาดเล็ก 9 โรงเรียน โรงเรียนขนาดกลาง 13 โรงเรียน โรงเรียนขนาดใหญ5โรงเรียน และโรงเรียนขนาดใหญพิเศษ 3 โรงเรียน กลุมตัวอยาง ประกอบดวย ผูบริหารโรงเรียน ตําแหนงผูอํานวยการ โรงเรียนและรองผูอํานวยการโรงเรียน และหัวหนากลุมสาระการเรียนรู ในเครือโรงเรียนสารสาสน จังหวัดสมุทรปราการ ปการศึกษา 2558 จํานวน 196 คน
  • 6. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 112 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี กําหนดขนาดของกลุมตัวอยางใชตารางกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางของเครจซี่ และมอรแกน (Krejcie & Morgan, 1970 อางถึงใน ธานินทร ศิลปจารุ, 2551: 49) การสุมตัวอยางใชวิธีสุมอยางงาย (Simple random sampling method) เครื่องมือ เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถาม จํานวน 1 ฉบับ แบงออกเปน 2 ตอน มีรายละเอียด ดังนี้ ตอนที่ 1 แบบสอบถามสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม เกี่ยวกับ ตําแหนงงาน และขนาดของโรงเรียน ลักษณะแบบสอบถามเปนแบบตรวจสอบรายการ (Check List) จํานวน 2 ขอ ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะดานการบริหารงานของผูบริหาร ทั้ง 3 ทักษะ คือ ทักษะดานเทคนิค (Technical Skills) ทักษะดานมนุษย (Human Skills) และทักษะดานความคิดรวบยอด (Conceptual Skills) โดยแบงเปนดานละ 10 ขอ รวมทั้งหมดจํานวน 30 ขอ ใชแบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา ของลิเคอรท (Rating Scale) แบงเปน 5 ระดับ ดังนี้ 5 หมายถึง มีทักษะการบริหาร ระดับมากที่สุด 4 หมายถึง มีทักษะการบริหาร ระดับมาก 3 หมายถึง มีทักษะการบริหาร ระดับปานกลาง 2 หมายถึง มีทักษะการบริหาร ระดับนอย 1 หมายถึง มีทักษะการบริหาร ระดับนอยที่สุด การเก็บรวบรวมขอมูล ผูศึกษาเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางแบงเปน 2 ทาง ทางที่หนึ่งผูศึกษานําแบบสอบถามไปสงใหกับกลุมตัวอยางและรับแบบสอบถาม กลับคืนดวยตนเองและทางที่สอง ผูศึกษาเก็บรวบรวมขอมูล โดยสงทางไปรษณียแลว ใหผูตอบแบบสอบถามสงกลับคืนมายังผูวิจัย โดยดําเนินการระหวางวันที่ 10-30
  • 7. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 113 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ไดรับแบบสอบถามกลับคืน จํานวน 196 ฉบับคิดเปน รอยละ 100 การวิเคราะหขอมูล 1. การวิเคราะหขอมูลสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม เกี่ยวกับตําแหนง งาน และขนาดของโรงเรียน โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution) และหาคารอยละ (Percentage) 2. การวิเคราะหขอมูลทักษะการบริหารงานทั้ง 3 ดาน คือ ทักษะ ดานเทคนิค (Technical Skills) ทักษะดานมนุษย (Human Skills) และทักษะ ดานความคิดรวบยอด (Conceptual Skills) โดยการหาคาเฉลี่ย (X ) และคาสวน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 3. การเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียน สารสาสน จังหวัดสมุทรปราการ ทั้ง 3 ทักษะ จําแนกตามขนาดของโรงเรียน เปน โรงเรียนขนาดเล็กโรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญและโรงเรียนขนาดใหญ พิเศษ ใชการวิเคราะหโดยการหาคาความแปรปรวนทางเดียว (One – way Analysis of Variance: F - test) และทําการทดสอบรายคู โดยวิธีของเชฟเฟ (Scheffe test) ในกรณีมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ สรุปและอภิปรายผล สรุป 1. ทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา มีทักษะการบริหารงานอยูในระดับมากทุกดาน เรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ดังนี้ คือ ทักษะดานความคิดรวบยอด ทักษะดานมนุษย และทักษะดานเทคนิค 2. การเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียน สารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ จําแนกตามขนาด ของโรงเรียน เปนโรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ
  • 8. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 114 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี และโรงเรียนขนาดใหญพิเศษ โดยภาพรวม พบวา ไมมีความแตกตางกันไมเปนไป ตามสมมติฐานที่ตั้งไว เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ทักษะการบริหารงานดานเทคนิคมีความ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยผูบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก มีทักษะการบริหารงานดานเทคนิคแตกตางกับผูบริหารโรงเรียนขนาดใหญพิเศษอยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และไมมีความแตกตางกับผูบริหารโรงเรียนขนาด กลางและผูบริหารโรงเรียนขนาดใหญ สวนผูบริหารโรงเรียนขนาดกลางมีทักษะ การบริหารงานดานเทคนิคไมแตกตางกับผูบริหารโรงเรียนขนาดใหญและผูบริหาร โรงเรียนขนาดใหญพิเศษ และผูบริหารโรงเรียนขนาดใหญมีทักษะการบริหารงาน ดานเทคนิคไมแตกตางกับผูบริหารโรงเรียนขนาดใหญพิเศษ อภิปรายผล 1. ทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา มีทักษะการบริหารงานอยูในระดับมาก ทุกดาน ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาการจัดการระบบบริหารของหนวยงานมีการทํางาน รวมกันเปนทีมบุคลากรทุกคนมีสวนรวมแบงเบาภาระขององคกรในการจัดการศึกษา เพื่อใหการจัดการศึกษาของโรงเรียนดําเนินงานอยางมีคุณภาพ เนนประสิทธิภาพ ในการทํางาน เพื่อใหเกิดความนาเชื่อถือ เปนที่ไววางใจแกผูปกครอง ใหนักเรียนเปนผู ที่เกง ดี มีสุข ตามวัตถุประสงคของแผนการศึกษาของชาติ ผูบริหารโรงเรียนเอกชน จึงตองเปนผูที่มีความรูความสามารถในการบริหารจัดการ โดยเฉพาะจะตองเปน ผูบริหารที่มีประสิทธิภาพ มีทักษะในการบริหารทั้ง 3 ทักษะ คือทักษะดานเทคนิค (Technical Skills) ทักษะดานมนุษย (Human Skills) และทักษะดานความคิดรวบ ยอด (Conceptual Skills) ซึ่งสอดคลองกับ แคทซ (Katz, 1974: 60-85) ที่เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับทักษะที่สําคัญสําหรับผูบริหารที่มีประสิทธิภาพไว 3 ประการ เรียกวา "สามทักษะ" (Three Skill Method) วิเคราะหความรูความสามารถ ของผูบริหาร พบวาผูบริหาร ที่จะทําหนาที่ของตนไดดีเพียงใด ประสบความสําเร็จ
  • 9. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 115 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี มากนอยกวากันหรือไม ขึ้นอยูกับทักษะ 3 ทักษะ คือ ทักษะดานเทคนิค (Technical Skills) ทักษะดานมนุษย (Human Skills) และทักษะดานความคิดรวบยอด (Conceptual Skills) ผลการวิเคราะหทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียน สารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อพิจารณา เปนรายดาน พบวา มีทักษะการบริหารงานอยูในระดับมากทุกดาน ซึ่งเรียงลําดับ คาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ดังนี้ คือ ทักษะดานความคิดรวบยอด ทักษะดานมนุษย และทักษะดานเทคนิคตามลําดับ ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ สมภูมิ รวิวรรณ (2542: 3) ศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาการใชทักษะการบริหารงานของผูบริหารโรงเรียน ประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดหนองคาย ผลการวิจัยพบวา ผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จัดหวัดหนองคาย ใชทักษะการบริหารอยูในระดับมาก เรียงลําดับ ดังนี้ ทักษะทางดานความคิดรวบยอด ทักษะทางดานมนุษย และทักษะทางดานเทคนิควิธี สอดคลองกับงานวิจัยของ มานิตย คณะวาป (2546: 61) ศึกษาทักษะการบริหารงานของผูบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาขอนแกน เขต 3 ผลการวิจัยพบวา 1) ทักษะการบริหารงาน ของผูบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามความคิดเห็นของผูบริหาร และครูผูสอน อยูในระดับ “มาก” เรียงลําดับจากมาก คือ ทักษะเชิงความคิดรวบยอด ทักษะเชิง มนุษยสัมพันธ และทักษะเชิงเทคนิค นอกจากนี้ ยังสอดคลองกับงานวิจัยของ เสกสรร รัตนจริยากุล (2547: บทคัดยอ) ศึกษาระดับทักษะและความตองการการพัฒนาทักษะ การบริหารของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน ผลการวิจัยพบวา 1) ผูบริหารสถานศึกษา มีระดับทักษะ การบริหารโดยรวมอยูใน ระดับมาก ไดแก ทักษะทางดานความคิดรวบยอด ทักษะทางดานมนุษย และทักษะทางดานเทคนิค ตามลําดับ และมีความตองการพัฒนาโดยรวมอยูในระดับ มาก
  • 10. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 116 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สําหรับทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อพิจารณาเปนรายดาน มีประเด็นสําคัญที่นํามาอภิปรายในรายละเอียด ดังนี้ ดานเทคนิค (Technical Skills) ผลการวิจัย พบวา ทักษะการบริหารงาน ดานเทคนิคของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ โดยรวมมีทักษะอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายการ พบวา อยูในระดับมากทุกรายการ ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา ในปจจุบันผูบริหารโรงเรียน อกชนสวนใหญไดรับการฝกอบรมในดานเทคนิคตาง ๆ เพิ่มเติมเชน เทคนิคการบริหาร องคการ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการประเมินการปฏิบัติงาน การประชาสัมพันธโรงเรียน เปนตน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Katz (1974: 90- 102) ที่กลาววา “ทักษะดานเทคนิค มีความสําคัญตอความกาวหนาอยางมาก ในการบริหารงานในองคการ และจําเปนอยางแทจริงในการบริหารงานที่มี ประสิทธิภาพของผูบริหารระดับตน” สอดคลองกับแนวคิดของ สุเทพ พงศศรีวัฒน (2548: 125)ที่กลาววา “ทักษะดานเทคนิค ประกอบดวยความรูที่เกี่ยวกับวิธีการ กระบวนการขั้นตอนและเทคนิควิธี ในการปฏิบัติกิจกรรมเฉพาะทางของผูบริหาร ประจําหนวยงานในองคการ” นอกจากนี้ ยังสอดคลองกับงานวิจัยของ วินัย ธรรมเกื้อกูล (2546: 52) ศึกษาทักษะการบริหารของผูบริหารที่สงผลตอการปฏิบัติงานวิชาการในโรงเรียน ประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี ผลการวิจัยพบวา ทักษะการบริหารของผูบริหารสงผลตอการปฏิบัติงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา ทั้งในภาพรวมและรายดาน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยเฉพาะอยางยิ่ง ทักษะดานเทคนิค สงผลตอการปฏิบัติงานวิชาการใหสอดคลองกับหลักสูตร ธรรมนูญ โรงเรียนและแผนปฏิบัติงาน ผูบริหารการศึกษาจะตองมีความสามารถปฏิบัติงาน ดานกิจกรรมเฉพาะอยางไดดี ซึ่งกิจกรรมเหลานั้น จะเกี่ยวกับวิธีการ กระบวนการ และเทคนิค การวิเคราะหและการรูจักใชเครื่องมือในการปฏิบัติงาน (วินัย ธรรมเกื้อกูล , 2546: 46)
  • 11. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 117 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี - ดานมนุษย (Human Skills) ผลการวิจัยพบวา ทักษะการบริหารงาน ดานมนุษย ของผูบริหารโรงเรียนในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้น ที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ โดยรวมมีทักษะอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณา เปนรายการ พบวา อยูในระดับมากทุกรายการ ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาผูบริหารโรงเรียน เอกชนตองทํางานสัมพันธกับกลุมคนหลาย ๆ ประเภท หลาย ๆ คนผูบริหาร จําเปนตองมีมนุษยสัมพันธที่ดี ความสําเร็จของงานสวนใหญจึงขึ้นอยูกับความสามารถ ในการทํางานรวมกันเปนสิ่งสําคัญ ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Katz (1974: 90-102) ที่กลาววา ทักษะดานมนุษยมีความจําเปนและความสําคัญตอการบริหาร ที่มีประสิทธิภาพทุกระดับ ทั้งระดับตน ระดับกลาง และระดับสูง ทั้งนี้เพราะผูบริหาร ทุกระดับจะตองทํางานกับบุคคล และกลุมบุคคลในองคการ ดังนั้น ความเกี่ยวของกับ การอํานวยความสะดวก การสื่อสารในองคการและมนุษยสัมพันธมีความสําคัญ ตอการบริหารทุกระดับ ทักษะดานมนุษยนี้จะชวยใหผูบริหารไดรับความรวมมือ และเกิดการประสานงานที่ดีขึ้นภายในโรงเรียน ซึ่งจะชวยใหการดําเนินงาน ของโรงเรียนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้ ยังสอดคลองกับงานวิจัยของ ชูศักดิ์ เปาอินทร (2546: 84) ศึกษาการใชทักษะการบริหารงานของผูบริหารวิทยาลัยการอาชีพ สังกัดเขตการศึกษา 6 ผลการวิจัย พบวา สถานศึกษาที่ผานเกณฑและไมผานเกณฑการประเมิน ผูบริหารในทุกตําแหนงใชทักษะทางมนุษย อยูในอันดับสูงสุด ใชทักษะทางความคิด รวบยอด อยูในอันดับต่ําสุด และสอดคลองกับงานวิจัยของ สัมพันธ ทรัพยแตง (2547: 96) ศึกษาทักษะการบริหารของผูบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขต พื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 2 ผลการวิจัยพบวา ทักษะการบริหารของผูบริหาร สถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 2 เมื่อพิจารณาเปนราย ดาน พบวา ทักษะดานมนุษยอยูในระดับมาก แนวทางการพัฒนาทักษะการบริหารของ ผูบริหาร คือ มีความตองการใหพัฒนาเรื่องการวิจัย การใชคนใหเหมาะกับงาน การรับฟงและการเปดโอกาสแสดงความคิดเห็น การตัดสินใจ การเปนผูนําในการ เปลี่ยนแปลงการประสานงาน และผูนําและผูตามเพื่อสรางสรรค
  • 12. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 118 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี - ดานความคิดรวบยอด (Conceptual Skills) พบวา ทักษะการ บริหารงานดานความคิดรวบยอดของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ โดยรวมมีทักษะอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายการ พบวา อยูในระดับมากทุกรายการ ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา ผูบริหารโรงเรียนเอกชนตองเปนผูที่มีความสามารถเขาใจโครงสรางการบริหารโรงเรียน เปนอยางดี และเห็นความสัมพันธของโรงเรียนที่มีตอหนวยงานหรือองคการอื่นที่ เกี่ยวของเชน ตองสามารถกําหนดแผนงานของโรงเรียนไดสอดคลองกับนโยบายและ แผนการศึกษาของชาติเปนผูที่มีวิสัยทัศนในการบริหารงาน มีความคิดริเริ่มสรางสรรค และยอมรับในการเปลี่ยนแปลง เปนตน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Katz (1974: 90- 102) ที่กลาวถึง ทักษะดานความคิดรวบยอดวา “เมื่อผูบริหารกาวไปในระดับที่สูงขึ้น ทักษะดานนี้จะกลายเปนเครื่องมือที่สําคัญสําหรับการตัดสินใจในเรื่องนโยบาย และ การปฏิบัติงานในขอบขายกวาง ๆ และเปนทักษะที่สําคัญที่สุดสําหรับผูบริหารระดับสูง สวนในระดับตนและระดับกลางจะมีความสําคัญนอยลงในการบริหาร” สอดคลองกับ แนวคิดของ นพพงษ บุญจิตราดุลย (2534: 17) ที่กลาววา ทักษะดานความคิดรวบ ยอดครูใหญในฐานะผูบริหารสูงสุดในโรงเรียน จะตองมีทักษะนี้มากที่สุด ผูบริหารระดับสูงขององคการจําเปนตองมีทักษะดานความคิดรวบยอดเพิ่มมากขึ้น การตัดสินใจเชิงกลยุทธที่ดีจําเปนอยางยิ่งตองอาศัยทักษะดานความคิดรวบยอดเปน หลัก สุเทพ พงศศรีวัฒน (2548: 130) นอกจากนี้ ยังสอดคลองกับงานวิจัยของ วินัย ธรรมเกื้อกูล (2546: บทคัดยอ) ศึกษาทักษะการบริหารของผูบริหารที่สงผลตอ การปฏิบัติงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี ผลการวิจัยพบวา ทักษะการบริหารของผูบริหารสงผลตอการ ปฏิบัติงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งทักษะดานความคิด รวบยอด สงผลตอการปฏิบัติงานวิชาการใหสอดคลองกับหลักสูตร ธรรมนูญโรงเรียน และแผนปฏิบัติงาน 2. ผลการเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียน สารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ จําแนกตามขนาด
  • 13. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 119 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ของโรงเรียน โดยภาพรวม พบวา ไมมีความแตกตางกัน ซึ่งไมเปนไปตามสมมติฐาน ที่ตั้งไว ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาในปจจุบันผูบริหารโรงเรียนเอกชน โดยเฉพาะตําแหนง ผูอํานวยการโรงเรียน ตองเปนผูที่จบการศึกษาทางดานการบริหารการศึกษา โดยตรง จึงจะสามารถดํารงตําแหนงผูอํานวยการโรงเรียนได ดังนั้นผูบริหารโรงเรียนเอกชน ไมวาจะเปนโรงเรียนเอกชนขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ หรือขนาดใหญพิเศษ จึงเปนผูที่มีความรูความสามารถ มีทักษะในการบริหารงานทั้ง 3 ทักษะ คือ ทักษะดาน เทคนิค (Technical Skills) ทักษะดานมนุษย(Human Skills) และทักษะดานความคิด รวบยอด (Conceptual Skills) เปนอยางดี รวมทั้งผูบริหารโรงเรียนเอกชน ยังไดรับการอบรม การฝกทักษะในการบริหารงานดานตาง ๆ อยูเสมอ จึงทําใหโดย ภาพรวมขนาดของโรงเรียนไมมีผลตอทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือ โรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ สําหรับ ผลการเปรียบเทียบทักษะการบริหาร งานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ จําแนกตามขนาดของ โรงเรียน เมื่อพิจารณาเปนรายดาน มีประเด็นสําคัญที่นํามาอภิปรายในรายละเอียด ดังนี้ - ดานเทคนิค (Technical Skills) พบวา ทักษะการบริหารงาน ดานเทคนิคของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ ขนาดเล็กแตกตางกับโรงเรียนขนาดใหญพิเศษอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาโรงเรียนที่มีขนาดใหญกวา คือ มีจํานวน นักเรียน มีจํานวนบุคลากรมากกวา มีการใชทรัพยากร วัสดุอุปกรณรวมทั้งงบประมาณ ในการบริหารมากกวา ทําใหผูบริหารโรงเรียนตองใชความรูความสามารถ การควบคุมดูแล เทคนิคในการปฏิบัติงานดานตาง ๆ ที่มากกวาตามมาดวย ยังผลใหผูบริหารโรงเรียนเอกชนขนาดใหญพิเศษจึงมีทักษะการบริหารงานดานเทคนิค มากกวาผูบริหารโรงเรียนเอกชนขนาดเล็ก สอดคลองกับแนวคิดของ ธงชัย สันติวงษ (2539: 194) ที่กลาววา “ขนาดขององคการมีสวนสําคัญที่จะทําใหการปฏิบัติงาน ภายในองคการนั้น ๆ ประสบความสําเร็จไดมากหรือนอย เมื่อองคการมีขนาดใหญขึ้น
  • 14. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 120 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี กิจกรรมในองคการมีความซับซอนขึ้น จึงทําใหผูบริหารตองใชทักษะในการบริหารงาน มากขึ้น” - ดานมนุษย (Human Skills) พบวา ทักษะการบริหารงานดานมนุษย ของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการไมมีความแตกตางกัน แตเมื่อพิจารณาในรายละเอียด พบวา ผูบริหารโรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนขนาดกลาง มีทักษะการบริหารงานดาน มนุษยสูงกวาผูบริหารโรงเรียนขนาดใหญและขนาดใหญพิเศษ ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา โรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนขนาดกลาง มีจํานวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานไมมากนัก ผูบริหารโรงเรียนสามารถดูแล ใหคําปรึกษา ชวยเหลือในการแกปญหาแกบุคลากร ไดอยางทั่วถึง ดังนั้นบุคลากรทุกคนจึงมีโอกาสใกลชิดกับผูบริหารไดโดยตรงทําให เกิดการสรางความเขาใจที่ดีตอกันในโรงเรียน ซึ่งตางกับโรงเรียนขนาดใหญ และโรงเรียนขนาดใหญพิเศษที่มีบุคลากรในการปฏิบัติงานมาก ตองมีผูที่ทําหนาที่ คอยประสานงานทําใหผูบริหารมีโอกาสใกลชิดกับบุคลากรทุกคนไดไมทั่วถึง การสรางบรรยากาศที่ดีในการทํางานหรือการสรางความเขาใจที่ดีตอกันจึงมีนอยลง - ดานความคิดรวบยอด (Conceptual Skills) พบวา ทักษะการ บริหารงานดานความคิดรวบยอดของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ ไมมีความแตกตางกัน ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาผูบริหารโรงเรียนเอกชนไมวาจะเปนโรงเรียนเอกชนขนาดใด ก็ตาม ผูบริหารตองเปนผูทีมีวิสัยทัศนในการทํางาน เขาใจโครงสรางการบริหารงาน เปนผูนําที่รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม สอดคลองกับแนวคิดของ วินัย ธรรมเกื้อกูล (2546: 47) ที่กลาววา “ผูบริหารการศึกษาจะตองมีความรูความเขาใจใน หนาที่ของตนเองเปนอยางดี มีความเขาใจในกระบวนการของงานทุกขั้นตอน รูความ เกี่ยวพันระหวางหนวยงานของตนกับหนวยงานอื่นมีความคิดริเริ่มพัฒนางานในหนาที่ มีความคิดกวางขวางมองการณไกล” ในภาพรวมทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ ของโรงเรียนขนาดเล็ก
  • 15. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 121 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี และขนาดใหญพิเศษ ดานเทคนิคแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .05 นอกนั้นไม แตกตางกัน ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใช 1.1 ผลการวิจัย พบวา ทักษะการบริหารงานของผูบริหารในเครือ โรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ ที่บริหาร โรงเรียนขนาดเล็กมีทักษะการบริหารงานดานเทคนิคแตกตางกับผูบริหารที่บริหาร โรงเรียนขนาดใหญพิเศษอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้น สํานักบริหารงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน จึงควรดําเนินการจัดอบรม สัมมนาฝกฝนทักษะการบริหารงานใหแกผูบริหารที่บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก เพื่อให ผูบริหารมีเทคนิคในการปฏิบัติงานดานตาง ๆ มากยิ่งขึ้น 1.2 พัฒนาทักษะผูบริหารดานการจัดระบบงานธุรการการเงินและพัสดุ ใหสามารถดําเนินไปตามระเบียบแบบแผนขององคกรอยางมีประสิทธิภาพ 1.3 เปดโอกาสใหทุกคนมีสวนรวมในการทํางานและตัดสินใจรวมกับ ผูบริหาร 1.4 ผูบริหารสถานศึกษาสามารถบริหารงบประมาณใหสอดคลองกับ แผนปฏิบัติการได 2. ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรมีการศึกษาทักษะการบริหารงานของผูบริหารในโรงเรียนอื่น ๆ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ สังกัดอื่นนอกเหนือจากสังกัด สํานักบริหารงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน 2.2 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบทักษะการบริหารงานของผูบริหาร ในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ ตามความคิดเห็นของครูและผูบริหารโรงเรียน เปรียบเทียบกับเขตพื้นที่การศึกษาอื่น
  • 16. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 122 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี 2.3 ควรมีการศึกษาแนวทางการพัฒนาทักษะการบริหารงานของ ผูบริหารในเครือโรงเรียนสารสาสน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ 2.4 ควรมีการศึกษาทักษะการบริหารงานของผูบริหารโรงเรียนเอกชน ที่สงผลตอการปฏิบัติงานของครูและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในเครือ สารสาสน เอกสารอางอิง ชูศักดิ์ เปาอินทร. (2546). การใชทักษะการบริหารงานของผูบริหารวิทยาลัย การ อาชีพ สังกัดเขตการศึกษา 6. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ธงชัย สันติวงษ. (2539). องคการและการบริหาร. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนา พานิช. ธานินทร ศิลปจารุ. (2551). การวิจัยและการวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย SPSS. นนทบุรี: เอส.อาร. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส. นพพงษ บุญจิตราดุลย. (2534). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บพิธการพิมพ. มานิตย คณะวาป. (2546). ศึกษาทักษะการบริหารงานของผูบริหารโรงเรียน มัธยมศึกษาสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาขอนแกนเขต 3. วิทยานิพนธ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย ขอนแกน. รุจิภาส คําแกว. (2559). ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมคุณธรรมและพฤติกรรม การบริหารงานของผูบริหารตามความคิดเห็นของครูในโรงเรียน สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สมุทรปราการเขต 2. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. 10 (1): 89.
  • 17. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใชสังคม 123 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี วันระวี รัตนกําเนิด. (2558). การบริหารความขัดแยงตามการปฏิบัติงานของผูบริหาร สถานศึกษาตําบลปลายบาง นนทบุรี. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. 9(2): 9. วินัย ธรรมเกื้อกูล. (2546). ทักษะการบริหารของผูบริหารที่สงผลตอการปฏิบัติงาน วิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัด กาญจนบุรี. วิทยานิพนธ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. สมภูมิ รวิวรรณ. (2542). การศึกษาการใชทักษะการบริหารงานของผูบริหาร โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน. สัมพันธ ทรัพยแตง. (2547). ทักษะการบริหารของผูบริหารสถานศึกษาสังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐมเขต 2. วิทยานิพนธปริญญาศิลป ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. สุเทพ พงศศรีวัฒน. (2548). ภาวะผูนําทฤษฎีและปฏิบัติ: ศาสตรและศิลปสูความ เปนผูนําที่สมบูรณ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: วิรัตนเอ็ดดูเคชั่น. เสกสรร รัตนจริยากุล. (2547). ระดับทักษะและความตองการการพัฒนาทักษะ การบริหารของผูบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักบริหารงานการศึกษานอก โรงเรียน. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณในพระบรมราชูปถัมภ. Katz, Robert L. (1974). Skills of an effective administrator. Harvard Business Review. 52(5): 90-102.