SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
บทที่ 1 
บทนำ 
ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ 
การศึกษาเป็นกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนามนุษย์ให้เกิดความเจริญงอกงาม 
ใหเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งกายและใจ สติปัญญา 
ความรู้และคุณธรรมมีจริยธรรมและวฒันธรรมในการดา รงชีวิตได้อยา่งมีความสุข ในโลกที่มีการ 
ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้าน วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงด้านตา่งๆ 
อยา่งรวดเร็วและส่งผลกระทบให้วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงอยา่งรวดเร็ว 
และมีการดิ้นรนแขง่ขันมากตลอดเวลาประชาชนจะต้องได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเพียงพอจึงจะสามารถปรั 
บตัวเข้ากบัสังคมนั้นได้อยา่งสมดุล 
ที่ผา่นมาการศึกษาของประเทศประสบกบัวิกฤตในหลายด้านไมว่า่จะเป็นเรื่องผลกระทบทางการเมืองกบักา 
รบริหารขาดแคลนบุคลากรทางการศึกษา คุณภาพของการศึกษา 
สอดคล้องกบัการศึกษากับความต้องการของท้องถิ่นความเทา่เทียมและโอกาสทางการศึกษาการกระจายอา 
นาจทางการศึกษาจากปัญหาและความต้องการที่กลา่วมานั้น 
จึงจา เป็นต้องปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในด้านตา่งๆ 
สร้างเสริมความรู้และปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้อง เพื่อพัฒนาศักยภาพของคนไทย 
โดยปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ 
ให้สอดคล้องกบับริบททางสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและเพิ่มโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการ 
ศึกษามากยิ่งขึ้น 
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น (2552, หน้า 27) 
ได้สรุปกรอบแนวทางการพัฒนาการศึกษาในชว่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 
2550 - 2554) ที่สอดคล้องกบัแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2559) คือ 
พัฒนาการศึกษาให้คนไทยอยา่งทั่วถึงมีคุณภาพ มีความสมบูรณ์ทั้งด้านสุขภาพ ร่างกาย จิตใจ มีคุณธรรม 
จริยธรรม มี สมานฉันท์ ดา รงชีวิตอยา่งสันติวิถี มีวิถีประชาธิปไตย
มีความภูมิใจในความเป็นมนุษย์และความเป็นไทยบนพื้นฐานปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 
และเป็นพลโลกที่มีคุณภาพ มีความรักในสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ 
มีความรู้ความสามารถด้านภาษา ทั้งภาษาไทย ภาษาสากลและภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยี 
มีทักษะการคิด วิเคราะห์ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และกลุม่จนติดตัวตลอดชีวิต มีจิตสาธารณะ 
รักการทา งาน มีความอยูดี่มีสุข สามารถพึ่งพาตนเองมีทักษะการประกอบอาชีพ รู้จักรักษา 
และพัฒนาสินทรัพย์ทางปัญญา มีศักยภาพทางด้านการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ 
โดยคา นึงถึงการดูและรักษาวฒันธรรม ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 
มีความสามารถในการแขง่ขันในสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ ได้ยั้งยื่น 
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทในการจัดการศึกษาอบรมและฝึกวิชาชีพตามความเหมาะสม 
ปละความต้องการภายในท้องถิ่นมีวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาปฐมวยักา หนดให้เด็กปฐมวัยได้รับ 
การส่งเสริมพัฒนาการและเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา 
และลักษณะนิสัยให้เป็นไปอยา่งถูกต้องตามหลักวิชาการอยา่งเต็มศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม 
ระเบียบวินัย และมีความพร้อมที่จะเข้ารับการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ภายใต้แนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวยั ที่วา่ จุดเริ่มต้นเป็นจุดสาคัญของงานทุกชนิด ในงานแห่งชีวิต 
จุดเริ่มต้นคือ การเริ่มชีวิต ปฐมวยั 
ซึ่งเป็นที่ยอมรับกนัโดยทั่วไปในหมูนั่กจิตวิทยาในหมูนั่กการศึกษาวา่เด็กตั้งแตแ่รกเกิดถึงอายุ 5 ขวบ 
เป็นชว่งหนึ่งของชีวิตที่สมองที่การเจริญเติบโตกวา่ทุกๆ ชว่งอายุ 
และเป็นชว่งเวลาที่เหมาะสมที่สุดสาหรับการปูพื้นฐานทักษะตา่งๆ ให้แกเ่ด็ก 
เพื่อมีความพร้อมในการพัฒนาในระดับตอ่ไป 
จากแนวคิดในการจัดการศึกษาปฐมวยั ผู้รับผิดชอบ 
ต้องศึกษาหลักการของหลักสูตรให้เข้าใจและสามารถนามาสู่การปฏิบัติได้จริง 
เนื่องการจัดประสบการณ์เรียนรู้ให้เด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ขวบ 
จะต้องยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูควบคู่กับการให้การศึกษา ซึ่งสอดคล้องกบัหลักการจัด 
การศึกษาปฐมวยัของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานระหวา่งกระทรวงศึกษาธิการ (2546, 
หน้า 7) คือการจัดการเรียนรู้ต้องคา นึงถึง ความสนใจและความต้องการของเด็กทุกคน ทั้งเด็กปกติ 
และเด็กที่มีความสามารถพิเศษและเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา 
รวมทั้งการสื่อสาร และการเรียนรู้หรือเด็กที่มีร่างกายพิการหรือทุพพลภาพ
หรือบุคคลที่ไมส่ามารถพึ่งพาตัวเองได้หรือไมมี่ผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส เพื่อให้เด็กพัฒนาทุกด้านทั้งร่างกาย 
อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญา อยา่งสมดุล 
โดยจัดกิจกรรมที่หลากหลายบูรณาการผา่นการเลน่และกิจกรรมที่เป็นประสบการณ์ตรง 
ผา่นประสาทสัมผัสทั้งห้า 
เหมาะกบัวยัและความแตกตา่งระหวา่งบุคคลด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหวา่งเด็กกบัพ่อแม่ 
เด็กกบัผู้เลี้ยงดูหรือบุคคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาเด็กปฐมวยั 
เพื่อให้เด็กแตล่ะคนได้มีโอกาสในการพัฒนาตนเองตามลา ดับขั้นของ 
พัฒนาการสูงสุดตามศักยภาพและนาไปใช้ในชีวิตประจา วนัได้อยา่งมีความสุข เป็นคนดี 
และคนเกง่ของสังคมสอดคล้องกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ขนบธรรมเนียมเนียมประเพณี 
วฒันธรรมความเชื่อทางศาสนา สภาพทางเศรษฐกิจสังคมโดยความร่วมมือจากบุคคล ครอบครัว ชุมชน 
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การเอกชน ฯลฯ 
จากวิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาที่ผา่นมาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
โดยสานักงานประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น (2552. หน้า 2) พบวา่ 
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีจุดแข็ง ด้านทรัพยากรการจัดการศึกษา กลา่วคือ 
มีรายได้และทรัพยากรทางการบริหารคอ่นข้างเพียงพอตอ่การจัดการศึกษา และมีความเป็นอิสระ 
คลอ่งตัวในการบริหารจัดการมีจุดออ่นด้านบุคลากร กลา่วคือ 
องค์กรป้องครองส่วนทองถิ่นส่วนใหญยั่งขาดบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการศึกษาและอา นาจการตัดสิ 
นใจส่วนใหญอ่ยูที่่ผู้บริหารท้องถิ่นซึ่งอาจทา ให้เกิด 
เผด็จการได้ง่ายสาหรับอากาสในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก็คือ 
นโยบายกระจายอา นาจให้แกอ่งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอา นาจในการจัดการศึกษาและได้รับจัดสรรงบป 
ระมาณและทรัพยากรทางการบริหารการศึกษาเพิ่มขึ้นแต่อยา่งไรก็ตาม 
อุปสรรคในการศึกษาที่สาคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็คือประชาชนยังขาดความรู้ 
ความเข้าใจในเรื่องของบทบาทหน้าที่ของตนเองตอ่การจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถอน่ไมส่า 
มารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อยา่งแท้จริง 
การจัดการศึกษาในระดับปฐมวยัขององค์การบริหารส่วนตา บลหนองมะคา่ 
มีศูนย์พัฒนาเด็กในสังกดั จา นวน 4 ศูนย์ รับผิดชอบการจัดการศึกษาปฐมวัย
สาหรับกลุม่เป้าหมายในพื้นที่ตา บลป่าสังข์ 
ซึ่งการดา เดินงานที่ผา่นมาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ 
ยังประสบปัญหาในด้านอาคารสถานที่ ข้อจา กดัด้านงบประมาณ 
ข้อจา กดัด้านพื้นที่ประสิทธิภาพของผู้ชว่ยครูผู้ดูแลเด็กอนุบาลและปฐมวยั 
ผู้ปกครองไมใ่ห้ความร่วมมือและเห็นความสาคัญของบทบาทหน้าที่ของตนเองตอ่การจัดการศึกษา 
ปัญหาเด็กขาดเรียนบอ่ยการเรียนการสอนจึงขาดความต่อเนื่อง 
ซึ่งทุกปัญหาลว่นส่งผลตอ่การพัฒนาของในพื้นที่ ยิ่งไปกวา่นั้น 
เด็กเหลา่นี้อยูใ่นชว่งหนึ่งของชีวิตที่สมองมีการเจริญเติบโตมากกวา่ทุกๆ ชว่งอายุ 
และเป็นชว่งเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการปูพื้นฐานทักษะตา่งๆ 
ให้แกเ่ด็กเพื่อมีความพร้อมในการพัฒนาในระดับต่อไป 
จากข้อจา กดัและสภาพปัญหาหลายด้าน 
การจัดกิจกรรมให้ตรงกบัความต้องการของกลุ่มเป้าหมายเป็นสิ่งสาคัญในการจัดการศึกษาได้อยา่งมีประสิท 
ธิภาพ ผู้ศึกษาในฐานะนักวิชาการศึกษาประจา องการบริหารส่วนตา บลมะคา่ 
ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบกา้นการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 4 ศูนย์ในสังกดั 
ผู้ศึกษาได้ศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 
ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด 
เพื่อนาไปใช้แนวทางในการปรับปรุงการบริหารและจัดการศึกษา ใน 
สังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ ให้สอดคล้องกบัความต้องการของผู้ปกครองเด็ก 
และจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นตอ่ไป 
วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย 
1. เพิ่อศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองตอ่การดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกดั 
องค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด 
2. เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อการดา เนินงานศูนยืพัฒนาเด็กเล็กทั้ง 
4 ศูนย์ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด
3. เพื่อสึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 
สังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด 
กรอบแนวคิดในกำรวิจัย 
ตัวแปรตัน ตัวแปรตาม 
ปัจจัยส่วนบุคคล 
-เพศ 
-อายุ 
-การศึกษา 
-อาชีพ 
ภำพที่1 กรอบแนวคิดการวิจัย 
สมมติฐำนของกำรวิจัย 
ผูปกครองเด็กทั้ง 4 ศูนย์ 
มีระดับความพึงพอใจตอ่งการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกดัสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ 
อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด ไมแ่ตกตา่งกนั 
ขอบเขตของกำรศึกษำวิจัย 
1. ขอบเขตด้านประชากร 
ความพึงพอใจของผู้ปกครองเด็กแบง่ออกเป็น 3 ด้าน ดังนี้ 
1. ด้านบุคลากร 
2. อาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย 
3. ด้านการมีส่วนร่วมด้านการสนับสนุนจากผู้ปกครองและชุมชน
ผู้ปกครองเด็กที่ศึกษาอยูใ่นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ 
อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด ปีการศึกษา 2553 จา นวน 127 คน 
2. ขอบเขตด้านเนื้อหา. 
การศึกษาครั้งนี้มุง่ศึกษาระดับความพึงพอใจต่อการดา เนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกดั 
องค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด 
โดยมีขอบเขตการศึกษา 
ประยุกต์มาจากมาตรฐานการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรส่วนท้องถิ่น 
ความพึงพอใจของผู้ปกครองเด็กเล็ก ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ 
อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด แบง่ออกเป็น 3 ด้านดังนี้ 
1. ด้านบุคลากร 
2. ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย 
3. ดา่นการมีส่วนร่วม และการสนับสนุนจากผู้ปกครองและชุมชน 
นิยำมศัพท์เฉพำะ 
ศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก หมายถึง หมายถึง สถานที่ดูและให้การศึกษาเด็ก อายุระหวา่ง 3-5 ปี 
ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด ซึ่งประกอบไปด้วย 4 
ศูนย์ คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองมะคา่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแหลมชนแดน 
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลา โป่งเพชร และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบอ่ตะเคียน 
ผู้ปกเด็กครอง หมายถึง ผู้ที่ให้การอุปการดูแลเลี้ยงดูเด็กที่ศึกษาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 
ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ 
ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็กเล็กอนุบำลและปฐมวัย หมายถึง ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ 
จัดการศึกษาและให้การดูแลเด็กประจา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ 
อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด 
ควำมพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกพอใจ ของผู้ปกครองตอ่การดา เนินงานศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก 
ด้านบุคลากร ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
และด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ 
อา เภอจตุรพักตรพิมานจังหวดัร้อยเอ็ด การดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หมายถึง 
การปฏิบัตรงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ ใน 3 ด้าน คือ 
ด้านบุคลากรบุคคลลากร ด้านบุคลากร ด้านอาคารสถานที่สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย 
และด้านการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากผู้ปกครองและและชุมชน 
ด้ำนบุคลำกร หมายถึง ความรู้/ทักษะในการดูแลเด็ก การควบคุมกริยาวาจาความรับผิดชอบ 
ตรงตอ่เวลา เสียสละและทุม่เทในการปฏิบัติงาน ใส่ใจดูแลเด็ก ความกระตือรือร้นในการปฏิบัตรงาน 
การแตง่กาย และสุขอนามยัส่วนตัว การแสวงหาความรู้และพัฒนาตนเองเกยี่วกับงาน 
การจัดกิจกรรมส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ 
ด้ำนอำคำรสถำนที่สิ่งแวดล้อมและควำมปลอดภัย หมายถึง 
ความสะอาดเรียบร้อยภายในและภายนอกห้องเรียน รูปแบบการจัดการอุปกรณ์ภายใน ปลอดภัย 
รูปแบบจัดแบง่มุมเหมาะสมตามสัดส่วน การจัดขยะ สิ่งปฏิกูล ถูกสุขลักษณะ 
ความปลอดภัยของระบบอุปกรณ์ ไฟฟ้าและตู้เก็บวสัดุ สื่อ ความสะอาดของอุปกรณ์สวา่งตัวเด็ก แสงสวา่ง 
การถา่ยเทอากาศการป้องกนัพาหนะนาโรคและมาตรการป้องกนัด้านสุขภาพอนามยัเด็ก 
มาตรป้องกนัอุบัติเหตุ สาหรับเด็ก 
ด้ำนกำรมีส่วนร่วมและกำรสนับสนุนจำกผู้ปกครองและชุมชน 
หมายถึงการจัดประชุมชี้แจงผู้ปกครอง/ชุมชน 
การประชาสัมพันธ์กิจกรรม/การดา เนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองชุมชน 
การมีส่วนร่วม สนับสนุนการดา เนินงานของหน่วยงานในพื้น 
ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 
1. เพื่อทราบระดับความพึงพอใจและผลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองตอ่กา 
รดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทั้ง 4 ศูนย์ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ 
อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด 
2. เพื่อได้แนวทางการปรับปรุงการจัดการศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กในสังกัดองค์กรการบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ 
อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด
บทที่ 2 
เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาความพึงพอใจขอผู้ปกครองตอ่การดา เดินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกดัองค์การบริหาร 
ส่วนตา บลป่าสังข์ จังหวดัร้อยเอ็ด ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสาร 
ตา ราและการศึกษาที่เกยี่วข้องเพื่อประมวลความรู้และแนวคิดตา่งๆ อันเป็นประโยชน์ตอ่การศึกษา 
โดยมรสาระสาคัญที่เกยี่วข้องดังนี้ ดังนี้ 
1. ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั 
2. หลักการจัดการศึกษาปฐมวยั 
3. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 
4. ความหมายของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 
5. มาตรบานการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
6. แนวทางการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 
7. ความหมายเล็กความสาคัญของเด็กปฐมวัย 
8. ความพึงพอใจของบุคคล 
9. ข้อมูลเกยี่วกบัการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ 
อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด 
10. งานวิจัยที่เกยี่วข้อง 
ปรัชญำกำรศึกษำปฐมวัย 
การศึกษาปฐมวยัเป็นการพัฒนาเด็ก ตั้งแตแ่รกเกิดถึง 5 ปี 
บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมกระบวนการการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติ 
และพัฒนาการเด็กแตล่ะคนตามศักยภาพใต้บริบทสังคม – วฒันธรรม ที่เด็กอาศัยอยูด่้วยความรัก 
ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน 
เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เกิดคุณคา่ต่อตนเองและสังคม 
หลักกำรจัดกำรศึกษำปฐมวัย
กระทรวงศึกษาธิการ (2540, หน้า 5-7) ได้กลา่วถึงหลักการจัดการศึกษาปฐมวัยคือ 
การจัดการศึกษาให้ครอบคลุมเด็กปุกประเภท ที่มีอายุระหวา่ง 3-6 ปี 
เป็นการพัฒนาเด็กโดยการยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษา โดยเน้นพัฒนาเด็กแบบองค์รวม 
ทั้งร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ผา่นกิจกรรมการเลน่ที่เหมาะสมกับวยั 
วุฒิภาวะความแตกตา่งระหวา่งบุคคล มีการจัดประสบการณ์ 
โดยบุคคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านการจัดการศึกษาปฐมวยัและให้ครอบครัว 
ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม เพื่อให้เด็กสามารถดา รงชีวิตประจา วนัได้อยา่งมีคุณภาพและมีความสุข 
กระทรวงศึกษาธิการ (2546, หน้า 5) 
ได้กลา่วถึงหลักการจัดการศึกษาแกเ่ด็กปฐมวยัวา่เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพั 
ฒนาการตลอดจนการเรียนรู้อยา่งเหมาะสมด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหวา่งเด็กกับพอ่แม่ 
เด็กกบัผู้เลี้ยงดูหรือบุคลากรที่มีความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และให้การศึกษาเด็กปฐมวยั 
เพื่อให้เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลา ดับขั้นของพัฒนาการทุกด้านอยา่งสมดุลและเต็มศักย์ภาพโดยกา หน 
ดหลักการดังนี้ 
1. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการที่คลุมเด็กปฐมวยัทุกประเภท 
2. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูปละให้การศึกษาโดยเน้นเด็กเป็นสาคัญ 
โดยคา นึงถึงความแตกตา่งระหวา่งบุคคล และวิถีของเด็กตามบริบทของชุมชน สังคม และ 
วฒันธรรมไทย 
3. พัฒนาเด็กโดยองค์รวมผา่นการเลน่และกิจกรรมที่เหมาะสมกบัวยั 
4. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้สามารถเดรงชีวิต ประจา วนัได้อยา่งมีคุณภาพและความสุข 
5. ประสานความร่วมมือระหวา่งครอบครัว ชุมชน 
และสถานศึกษาในการพัฒนาเด็กสานักวิชาการและมาตรการศึกษา 
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ (2546, หน้า 5 – 7 ) 
ได้กลา่วถึงหลักการจัดการศึกษาปฐมวยัประกอบไปด้วย 
1. การสร้างหลักสูตรที่เหมาะสม 
2. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อตอ่การศึกษาของเด็ก 
3. การบูรณาการเรียนรู้
4. การประเมินพัฒนาการเรียนรู้และการเรียนรู้ของเด็ก 
5. การบูรณาการการเรียนรู้ 
6. ความสัมพันธืระหวา่งความครัวและการเลี้ยงดูเด็ก 
จากหลักการจัดการศึกษาปฐมวัยดังกลา่วในข้างต้น สรุปได้วา่ 
การศึกษาปฐมวยัจะต้องจัดให้ครอบคลุมเด็กทุกประเภท 
โดยยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ โดยคา นึงถึงความแตกต่างระหวา่งบุคคล 
และวิถีของเด็กตามบริบทของชุมชน สังคมและวฒันธรรมไทย 
พัฒนาเด็กโดยการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาของเด็กที่เหมาะสมกับวัย 
จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้สามารถดา รงชีวิตประจา วนัได้อยา่งมีคุณภาพปละมีความสุข 
ประสานความร่วมมือระหวา่งครอบครัว ชุมชน และสถานศึกษาในการพัฒนาเด็ก 
หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย 
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุต่า กวา่ 3 ปี 
จัดขึ้นสาหรับพอ่แมผู่้เลี้ยงดูหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกบัการอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กเพื่อใช้เป็นแนวทางในการอ 
บรมเลี้ยงดูและจัดประสบการณ์การเรียนรู้อยา่งเหมาะสมกับเด็กเป็นรายบุคคล 
จุดหมำย 
การพัฒนาเด็กอายุต่า กวา่ 3 ปี มุง่เสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ และจิตใจ สังคม 
และสติปัญญาที่เหมาะสมกบัวยั ความสามารถ 
ความสนใจและความแตกตา่งระหวา่งบุคคลเพื่อให้เด็กมีคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ ดังนี้ 
1. ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและคุณภาพดี 
2. ใช้อวยัวะของร่างกายได้คลอ่งแคล่วและสัมพันธ์กนั 
3. มีความสุขและแสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกับวยั 
4. รับรู้และสร้างปฏิสัมพันธ์กบับุคคลและสิ่งแวดล้อมรอบตัว 
5. ชว่งเหลือตัวเองได้เหมาะสมกบัวัย 
6. สนใจเรียนรู้สิ่งตา่งๆ รอบตัว 
กำรจัดประสบกำรณ์
การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กต่า กวา่ 3 ปี เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงเกิดความรู้ 
ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม ได้พัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา 
ซึ่งสามารถจัดในรูปของกิจกรรมบูรณาการผา่นการเลน่ ดังนี้ 
1. หลักการจัดประสบการณ์ ควรคา นึงถึงสิ่งสาคัญตอ่ไปนี้ 
1.1 เลี้ยงดูเด็กให้มีสุขภาพที่ดีและปลอดภัย 
1.2 มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกบัเด็กด้วยวาจาและทา่ทีอบอุน่เป็นมิตร 
1.3 จัดประสบการณ์เรียนรู้ให้สอดคล้องกบัธรรมชาติ ความต้องการและพัฒนาการของเด็ก 
1.4 จัดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยเอื้อตอ่การเรียนรู้ตามวยัของเด็ก 
1.5 ประเมินการเจริญเติบโตและพัฒนาเด็กอยา่งตอ่เนื่องเสมอ 
1.6 ประสานความร่วมมือระหวา่งครอบครัว ชุมชน และ สถานศึกษาในการพัฒนาเด็ก 
2. แนวการจัดประสบการณ์ 
2.1 ดูแลสุขภาพอนามยัและตอบสนองความต้องการพื้นฐานทั้งร่างกายและจิตใจของเด็ก 
2.2 สร้างบรรยากาศความรัก ความอบอุน่ ความไวว้างใจ และความมนั่คงทางอารมณ์ 
2.3 จัดประสบการณ์ตรงให้เด็กเลือก ลงมือกระทา และเรียนรู้จากประสารทสัมผัสทั้ง 5 
และความเคลื่อนไหวผา่นการเลน่ 
2.4 เปิดโอกาสให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กบับุคคลที่แวดล้อมและสิ่งตา่งๆ รอบตัวเด็กอยา่งหลากหลาย 
2.5 จัดสถานที่ วสัดุอุปกรณ์ เครื่องใช้และของเลน่ที่สะอาด ปลอดภัยเหมาะสมเด็ก 
2.6 ใช้การสังเกตและติดตามการเจริญเติมโตและพัฒนาการอยา่งตอ่เนื่องสม่า เสมอ 
2.7 ให้ครอบครัว ชุมชน และสถานศึกษามีส่วนร่วมในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ให้กบัเด็ก 
3. การจัดกิจกรรมประจา วนั 
กิจกรรมสาหรับเด็กอายุต่า กวา่ 3 ปี 
มีความสาคัญอยา่งยิ่งต่อการวางรากฐานการเรียนรู้และพัฒนาทักษะทักษะพื้นฐานของเด็กทั้งร่า 
งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาการจัดกิจกรรมควรจัดให้สอดคล้องกับความต้องการ 
ความสนใจ 
และความสามารถของเด็กตามวยัโดยบูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้ผา่นการอบรมเลี้ยงดู 
วิถีชีวิตประจา วนัและการเลน่ของเด็กตามธรรมชาติที่เหมาะสมกับวยั ดังนี้
3.1 การฝึกสุขนิสัยและลักษณะนิสัยที่ดี 
เป็นกิจกรรมที่สร้างเสริมสุขนิสัยที่ดีในเรื่องการรับประทานอาหาร การนอน 
การทา ความสะอาดร่างกาย การขับถา่ย 
ตลอดจนปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพอนามยัและการแสดงมารยาทที่สุภาพนุ่มน 
วลแบบไทย 
3.2 การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็นกิจกรรมที่ชว่ยกระตุ้นการรับรู้ผ่าน ประสาทสัมผัสทั้ง 5 
ในการมองเห็น การได้ยินเสียง การลิ้มรส การได้กลิ่น และการสัมผัส 
การเลน่มองตนเองจากกระจกเงา การเลน่ของเลน่ที่มีพื้นผิวแตกตา่งกนัเป็นต้น 
3.3 การฝึกการประสานสัมพันธ์ระหวา่งมือ-ตา เป็นกิจกรรมที่ฝึกความแขง่แกร่งของกล้ามเนื้อ 
นิ้วมือให้พร้อมจะหยิบจับฝึกการทา งานอยา่งสัมพันธ์กนัระหวา่งมือและตารวมทั้งฝึกให้เด็กรู้จั 
กคาดคะเนหรือกะระยะทางของสิ่งตา่งๆ ที่อยูร่อบตัวเทียบกับตัวเองในลักษณะใกล้กับไกล 
เชน่ มองโมบายที่มีสีและเสียง ร้อยลูกปัด เลน่พลาสติกสร้างสรรค์ 
เลน่หยอดบล็อกรูปทรงลงกลอ่ง ตอกหมุด โยนรับลูกบอล ตักน้าหรือทรายใส่ภาชนะ เป็นต้น 
3.4 การเคลื่อนไหวและการทรงตัวเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการใช้กล้ามเนื้อแขนกบัขากับมือนิ้ว 
และส่วนตา่งๆ ของร่างกายในการเคลื่อนไหว หรือออกกา ลังกายทุกส่วน 
โดยการจัดให้เด็กเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อใหญ่-เล็ก ตามความสามารถของวัย เชน่ คว่า คลาน ยื่น 
เดิน เลน่นิ้วมือ เคลื่อนไหวส่วนตา่งๆ ของร่างกายตามเสียงดนตรี วิ่งไลจั่บ 
ปีนป่ายเครื่องเลน่สนาม เลน่ชิงช้า มา้โยก ลากจูงของเลน่มีล้อ ขี่รถจักรยานสามล้อ เป็นต้น 
3.5 การส่งเสริมด้านอารมณ์ และ จิตใจ 
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการเลี้ยงดูในการตอบสนองความต้องการของเด็กด้านจิตใจ 
โดยการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้เด็กเกิดความรู้สึกอบอุน่และมีความสุข เชน่ อุ้ม 
โอบกอด ตอบสนองตอ่ความรู้สึกที่เด็กแสดงออกเป็นต้น
3.6 การส่งเสริมทักษะทางสังคม เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการสร้างความสัมพันธ์กบัพ่อแม่ผู้เลี้ยงดู 
และบุคคลใกล้ชิด โดยการพูดหยอกล้อ หรือเลน่กับเด็ก หรือพาเด็กไปเดินเลน่นอกบ้าน 
พบปะเด็กอื่นหรือผู้ใหญ่เชน่ เลน่จ๊ะเอ๋ พาไปบ้านญาติ เป็นต้น 
3.7 การส่งเสริมทักษะทางภาษา เป็นกิจกรรมที่ฝึกให้เด็กเปลง่เสียง เลียนเสียงพูดของคน 
เสียงสัตว์ตา่งๆ รู้จักชื่อเรียกของตนเอง ซึ่งพอ่แมห่รือผู้คนใกล้ชิด และสิ่งตา่งๆ รอบตัว 
ตลอดจนรู้จักสื่อความหมายด้วยคา พูดและทา่ทาง เชน่ ชี้ชวนและสอนให้รู้จักชื่อเรียงสิ่งตา่งๆ 
จากของจริง เลา่นิทานหรือร้องเพลงง่ายๆ ให้ฟัง เป็นต้น 
3.8 การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 
เป็นกิจกรรมที่ฝึกให้เด็กได้แสดงออกทางความคิดตามจินตนาการของตนเอง เช่น 
ขีดเขียนวาดรูป เลน่สมมติ ทา กิจกรรมศิลปะ เลน่ของเลน่สร้างสรรค์ เป็นต้น 
กำรใช้หลักสูตร 
สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั พอ่แม่ผู้เลี้ยงดูหรือผู้เกยี่วข้องกบัการอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็ก 
จะนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวยัไปใช้อยา่งมีประสิทธิภาพ 
ตรงตามเจตนารมณ์ของหลักสูตรที่มุง้เน้นการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมเรียนรู้ ควรดา เนินการดังนี้ 
1. การใช้หลักสูตรการศึกษาประถมวยัสาหรับสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั 
เด็กตั้งแตแ่รกเกิดจนถึง 3 ปี 
ควรได้รับการอบรมเลี้ยงดูจากพอ่แมห่รือบุคคลในครอบครัวแตเ่นื่องจากสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ 
ยนแปลงไปทา ให้ต้องออกไปทา งานนอกบ้าน 
ประอบกบัครอบครัวส่วนใหญมั่กจะเป็นครอบครัวเดี่ยว 
พอ่แมต่้องนาเด็กไปรับการเลี้ยงดูใสถานพัฒนาเด็กปฐมวยัอยา่งมีประสิทธิภาพตรงตามปรัชญา 
หลักการของหลักสูตรการศึกษาปฐมวยัที่มุง้เน้นการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการการทุก 
ด้าน รวมทั้งการประสานความร่วมมือระหวา่ครอบครัว ชุมชน และ 
ท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กปฐมวยัควรจัดให้มีการดา เนินการใช้หลักสูตรการ 
ศึกษาปฐมวยั ดังนี้
1.1 การเตรียมการใช้หลักสูตร 
1.1.1 ศึกษารวบร่วมข้อมูลตา่งๆ เชน่ วิธีการอบรมเลี้ยงดูและความต้องการของพอ่แม่ 
ผู้ปกครอง วฒันธรรมและความเชื่อของท้องถิ่น 
ความพร้อมของสถานพัฒนาเด็กปฐมวยัรวมทั้งหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ฯลฯ 
นาข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อกา หนดเป้าหมายการจัดการกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็ 
กแตล่ะชว่งอายุ 
1.1.2 จัดหาผู้เลี้ยงดูเด็กหรือผู้สอนที่มีความรู้ 
ความสามารถและประสบการณ์ตลอดจนมีเจตคติที่ดีตอ่การพัฒนาเด็ก 
และจัดให้มีเอกสารหลักสูตรและคู่มือตา่งๆ 
อยา่งเพียงพอที่จะใช้เป็นแนวทางดา เนินงาน 
ตลอดจนพัฒนาบุคคลากรที่เกยี่วข้องทุกฝ่ายให้มีความรู้ความเข้าใจในเป้าหมายขอ 
งการพัฒนาเด็กปฐมวยัอยา่งชัดเจน 
1.2 การดา เนินการใช้หลักสูตร 
การนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวยัไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้บรรลุตามปรัชญาหลักการ และจุดหมาย 
มีแนวทางดา เนินงาน ดังนี้ 
1.2.1 การจัดทา สาระของหลักสูตร ควรดา เนินการดังตอ่ไปนี้ 
- 
ศึกษาจุดหมายหรือคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ตามที่หลักสูตรระบุถึงความสามารถหรือพฤติกรรมการเรียนที่ต้ 
องเกิดขึ้นหลังจากเด็กได้รับประสบการณ์ที่เหมาะสมในแตล่ะชว่งอายุ 
- กา หนดสาระที่ควรเรียนรู้ในแตล่ะชว่งอายุอยา่งกวา้ง ๆ ให้ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 
ด้าน 
โดยผา่นประสบการณสาคัญและมีลา ดับขั้นตอนของการเรียนรู้จากง่ายไปหายากหรือจากสิ่งใกล้ตัวไปไกลตั 
ว 
- จัดทา แผนการจัดประสบการณ์พร้อมสื่อการเรียนรู้ 
โดยคา นึงถึงความยากง่ายตอ่การรับรู้และเรียนรู้ตามความสามารถของเด็กแตล่ะวัย 
และความแตกตา่งทางสังคมวฒันธรรมโดยอาจประยุกต์ใช้สื่อที่ทา ขึ้นเองได้
1.2.2 การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กมุง่เน้นการจัดประสบการณ์ที่ยึดหลักเป็นสาคัญ 
โดยคา นึงถึงการพัฒนาเด็กโดยองค์รวม การจัดกิจกรรมต่างๆ 
ตามกิจวตัรประจา วนัและการบูรณาการผา่นการเลน่ 
1.2.3 การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ 
สถานพัฒนาเด็กปฐมวยัต้องจัดบรรยากาศที่อบอุน่คล้ายบ้านหรือครอบครัว 
ตลอดจนดูแลความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกรวมทั้งจัดให้มีสื่อและอุปกรณ์ตา่งๆที่ห 
ลากหลายเหมาะสมกบัเด็ก เพื่อสนับสนุนให้เด็กได้พัฒนาอยา่งเต็มศักยภาพและเรียนรู้อยา่งมีความสุข 
ควำมหมำยของศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก 
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ภาษาอังกฤษใช้คา วา่ Child Development Center มีความหมายและที่มา ดังนี้ 
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น (2547, หน้า 1) 
ให้ความหมายวา่สถานที่ดูแลและให้การศึกษาเด็ก อายุระหวา่ง 3 – 5 ปี มีฐานะเทียบเทา่สถานศึกษา 
เป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดตั้งเอง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของส่วนราชการตา่งๆ 
ที่ถา่ยโอนให้อยูใ่นความดูแลรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เชน่ ศูนย์อบรม 
เด็กกอ่นเกณฑ์ในวดั/มสัยิด กรมการศาสนา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กรมการพัฒนาชุมชน 
และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (เด็ก 3ขวบ) รับถา่ยโอนจากสานักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ ฯลฯ 
ซึ่งตอ่ไปนี้เรียกวา่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น (2553, หน้า1) ให้ความหมายวา่ 
สถานศึกษาที่ให้การอบรมเลี้ยงดู จัดประสบการณ์และส่งเสริมพัฒนาการ 
การเรียนรู้ให้เด็กเล็กมีความพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ 
สังคมและสติปัญญาสังกดัองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
มำตรฐำนกำรดำเนินงำนศูนย์พัฒนำเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเล็กที่ส่วนราชการตา่งๆ 
ถา่ยโอนให้องค์กรปกครองครองส่วนท้องถิ่นและที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดตั้งขึ้นเอง 
ถือเป็นสถานศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 18 และ มาตรา 4
แตก่็ยังมีความแตกตา่งหลากหลาย ทั้งในด้านโครงสร้างการบริหารงาน ได้แก่ด้านบุคลากร 
ด้านบริหารจัดการ ด้านวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตร ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม 
และความปลอดภัย ด้านการมีส่วนร่วมและสนับสนุนจากชุมชนรวมถึงการพัฒนาคุณภาพ 
ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องรับผิดชอบภารกิจดา เนินการการดา เนินการจัดการศึกษาให้ได้คุณภาพ 
และมาตรฐานเพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในความผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสถานศึกษาแห่ 
งแรกที่มีคุณภาพและมาตรฐาน สามารถให้บริการตอบสนองชุมชนด้านการจัดการศึกษาแกเ่ด็กปฐมวยั อายุ 
2 – 5 ขวบ อยา่งทั่วถึงและเป็นทรัพยากรทีมีคุณคา่ตามอา นาจหน้าที่ และเจตนารมณ์ของรัฐบาล 
ดังนั้นกรมส่งเสริมการปกคอรงส่วนท้องถิ่นจึงได้จัดทา มาตรฐานการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขึ้นปี พ.ศ. 2547 
เพื่อเป็นแนวทางให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถือปฏิบัติในการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 
ให้มีมาตรฐานและมีคุณภาพเป็นไปในแล้วเดียวกนัแบง่มาตรฐานออกเป็น 4 ด้าน ดังนี้ 
1. ด้านบุคลากรและการบริหารจัดการ 
2. ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย 
3. ด้านการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากชุมชน 
ปี พ.ศ. 2553 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นเห็นวา่ 
มาตรฐานการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จัดทา ขึ้นในปี 
พ.ศ.2547 นั้น ควรจะปรับปรุงเนื้อหาหลักเกณฑ์ หรือหนังสือสั่งการตา่ง ๆ ให้เป็นปัจจุบัน 
สอดคล้องกบันวตักรรมตา่งๆ 
ที่เปลี่ยนแปลงไปจึงได้ดา เนินการปรับปรุงมาตรฐานการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรป 
กครองส่วนท้องถิ่น โดยแบง่มาตรฐานออกเป็น 6 ด้าน ดังนี้ 
1. มาตรฐานด้านการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่รับผิดชอบการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีม 
าตรฐานและคุณภาพตามหลักวิชาการ กฎหมาย ระเรียบ 
และหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้องโดยความร่วมมือสนับสนุนของประชาชนในชุมชนท้องถิ่น 
นั้นๆ แบง่การบริหารจัดการเป็น 3 ด้านได้แก่
1.1 ด้านการบริหารงาน 
- การจัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ต้องมีความพร้อมด้านงบประมาณ อาคารสถานที่ 
และกา หนดให้มีโครงสร้างส่วนราชการทั้งบุคลากรที่รับผิดชอบ โดยให้ดา เนินการตามขั้นตอน 
กรณีที่ไมมี่สถานที่กอ่สร้างเป็นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของกรรมสิทธ์ิอนุญาตให้ใช้สถานที่กอ่สร้าง 
และการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแกอ่งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
- การย้าย / รวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยต้องมีการสารวจความต้องการของ 
ชุมชนแล้วเสนอตอ่ผู้บริหารท้องถิ่น เสนอขอความเห็นจากสภาทองถิ่น จัดทา แผนย้าย / 
รวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รายงานการย้าย / 
รวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นทราบ 
- การยุบเลิกศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 
ศึกษาวิเคราะห์เหตุผลความจาเป็นในการยุบเลิกพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก 
และเสนอองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อดา เนินการ สารวจความต้องการของชุมชน 
พิจารณาประกาศยุบเลิกศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและรายงานให้กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นทราบ 
- การให้บริการ อบรมเลี้ยงดู 
การจัดประสบการณ์และส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนา 
ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม 
สติปัญญาที่เหมาะสมตามวัยตามวยัตามศักยภาพของเด็กแต่ละ่คน 
- การจัดตั้งคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 
ต้องประกอบด้วยบุคคลที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพิจารณาคัดเลือกและแ 
ตง่ตั้งโดยกา หนดจา นวนตามความเหมาะสมจากชุมชนโดยมีหัวหน้าศูนย์พัฒ 
นาเด็กเล็กเป็นกรรมการและเลขานุการ 
1.2 ด้านการบริหารงบประมาณ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบริหารงบประมาณศูนย์เด็กเล็กที่ได้รับการอุดหนุนจากกรมส่งเสริมกา 
รปกครองส่วนท้องถิ่น จากเงินรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเงินรายได้ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 
โดยให้ดา เนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการนาเงินรายได้ของสถานศึกษ 
าไปจัดสรรเป็นคา่ใช้จา่ยในการจัดการศึกษาในสถานศึกษา สังกดัองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2551 
และหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้อง 
1.3 การบริหารงานบุคคล 
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบริหารงานบุคคล 
ต้องยึดหลักสมรรถนะความเทา่เทียมกนัในโอกาสและประโยชน์ของทางราชการเป็นสาคัญ 
โดยกระบวนการที่ได้มาตรฐานยุติธรรมและโปร่งใสเพื่อรองรับการตรวจสอบตามแนวทางบริหารกิจการบ้า 
นเมืองที่ดี 
สนับสนุนการให้ทุนการศึกษาแกบุ่คลากรเพื่อให้พัฒนาศักยภาพในการบริหารงานอยา่งตอ่เนื่องเพื่อยกระดั 
บคุณภาพการศึกษา 
2. มาตรฐานด้านบุคลากร 
บุคลากรที่เกยี่วข้องในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประกอบด้วย หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครู 
ดูแลเด็กผู้ประกอบอาหาร ภารโรง และพนักงานจ้างที่ปฏิบัติหน้าที่อื่นจะต้องมีคุณสมบัติ 
บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้อยา่งถูกต้องตามหลักวิช 
าการด้วยความเหมาะสมอยา่งมีคุณภาพ 
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นจึงได้กา หนดคุณสมบัติสถานภาพและบทบาทหน้าที่ความรับ 
ผิดชอบตา แหน่งหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และครูผู้ดูแลเด็ก โดยผู้บริหารองค์กรส่วนท้องถิ่น 
และหัวหน้าส่วนราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีคุณภาพ และได้มาตรฐาน 
3. มาตรฐานด้านอาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย 
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่อบรมเลี้ยงดู จัดประสบการณ์และส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้แกเ่ด็ก 
ดังนั้น ในการกอ่สร้างหรือปรับปรุงอาคาร สถานที่และจัดภูมิทัศน์สภาพแวดล้อมทั้งภายในอาคาร 
และภายนอกอาคาร ต้องคา นึงถึงความมนั่คง แข็งแรง ถูกสุขลักษณะ 
มีความเหมาะสมและปลอดภัยแกเ่ด็กเล็ก ตลอดจนการส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมพัฒนาเด็กให้ผู้ปกครองมีความมนั่ใจ ไวว้างใจ การกอ่สร้างและพัฒนาอาคารสถานที่ 
สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะมีส่วนชว่ยในการส่งเสริมและพัฒนาเด็กอาคารสถา 
นที่สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโดยการจัดสภาพแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ 
อันจะส่งผลตอ่สุขภาพโดยตรงในการป้องกนัการแพร่กระจายของโรคติดตอ่ 
สามารถลดความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุส่งเสริมความปลอดภัย 
ให้กบัเด็กและฝึกสุขนิสัยให้มีพฤติกรรมที่ถูกต้อง ซึ้งเป็นพื้นฐานสาคัญของการเติบโตเป็นผู้ใหญที่่มีคุณภาพ 
4. มาตรฐานด้านวิชาการ และกิจกรรมตามหลักสูตร 
การอบรมเลี้ยงดูการจัดประการณ์การเรียนรู้ และส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กอายุ 2 – 5 ปี 
เป็นภารกิจสาคัญในการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้เด็กเล็กไ 
ด้รับการอบรมเลี้ยงดู และได้รับการศึกษาเพื่อการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ – จิตใจ 
สังคมและสติปัญญาตามวยั และความสามารถของเด็ก โดยใช้หลักสูตรศึกษาปฐมวยัพุทธศักราช 2546 
ตามแนวคิดการบูรณาการหน่วยการเรียนรู้ที่เกยี่วข้องกบัสังคม – วฒันธรรม 
และภูมิปัญญาท้องถิ่นพัฒนาขึ้นมาจากการสารวจความต้องการของบุคคลที่เกี่ยวข้องในท้องถิ่นมาเป็นแนว 
ทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 
การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและการพัฒนาของเด็กแต่ละคน ตามศักยภาพ 
ภายใต้บริบทสังคม – วฒันธรรม ที่เด็กอาศัยอยู่ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน 
เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ 
5. มาตรฐานด้านส่งเสริมเครือขา่ยการพัฒนาเด็กปฐมวยั 
ในการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงต้องคา นึงถึงการมีส่วนร่วม 
ทุกภาคส่วนในสังคมเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย 
อีกทั้งยังเป็นการใช้ต้นทุนทางสังคมที่มีอยูใ่นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่ 
อการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการจัดการศึกษาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นการสร้างพื้นฐานตอ่ไปอย่ 
างมีประสิทธิภาพ 
สามารถตอบสนองความต้องการของสังคมจนเป็นที่ยอมรับในศักยภาพในการบริหารจัดการศึกษา 
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วมจึงมีความจา เป็นอยา่งยิ่งต่อการ 
พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพราะจะทา ให้สามารถขับเคลื่อนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไปสู่มาตรฐานการบริ
หารแบบมีส่วนร่วม 
ซึ่งเป็นการระดมสรรพกา ลังจากทุกภาคส่วนของสังคมภายใต้ทักษะการบริหารจัดการอยา่งมีประสิ 
ทธิภาพของผู้บริหารองค์กรส่วนท้องถิ่น หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครูผู้ดูแลเด็ก 
และผู้เกยี่วข้องจะทา ให้เกิดความพร้อมในที่จะร่วมมือในการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ 
กา้วหน้าตอ่ไป 
6. มาตรฐานด้านส่งเสริมเครือขา่ยการพัฒนาเด็กปฐมวยั 
เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นสถานพัฒนาเด็ก 
ปฐมวยัที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานในการอบรมเลี้ยงดู จัดประสบการณ์ 
และส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้แกเ่ด็กปฐมวยัอยา่งครอบคลุม 
กวา้งขวางเป็นพื้นฐานเรียนรู้แกเ่ด็กปฐมวยัอยา่งครอบคลุม กวา้งขวาง เป็นพื้นฐานของการศึกษา 
เพื่อพัฒนาคนอยา่งมีคุณภาพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
รวมทั้งหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ชว่ยครูผู้ดูแลเด็ก 
ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องขององค์กรส่วนปกครองส่วนท้องถิ่นจึงต้องส่งเสริมการสร้างเครือขา่ยการพัฒนาเด็ 
กปฐมวยัทั้งในระดับองค์กรส่วนปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับอา เภอ ระดับจังหวดั ระดับภาค 
โดยองค์กรส่วนปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถปรับรูปแบบและกิจกรรมภายใต้ความร่วมมือได้ตามบริบทขอ 
งแตล่ะท้องถิ่น 
แนวทำงกำรบริหำรจัดกำรศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก 
การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 
จะต้องคา นึงถึงขอบขา่ยของงานสายการบังคับบัญชาและระเบียบกฎหมายที่เกยี่วข้อง 
ทั้งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 
ที่กา หนดให้สถานศึกษาต้องบริหารจัดการให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กา หนด 
โดยจะต้องจัดให้มีการประเมินตนเองทุกปี 
เพื่อตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดังนั้น 
เพื่อนให้ศูนย์พัฒนาขนาดเล็กสามารถให้การดูแลและพัฒนาจัดการศูนย์ฯ ให้ครอบคลุมลักษณะงานตอ่ไปนี้ 
1. งานบุคลากรและการบริหารจัดการ
2. งานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม 
3. งานวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตร 
4. งานการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากชุมชน 
5. งานธุรการ การเงิน และพัสดุ 
ทั้งนี้ 
หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กควรจัดให้มีผู้รับผิดชอบงานดังกลา่วโดยแบง่และมอบหมายงานตามควา 
มถนัด ความสามารถ และลักษณะของงานที่ต้องดา เนินการ ทั้ง 5 
งานอยา่งไรก็ตามในการจัดแบง่งานดังกลา่วควรคา นึงถึงความพร้อมและศักย์ภาพของแต่ละศูนย์ฯ 
ในองค์กรส่วนปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดเล็กอาจรวมลักษณะงานวิชาการและงานกิจการนักเรียนเ 
ป็นงานพัสดุ เป็นกลุม่งานเดียวกนั เป็นต้นการบริหารงานทั้ง 5 
งานให้มีคุณภาพมีแนวทางการดา เนินงาน ดังนี้ 
1. งานบุคลากรและการบริหารจัดการ มีลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ดังนี้ 
1.1 สรรหา 
หรือจัดจ้างบุคลากรเพื่อปฏิบัติหน้าที่ในศูนย์พัฒนาเด็กมีจา นวนตามความจา เป็นและสอด 
คล้องกบัศักยภาพของ องค์กรส่วนปกครองส่วนท้องถิ่น เชน่ หัวหน้าศูนย์ ผู้ดูแลเด็ก 
ผู้ประกอบอาหาร ผู้ทา ความสะอาด 
โดยใช้หลักเกณฑ์การสรรหาการจ้างและตอ่สัญญาจ้างตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ทั่วไป 
ที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนท้องถิ่นกา หนด 
ยกเวน้กรณีศูนย์อบรมเด็กกอ่นเกณฑ์ในวัด/มสัยิด การจ้างและตอ่สัญญาจ้าง 
ให้คณะกรรมการบริหารศูนย์วัด/มสัยิดเป็นผู้พิจารณาสรรหาและแจ้งให้องค์กรปกครองส่ 
วนท้องถิ่นเป็นผู้จัดจ้าง 
1.2 กา หนดจา นวนอัตรากา หนดบุคลากร และเงินเดือน คา่จ้าง คา่ตอบแทน 
ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดังนี้ 
1.2.1 ผู้ดูแลเด็ก จา นวนสัดส่วนตอ่เด็ก 1 : 20 หากมีเศษตั้งแต่10 
คนขึ้นไปให้เพิ่มผู้ดูแลเด็กอีก 1 คน 
1.2.2 ผู้ประกอบอาหารกา หนดจา นวนได้ตามความจา เป็นเหมาะสมตามฐานะการคลังข 
ององค์ปกครองส่วนท้องถิ่น
1.2.3 ผู้ทา ความสะอาดจา นวนได้ตามขนาดได้ตามขนาดของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก คือศูนย์ 
ขนาดเล็ก (จา นวนเด็กไมเ่กิน 200 คน) มีอัตราไมเ่กิน 2 คน ศูนย์ฯ ขนาดใหญ่ 
(จา นวนเด็กตั้งแต่200 คนขึ้นไป) มีอัตราไมเ่กิน 4 คน 
ตามฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
1.2.4 กา หนดอัตราเงินเดือน คา่จ้าง คา่ตอบแทน 
สิทธิหรือสวสัดิการอื่นที่พึ่งได้รับตามที่มีกฎหมายบัญญัติไว้ดังนี้ 
1) ผู้มีวุฒิการศึกษาภาคบังคับและมธัยมศึกษาปีที่ 6 
กา หนดอัตราเดือนละไมน่้อยกวา่ 4,880 บาท 
หากมีประสบการณ์ในการทา งานที่เกี่ยวกบัการพัฒนาเด็กปฐมวยัมาแล้วไมน่้ 
อยกวา่ 5 ปี และมีหนังสือรับรองกา หนดอัตราเดือนละไมน่้อยกวา่ 5,530 บาท 
2) ผู้มีวุฒิการศึกษาประกอบวิชาชีพ (ปวช.) 
หรือผู้ที่มีวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 
กา หนดอัตราเงินเดือนละ่ไมน่้อยกวา่ 5,230 บาท 
3) ผู้ที่มีวุฒิการศึกษาไมต่่า กวา่ปริญญาตรีทางการศึกษาขึ้นไป 
สาขาวิชาเอกอนุบาลศึกษาหรือปฐมวัย 
หรือปริญญาอื่นที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนท้องถิ่นรับรองกา หนดอัต 
ราเดือนละไมน่้อยกวา่ 7,630 บาท 
4) ผู้ที่มีวุฒิการศึกษาตาม 1 – 3 
ต้องมีประสบการณ์ในการทา งานเกยี่วกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยมาแล้วไมน่้อย 
กวา่ 2 ปี 
5) สิทธิ หรือสวสัดิการอื่นที่พึ่งได้รับ 
1.2.5 กา หนดการจัดชั้นเรียนห้องละไมเ่กิน 20 คน หากมีเศษเกิน 10 คน ให้จัดเพิ่มได้อีก 
1 ห้อง 
1.2.6 จัดงบประมาณคา่ใช้จา่ยด้านบุคลากร เชน่ เงินเดือน คา่จ้าง คา่ตอบแทน 
สวสัดิการอื่นที่พึ่งได้รับตามกฎหมายบัญญัติ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากร 
1.2.7 กา หนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 
1.2.8 จัดระเบียบ ข้อบังคับ และทะเบียนประวตัิบุคลากร
1.2.9 นิเทศ อบรม และพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ 
ความสามารถในหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างตอ่เนื่อง 
1.2.10 บริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กด้านอื่นๆ 
ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและบุคลากรที่เกยี่วข้องควรปฏิบัติตามมาตรฐานด้านบุคลากรและการ 
บริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่กา หนดไว้ 
2. งานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม 
ให้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม 
และความปลอดภัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกา หนดไว้ 
3. งานวิชาการและกิจกรรมตามสูตร 
ให้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ด้านวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตรกา หนดไว้ 
4. งารการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากชุมชน 
ให้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กด้านการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากชุมชน 
5.งานธุรการ การเงิน และพัสดุ มีลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ดังนี้ 
5.1 งานธุรการ และสารบรรณ ได้แก่การจัดทา ข้อมมูลสถิติ จัดทา ทะเบียนหนังสือรับ ส่ง 
การควบคุมและจัดเก็บเอกสาร การจัดทา ประกาศคา สั่ง การจัดทา ทะเบียนนักเรียนการรับสมัครนักเรียน 
5.2 งานการเงิน ได้แก่การจัดทา งบประมาณ การทา บัญชีการเงิน 
การเบิกจา่ยซึ่งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะถือปฏิบัติเกี่ยวกับรายรับจา่ยตามระเบียบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ 
นและกฏหมายที่เกยี่วข้อง 
5.3 งานพัสดุ เป็นการจัดทา จัดซื้อ จัดหาและจา หน่ายทะเบียนวสัดุ 
รวมทั้งเสนอความต้องการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดา เนินการ 
ควำมหมำยและควำมสำคัญของเด็กปฐมวัย 
ทรงสุดา ภูส่วา่ง ได้ให้ความายและความสาคัญของเด็กปฐมวยั ดังนี้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้

More Related Content

Viewers also liked (14)

Group 5 wea adventure
Group 5 wea adventureGroup 5 wea adventure
Group 5 wea adventure
 
Group 1 extreme adventure tours
Group 1 extreme adventure toursGroup 1 extreme adventure tours
Group 1 extreme adventure tours
 
Provimento nº 31 projeto piloto
Provimento nº 31   projeto pilotoProvimento nº 31   projeto piloto
Provimento nº 31 projeto piloto
 
Group 7 a4 f
Group 7 a4 fGroup 7 a4 f
Group 7 a4 f
 
Statioska analiza TPS
Statioska   analiza TPSStatioska   analiza TPS
Statioska analiza TPS
 
Group 8 crusoeadventures
Group 8 crusoeadventuresGroup 8 crusoeadventures
Group 8 crusoeadventures
 
Group 23 single explora trips
Group 23 single explora tripsGroup 23 single explora trips
Group 23 single explora trips
 
Group 21 out of reach
Group 21 out of reachGroup 21 out of reach
Group 21 out of reach
 
Crop Over Media options for Radio 2012
Crop Over Media options for Radio 2012Crop Over Media options for Radio 2012
Crop Over Media options for Radio 2012
 
Provimento nº 34 ressarcimento de funepj
Provimento nº 34   ressarcimento de funepjProvimento nº 34   ressarcimento de funepj
Provimento nº 34 ressarcimento de funepj
 
Group 14 alaxka
Group 14 alaxkaGroup 14 alaxka
Group 14 alaxka
 
3103 dogs
3103 dogs3103 dogs
3103 dogs
 
Group 22 argonaut
Group 22 argonautGroup 22 argonaut
Group 22 argonaut
 
Pdf jurnal
Pdf jurnalPdf jurnal
Pdf jurnal
 

Similar to บทที่ 1 นายต้นพิมให้

รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
อนุบาลศศิมา
อนุบาลศศิมาอนุบาลศศิมา
อนุบาลศศิมาhihowryou
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...โรงเรียนบ้านเสาเล้าฯ สผศ
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน BrProud N. Boonrak
 

Similar to บทที่ 1 นายต้นพิมให้ (20)

รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
อนุบาลศศิมา
อนุบาลศศิมาอนุบาลศศิมา
อนุบาลศศิมา
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
 

บทที่ 1 นายต้นพิมให้

  • 1. บทที่ 1 บทนำ ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ การศึกษาเป็นกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนามนุษย์ให้เกิดความเจริญงอกงาม ใหเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งกายและใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรมมีจริยธรรมและวฒันธรรมในการดา รงชีวิตได้อยา่งมีความสุข ในโลกที่มีการ ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้าน วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงด้านตา่งๆ อยา่งรวดเร็วและส่งผลกระทบให้วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงอยา่งรวดเร็ว และมีการดิ้นรนแขง่ขันมากตลอดเวลาประชาชนจะต้องได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเพียงพอจึงจะสามารถปรั บตัวเข้ากบัสังคมนั้นได้อยา่งสมดุล ที่ผา่นมาการศึกษาของประเทศประสบกบัวิกฤตในหลายด้านไมว่า่จะเป็นเรื่องผลกระทบทางการเมืองกบักา รบริหารขาดแคลนบุคลากรทางการศึกษา คุณภาพของการศึกษา สอดคล้องกบัการศึกษากับความต้องการของท้องถิ่นความเทา่เทียมและโอกาสทางการศึกษาการกระจายอา นาจทางการศึกษาจากปัญหาและความต้องการที่กลา่วมานั้น จึงจา เป็นต้องปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในด้านตา่งๆ สร้างเสริมความรู้และปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้อง เพื่อพัฒนาศักยภาพของคนไทย โดยปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกบับริบททางสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและเพิ่มโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการ ศึกษามากยิ่งขึ้น กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น (2552, หน้า 27) ได้สรุปกรอบแนวทางการพัฒนาการศึกษาในชว่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) ที่สอดคล้องกบัแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2559) คือ พัฒนาการศึกษาให้คนไทยอยา่งทั่วถึงมีคุณภาพ มีความสมบูรณ์ทั้งด้านสุขภาพ ร่างกาย จิตใจ มีคุณธรรม จริยธรรม มี สมานฉันท์ ดา รงชีวิตอยา่งสันติวิถี มีวิถีประชาธิปไตย
  • 2. มีความภูมิใจในความเป็นมนุษย์และความเป็นไทยบนพื้นฐานปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และเป็นพลโลกที่มีคุณภาพ มีความรักในสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ มีความรู้ความสามารถด้านภาษา ทั้งภาษาไทย ภาษาสากลและภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยี มีทักษะการคิด วิเคราะห์ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และกลุม่จนติดตัวตลอดชีวิต มีจิตสาธารณะ รักการทา งาน มีความอยูดี่มีสุข สามารถพึ่งพาตนเองมีทักษะการประกอบอาชีพ รู้จักรักษา และพัฒนาสินทรัพย์ทางปัญญา มีศักยภาพทางด้านการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ โดยคา นึงถึงการดูและรักษาวฒันธรรม ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการแขง่ขันในสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ ได้ยั้งยื่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทในการจัดการศึกษาอบรมและฝึกวิชาชีพตามความเหมาะสม ปละความต้องการภายในท้องถิ่นมีวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาปฐมวยักา หนดให้เด็กปฐมวัยได้รับ การส่งเสริมพัฒนาการและเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา และลักษณะนิสัยให้เป็นไปอยา่งถูกต้องตามหลักวิชาการอยา่งเต็มศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย และมีความพร้อมที่จะเข้ารับการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้แนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวยั ที่วา่ จุดเริ่มต้นเป็นจุดสาคัญของงานทุกชนิด ในงานแห่งชีวิต จุดเริ่มต้นคือ การเริ่มชีวิต ปฐมวยั ซึ่งเป็นที่ยอมรับกนัโดยทั่วไปในหมูนั่กจิตวิทยาในหมูนั่กการศึกษาวา่เด็กตั้งแตแ่รกเกิดถึงอายุ 5 ขวบ เป็นชว่งหนึ่งของชีวิตที่สมองที่การเจริญเติบโตกวา่ทุกๆ ชว่งอายุ และเป็นชว่งเวลาที่เหมาะสมที่สุดสาหรับการปูพื้นฐานทักษะตา่งๆ ให้แกเ่ด็ก เพื่อมีความพร้อมในการพัฒนาในระดับตอ่ไป จากแนวคิดในการจัดการศึกษาปฐมวยั ผู้รับผิดชอบ ต้องศึกษาหลักการของหลักสูตรให้เข้าใจและสามารถนามาสู่การปฏิบัติได้จริง เนื่องการจัดประสบการณ์เรียนรู้ให้เด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ขวบ จะต้องยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูควบคู่กับการให้การศึกษา ซึ่งสอดคล้องกบัหลักการจัด การศึกษาปฐมวยัของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานระหวา่งกระทรวงศึกษาธิการ (2546, หน้า 7) คือการจัดการเรียนรู้ต้องคา นึงถึง ความสนใจและความต้องการของเด็กทุกคน ทั้งเด็กปกติ และเด็กที่มีความสามารถพิเศษและเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา รวมทั้งการสื่อสาร และการเรียนรู้หรือเด็กที่มีร่างกายพิการหรือทุพพลภาพ
  • 3. หรือบุคคลที่ไมส่ามารถพึ่งพาตัวเองได้หรือไมมี่ผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส เพื่อให้เด็กพัฒนาทุกด้านทั้งร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญา อยา่งสมดุล โดยจัดกิจกรรมที่หลากหลายบูรณาการผา่นการเลน่และกิจกรรมที่เป็นประสบการณ์ตรง ผา่นประสาทสัมผัสทั้งห้า เหมาะกบัวยัและความแตกตา่งระหวา่งบุคคลด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหวา่งเด็กกบัพ่อแม่ เด็กกบัผู้เลี้ยงดูหรือบุคคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาเด็กปฐมวยั เพื่อให้เด็กแตล่ะคนได้มีโอกาสในการพัฒนาตนเองตามลา ดับขั้นของ พัฒนาการสูงสุดตามศักยภาพและนาไปใช้ในชีวิตประจา วนัได้อยา่งมีความสุข เป็นคนดี และคนเกง่ของสังคมสอดคล้องกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ขนบธรรมเนียมเนียมประเพณี วฒันธรรมความเชื่อทางศาสนา สภาพทางเศรษฐกิจสังคมโดยความร่วมมือจากบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การเอกชน ฯลฯ จากวิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาที่ผา่นมาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยสานักงานประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น (2552. หน้า 2) พบวา่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีจุดแข็ง ด้านทรัพยากรการจัดการศึกษา กลา่วคือ มีรายได้และทรัพยากรทางการบริหารคอ่นข้างเพียงพอตอ่การจัดการศึกษา และมีความเป็นอิสระ คลอ่งตัวในการบริหารจัดการมีจุดออ่นด้านบุคลากร กลา่วคือ องค์กรป้องครองส่วนทองถิ่นส่วนใหญยั่งขาดบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการศึกษาและอา นาจการตัดสิ นใจส่วนใหญอ่ยูที่่ผู้บริหารท้องถิ่นซึ่งอาจทา ให้เกิด เผด็จการได้ง่ายสาหรับอากาสในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก็คือ นโยบายกระจายอา นาจให้แกอ่งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอา นาจในการจัดการศึกษาและได้รับจัดสรรงบป ระมาณและทรัพยากรทางการบริหารการศึกษาเพิ่มขึ้นแต่อยา่งไรก็ตาม อุปสรรคในการศึกษาที่สาคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็คือประชาชนยังขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของบทบาทหน้าที่ของตนเองตอ่การจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถอน่ไมส่า มารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อยา่งแท้จริง การจัดการศึกษาในระดับปฐมวยัขององค์การบริหารส่วนตา บลหนองมะคา่ มีศูนย์พัฒนาเด็กในสังกดั จา นวน 4 ศูนย์ รับผิดชอบการจัดการศึกษาปฐมวัย
  • 4. สาหรับกลุม่เป้าหมายในพื้นที่ตา บลป่าสังข์ ซึ่งการดา เดินงานที่ผา่นมาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ ยังประสบปัญหาในด้านอาคารสถานที่ ข้อจา กดัด้านงบประมาณ ข้อจา กดัด้านพื้นที่ประสิทธิภาพของผู้ชว่ยครูผู้ดูแลเด็กอนุบาลและปฐมวยั ผู้ปกครองไมใ่ห้ความร่วมมือและเห็นความสาคัญของบทบาทหน้าที่ของตนเองตอ่การจัดการศึกษา ปัญหาเด็กขาดเรียนบอ่ยการเรียนการสอนจึงขาดความต่อเนื่อง ซึ่งทุกปัญหาลว่นส่งผลตอ่การพัฒนาของในพื้นที่ ยิ่งไปกวา่นั้น เด็กเหลา่นี้อยูใ่นชว่งหนึ่งของชีวิตที่สมองมีการเจริญเติบโตมากกวา่ทุกๆ ชว่งอายุ และเป็นชว่งเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการปูพื้นฐานทักษะตา่งๆ ให้แกเ่ด็กเพื่อมีความพร้อมในการพัฒนาในระดับต่อไป จากข้อจา กดัและสภาพปัญหาหลายด้าน การจัดกิจกรรมให้ตรงกบัความต้องการของกลุ่มเป้าหมายเป็นสิ่งสาคัญในการจัดการศึกษาได้อยา่งมีประสิท ธิภาพ ผู้ศึกษาในฐานะนักวิชาการศึกษาประจา องการบริหารส่วนตา บลมะคา่ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบกา้นการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 4 ศูนย์ในสังกดั ผู้ศึกษาได้ศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด เพื่อนาไปใช้แนวทางในการปรับปรุงการบริหารและจัดการศึกษา ใน สังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ ให้สอดคล้องกบัความต้องการของผู้ปกครองเด็ก และจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นตอ่ไป วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย 1. เพิ่อศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองตอ่การดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกดั องค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด 2. เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อการดา เนินงานศูนยืพัฒนาเด็กเล็กทั้ง 4 ศูนย์ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด
  • 5. 3. เพื่อสึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด กรอบแนวคิดในกำรวิจัย ตัวแปรตัน ตัวแปรตาม ปัจจัยส่วนบุคคล -เพศ -อายุ -การศึกษา -อาชีพ ภำพที่1 กรอบแนวคิดการวิจัย สมมติฐำนของกำรวิจัย ผูปกครองเด็กทั้ง 4 ศูนย์ มีระดับความพึงพอใจตอ่งการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกดัสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด ไมแ่ตกตา่งกนั ขอบเขตของกำรศึกษำวิจัย 1. ขอบเขตด้านประชากร ความพึงพอใจของผู้ปกครองเด็กแบง่ออกเป็น 3 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านบุคลากร 2. อาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย 3. ด้านการมีส่วนร่วมด้านการสนับสนุนจากผู้ปกครองและชุมชน
  • 6. ผู้ปกครองเด็กที่ศึกษาอยูใ่นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด ปีการศึกษา 2553 จา นวน 127 คน 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา. การศึกษาครั้งนี้มุง่ศึกษาระดับความพึงพอใจต่อการดา เนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกดั องค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด โดยมีขอบเขตการศึกษา ประยุกต์มาจากมาตรฐานการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรส่วนท้องถิ่น ความพึงพอใจของผู้ปกครองเด็กเล็ก ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด แบง่ออกเป็น 3 ด้านดังนี้ 1. ด้านบุคลากร 2. ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย 3. ดา่นการมีส่วนร่วม และการสนับสนุนจากผู้ปกครองและชุมชน นิยำมศัพท์เฉพำะ ศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก หมายถึง หมายถึง สถานที่ดูและให้การศึกษาเด็ก อายุระหวา่ง 3-5 ปี ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด ซึ่งประกอบไปด้วย 4 ศูนย์ คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองมะคา่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแหลมชนแดน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลา โป่งเพชร และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบอ่ตะเคียน ผู้ปกเด็กครอง หมายถึง ผู้ที่ให้การอุปการดูแลเลี้ยงดูเด็กที่ศึกษาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็กเล็กอนุบำลและปฐมวัย หมายถึง ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ จัดการศึกษาและให้การดูแลเด็กประจา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด ควำมพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกพอใจ ของผู้ปกครองตอ่การดา เนินงานศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก ด้านบุคลากร ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
  • 7. และด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมานจังหวดัร้อยเอ็ด การดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หมายถึง การปฏิบัตรงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ ใน 3 ด้าน คือ ด้านบุคลากรบุคคลลากร ด้านบุคลากร ด้านอาคารสถานที่สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย และด้านการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากผู้ปกครองและและชุมชน ด้ำนบุคลำกร หมายถึง ความรู้/ทักษะในการดูแลเด็ก การควบคุมกริยาวาจาความรับผิดชอบ ตรงตอ่เวลา เสียสละและทุม่เทในการปฏิบัติงาน ใส่ใจดูแลเด็ก ความกระตือรือร้นในการปฏิบัตรงาน การแตง่กาย และสุขอนามยัส่วนตัว การแสวงหาความรู้และพัฒนาตนเองเกยี่วกับงาน การจัดกิจกรรมส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ด้ำนอำคำรสถำนที่สิ่งแวดล้อมและควำมปลอดภัย หมายถึง ความสะอาดเรียบร้อยภายในและภายนอกห้องเรียน รูปแบบการจัดการอุปกรณ์ภายใน ปลอดภัย รูปแบบจัดแบง่มุมเหมาะสมตามสัดส่วน การจัดขยะ สิ่งปฏิกูล ถูกสุขลักษณะ ความปลอดภัยของระบบอุปกรณ์ ไฟฟ้าและตู้เก็บวสัดุ สื่อ ความสะอาดของอุปกรณ์สวา่งตัวเด็ก แสงสวา่ง การถา่ยเทอากาศการป้องกนัพาหนะนาโรคและมาตรการป้องกนัด้านสุขภาพอนามยัเด็ก มาตรป้องกนัอุบัติเหตุ สาหรับเด็ก ด้ำนกำรมีส่วนร่วมและกำรสนับสนุนจำกผู้ปกครองและชุมชน หมายถึงการจัดประชุมชี้แจงผู้ปกครอง/ชุมชน การประชาสัมพันธ์กิจกรรม/การดา เนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองชุมชน การมีส่วนร่วม สนับสนุนการดา เนินงานของหน่วยงานในพื้น ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1. เพื่อทราบระดับความพึงพอใจและผลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองตอ่กา รดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทั้ง 4 ศูนย์ในสังกดัองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด 2. เพื่อได้แนวทางการปรับปรุงการจัดการศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กในสังกัดองค์กรการบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด
  • 9. การศึกษาความพึงพอใจขอผู้ปกครองตอ่การดา เดินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกดัองค์การบริหาร ส่วนตา บลป่าสังข์ จังหวดัร้อยเอ็ด ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสาร ตา ราและการศึกษาที่เกยี่วข้องเพื่อประมวลความรู้และแนวคิดตา่งๆ อันเป็นประโยชน์ตอ่การศึกษา โดยมรสาระสาคัญที่เกยี่วข้องดังนี้ ดังนี้ 1. ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั 2. หลักการจัดการศึกษาปฐมวยั 3. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 4. ความหมายของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5. มาตรบานการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 6. แนวทางการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 7. ความหมายเล็กความสาคัญของเด็กปฐมวัย 8. ความพึงพอใจของบุคคล 9. ข้อมูลเกยี่วกบัการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในองค์การบริหารส่วนตา บลป่าสังข์ อา เภอจตุรพักตรพิมาน จังหวดัร้อยเอ็ด 10. งานวิจัยที่เกยี่วข้อง ปรัชญำกำรศึกษำปฐมวัย การศึกษาปฐมวยัเป็นการพัฒนาเด็ก ตั้งแตแ่รกเกิดถึง 5 ปี บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมกระบวนการการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติ และพัฒนาการเด็กแตล่ะคนตามศักยภาพใต้บริบทสังคม – วฒันธรรม ที่เด็กอาศัยอยูด่้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เกิดคุณคา่ต่อตนเองและสังคม หลักกำรจัดกำรศึกษำปฐมวัย
  • 10. กระทรวงศึกษาธิการ (2540, หน้า 5-7) ได้กลา่วถึงหลักการจัดการศึกษาปฐมวัยคือ การจัดการศึกษาให้ครอบคลุมเด็กปุกประเภท ที่มีอายุระหวา่ง 3-6 ปี เป็นการพัฒนาเด็กโดยการยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษา โดยเน้นพัฒนาเด็กแบบองค์รวม ทั้งร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ผา่นกิจกรรมการเลน่ที่เหมาะสมกับวยั วุฒิภาวะความแตกตา่งระหวา่งบุคคล มีการจัดประสบการณ์ โดยบุคคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านการจัดการศึกษาปฐมวยัและให้ครอบครัว ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม เพื่อให้เด็กสามารถดา รงชีวิตประจา วนัได้อยา่งมีคุณภาพและมีความสุข กระทรวงศึกษาธิการ (2546, หน้า 5) ได้กลา่วถึงหลักการจัดการศึกษาแกเ่ด็กปฐมวยัวา่เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพั ฒนาการตลอดจนการเรียนรู้อยา่งเหมาะสมด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหวา่งเด็กกับพอ่แม่ เด็กกบัผู้เลี้ยงดูหรือบุคลากรที่มีความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และให้การศึกษาเด็กปฐมวยั เพื่อให้เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลา ดับขั้นของพัฒนาการทุกด้านอยา่งสมดุลและเต็มศักย์ภาพโดยกา หน ดหลักการดังนี้ 1. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการที่คลุมเด็กปฐมวยัทุกประเภท 2. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูปละให้การศึกษาโดยเน้นเด็กเป็นสาคัญ โดยคา นึงถึงความแตกตา่งระหวา่งบุคคล และวิถีของเด็กตามบริบทของชุมชน สังคม และ วฒันธรรมไทย 3. พัฒนาเด็กโดยองค์รวมผา่นการเลน่และกิจกรรมที่เหมาะสมกบัวยั 4. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้สามารถเดรงชีวิต ประจา วนัได้อยา่งมีคุณภาพและความสุข 5. ประสานความร่วมมือระหวา่งครอบครัว ชุมชน และสถานศึกษาในการพัฒนาเด็กสานักวิชาการและมาตรการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ (2546, หน้า 5 – 7 ) ได้กลา่วถึงหลักการจัดการศึกษาปฐมวยัประกอบไปด้วย 1. การสร้างหลักสูตรที่เหมาะสม 2. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อตอ่การศึกษาของเด็ก 3. การบูรณาการเรียนรู้
  • 11. 4. การประเมินพัฒนาการเรียนรู้และการเรียนรู้ของเด็ก 5. การบูรณาการการเรียนรู้ 6. ความสัมพันธืระหวา่งความครัวและการเลี้ยงดูเด็ก จากหลักการจัดการศึกษาปฐมวัยดังกลา่วในข้างต้น สรุปได้วา่ การศึกษาปฐมวยัจะต้องจัดให้ครอบคลุมเด็กทุกประเภท โดยยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ โดยคา นึงถึงความแตกต่างระหวา่งบุคคล และวิถีของเด็กตามบริบทของชุมชน สังคมและวฒันธรรมไทย พัฒนาเด็กโดยการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาของเด็กที่เหมาะสมกับวัย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้สามารถดา รงชีวิตประจา วนัได้อยา่งมีคุณภาพปละมีความสุข ประสานความร่วมมือระหวา่งครอบครัว ชุมชน และสถานศึกษาในการพัฒนาเด็ก หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุต่า กวา่ 3 ปี จัดขึ้นสาหรับพอ่แมผู่้เลี้ยงดูหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกบัการอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กเพื่อใช้เป็นแนวทางในการอ บรมเลี้ยงดูและจัดประสบการณ์การเรียนรู้อยา่งเหมาะสมกับเด็กเป็นรายบุคคล จุดหมำย การพัฒนาเด็กอายุต่า กวา่ 3 ปี มุง่เสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ และจิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกบัวยั ความสามารถ ความสนใจและความแตกตา่งระหวา่งบุคคลเพื่อให้เด็กมีคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ ดังนี้ 1. ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและคุณภาพดี 2. ใช้อวยัวะของร่างกายได้คลอ่งแคล่วและสัมพันธ์กนั 3. มีความสุขและแสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกับวยั 4. รับรู้และสร้างปฏิสัมพันธ์กบับุคคลและสิ่งแวดล้อมรอบตัว 5. ชว่งเหลือตัวเองได้เหมาะสมกบัวัย 6. สนใจเรียนรู้สิ่งตา่งๆ รอบตัว กำรจัดประสบกำรณ์
  • 12. การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กต่า กวา่ 3 ปี เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงเกิดความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม ได้พัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซึ่งสามารถจัดในรูปของกิจกรรมบูรณาการผา่นการเลน่ ดังนี้ 1. หลักการจัดประสบการณ์ ควรคา นึงถึงสิ่งสาคัญตอ่ไปนี้ 1.1 เลี้ยงดูเด็กให้มีสุขภาพที่ดีและปลอดภัย 1.2 มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกบัเด็กด้วยวาจาและทา่ทีอบอุน่เป็นมิตร 1.3 จัดประสบการณ์เรียนรู้ให้สอดคล้องกบัธรรมชาติ ความต้องการและพัฒนาการของเด็ก 1.4 จัดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยเอื้อตอ่การเรียนรู้ตามวยัของเด็ก 1.5 ประเมินการเจริญเติบโตและพัฒนาเด็กอยา่งตอ่เนื่องเสมอ 1.6 ประสานความร่วมมือระหวา่งครอบครัว ชุมชน และ สถานศึกษาในการพัฒนาเด็ก 2. แนวการจัดประสบการณ์ 2.1 ดูแลสุขภาพอนามยัและตอบสนองความต้องการพื้นฐานทั้งร่างกายและจิตใจของเด็ก 2.2 สร้างบรรยากาศความรัก ความอบอุน่ ความไวว้างใจ และความมนั่คงทางอารมณ์ 2.3 จัดประสบการณ์ตรงให้เด็กเลือก ลงมือกระทา และเรียนรู้จากประสารทสัมผัสทั้ง 5 และความเคลื่อนไหวผา่นการเลน่ 2.4 เปิดโอกาสให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กบับุคคลที่แวดล้อมและสิ่งตา่งๆ รอบตัวเด็กอยา่งหลากหลาย 2.5 จัดสถานที่ วสัดุอุปกรณ์ เครื่องใช้และของเลน่ที่สะอาด ปลอดภัยเหมาะสมเด็ก 2.6 ใช้การสังเกตและติดตามการเจริญเติมโตและพัฒนาการอยา่งตอ่เนื่องสม่า เสมอ 2.7 ให้ครอบครัว ชุมชน และสถานศึกษามีส่วนร่วมในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ให้กบัเด็ก 3. การจัดกิจกรรมประจา วนั กิจกรรมสาหรับเด็กอายุต่า กวา่ 3 ปี มีความสาคัญอยา่งยิ่งต่อการวางรากฐานการเรียนรู้และพัฒนาทักษะทักษะพื้นฐานของเด็กทั้งร่า งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาการจัดกิจกรรมควรจัดให้สอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจ และความสามารถของเด็กตามวยัโดยบูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้ผา่นการอบรมเลี้ยงดู วิถีชีวิตประจา วนัและการเลน่ของเด็กตามธรรมชาติที่เหมาะสมกับวยั ดังนี้
  • 13. 3.1 การฝึกสุขนิสัยและลักษณะนิสัยที่ดี เป็นกิจกรรมที่สร้างเสริมสุขนิสัยที่ดีในเรื่องการรับประทานอาหาร การนอน การทา ความสะอาดร่างกาย การขับถา่ย ตลอดจนปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพอนามยัและการแสดงมารยาทที่สุภาพนุ่มน วลแบบไทย 3.2 การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็นกิจกรรมที่ชว่ยกระตุ้นการรับรู้ผ่าน ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการมองเห็น การได้ยินเสียง การลิ้มรส การได้กลิ่น และการสัมผัส การเลน่มองตนเองจากกระจกเงา การเลน่ของเลน่ที่มีพื้นผิวแตกตา่งกนัเป็นต้น 3.3 การฝึกการประสานสัมพันธ์ระหวา่งมือ-ตา เป็นกิจกรรมที่ฝึกความแขง่แกร่งของกล้ามเนื้อ นิ้วมือให้พร้อมจะหยิบจับฝึกการทา งานอยา่งสัมพันธ์กนัระหวา่งมือและตารวมทั้งฝึกให้เด็กรู้จั กคาดคะเนหรือกะระยะทางของสิ่งตา่งๆ ที่อยูร่อบตัวเทียบกับตัวเองในลักษณะใกล้กับไกล เชน่ มองโมบายที่มีสีและเสียง ร้อยลูกปัด เลน่พลาสติกสร้างสรรค์ เลน่หยอดบล็อกรูปทรงลงกลอ่ง ตอกหมุด โยนรับลูกบอล ตักน้าหรือทรายใส่ภาชนะ เป็นต้น 3.4 การเคลื่อนไหวและการทรงตัวเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการใช้กล้ามเนื้อแขนกบัขากับมือนิ้ว และส่วนตา่งๆ ของร่างกายในการเคลื่อนไหว หรือออกกา ลังกายทุกส่วน โดยการจัดให้เด็กเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อใหญ่-เล็ก ตามความสามารถของวัย เชน่ คว่า คลาน ยื่น เดิน เลน่นิ้วมือ เคลื่อนไหวส่วนตา่งๆ ของร่างกายตามเสียงดนตรี วิ่งไลจั่บ ปีนป่ายเครื่องเลน่สนาม เลน่ชิงช้า มา้โยก ลากจูงของเลน่มีล้อ ขี่รถจักรยานสามล้อ เป็นต้น 3.5 การส่งเสริมด้านอารมณ์ และ จิตใจ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการเลี้ยงดูในการตอบสนองความต้องการของเด็กด้านจิตใจ โดยการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้เด็กเกิดความรู้สึกอบอุน่และมีความสุข เชน่ อุ้ม โอบกอด ตอบสนองตอ่ความรู้สึกที่เด็กแสดงออกเป็นต้น
  • 14. 3.6 การส่งเสริมทักษะทางสังคม เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการสร้างความสัมพันธ์กบัพ่อแม่ผู้เลี้ยงดู และบุคคลใกล้ชิด โดยการพูดหยอกล้อ หรือเลน่กับเด็ก หรือพาเด็กไปเดินเลน่นอกบ้าน พบปะเด็กอื่นหรือผู้ใหญ่เชน่ เลน่จ๊ะเอ๋ พาไปบ้านญาติ เป็นต้น 3.7 การส่งเสริมทักษะทางภาษา เป็นกิจกรรมที่ฝึกให้เด็กเปลง่เสียง เลียนเสียงพูดของคน เสียงสัตว์ตา่งๆ รู้จักชื่อเรียกของตนเอง ซึ่งพอ่แมห่รือผู้คนใกล้ชิด และสิ่งตา่งๆ รอบตัว ตลอดจนรู้จักสื่อความหมายด้วยคา พูดและทา่ทาง เชน่ ชี้ชวนและสอนให้รู้จักชื่อเรียงสิ่งตา่งๆ จากของจริง เลา่นิทานหรือร้องเพลงง่ายๆ ให้ฟัง เป็นต้น 3.8 การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมที่ฝึกให้เด็กได้แสดงออกทางความคิดตามจินตนาการของตนเอง เช่น ขีดเขียนวาดรูป เลน่สมมติ ทา กิจกรรมศิลปะ เลน่ของเลน่สร้างสรรค์ เป็นต้น กำรใช้หลักสูตร สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั พอ่แม่ผู้เลี้ยงดูหรือผู้เกยี่วข้องกบัการอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็ก จะนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวยัไปใช้อยา่งมีประสิทธิภาพ ตรงตามเจตนารมณ์ของหลักสูตรที่มุง้เน้นการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมเรียนรู้ ควรดา เนินการดังนี้ 1. การใช้หลักสูตรการศึกษาประถมวยัสาหรับสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั เด็กตั้งแตแ่รกเกิดจนถึง 3 ปี ควรได้รับการอบรมเลี้ยงดูจากพอ่แมห่รือบุคคลในครอบครัวแตเ่นื่องจากสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ ยนแปลงไปทา ให้ต้องออกไปทา งานนอกบ้าน ประอบกบัครอบครัวส่วนใหญมั่กจะเป็นครอบครัวเดี่ยว พอ่แมต่้องนาเด็กไปรับการเลี้ยงดูใสถานพัฒนาเด็กปฐมวยัอยา่งมีประสิทธิภาพตรงตามปรัชญา หลักการของหลักสูตรการศึกษาปฐมวยัที่มุง้เน้นการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการการทุก ด้าน รวมทั้งการประสานความร่วมมือระหวา่ครอบครัว ชุมชน และ ท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กปฐมวยัควรจัดให้มีการดา เนินการใช้หลักสูตรการ ศึกษาปฐมวยั ดังนี้
  • 15. 1.1 การเตรียมการใช้หลักสูตร 1.1.1 ศึกษารวบร่วมข้อมูลตา่งๆ เชน่ วิธีการอบรมเลี้ยงดูและความต้องการของพอ่แม่ ผู้ปกครอง วฒันธรรมและความเชื่อของท้องถิ่น ความพร้อมของสถานพัฒนาเด็กปฐมวยัรวมทั้งหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ฯลฯ นาข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อกา หนดเป้าหมายการจัดการกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็ กแตล่ะชว่งอายุ 1.1.2 จัดหาผู้เลี้ยงดูเด็กหรือผู้สอนที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ตลอดจนมีเจตคติที่ดีตอ่การพัฒนาเด็ก และจัดให้มีเอกสารหลักสูตรและคู่มือตา่งๆ อยา่งเพียงพอที่จะใช้เป็นแนวทางดา เนินงาน ตลอดจนพัฒนาบุคคลากรที่เกยี่วข้องทุกฝ่ายให้มีความรู้ความเข้าใจในเป้าหมายขอ งการพัฒนาเด็กปฐมวยัอยา่งชัดเจน 1.2 การดา เนินการใช้หลักสูตร การนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวยัไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้บรรลุตามปรัชญาหลักการ และจุดหมาย มีแนวทางดา เนินงาน ดังนี้ 1.2.1 การจัดทา สาระของหลักสูตร ควรดา เนินการดังตอ่ไปนี้ - ศึกษาจุดหมายหรือคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ตามที่หลักสูตรระบุถึงความสามารถหรือพฤติกรรมการเรียนที่ต้ องเกิดขึ้นหลังจากเด็กได้รับประสบการณ์ที่เหมาะสมในแตล่ะชว่งอายุ - กา หนดสาระที่ควรเรียนรู้ในแตล่ะชว่งอายุอยา่งกวา้ง ๆ ให้ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน โดยผา่นประสบการณสาคัญและมีลา ดับขั้นตอนของการเรียนรู้จากง่ายไปหายากหรือจากสิ่งใกล้ตัวไปไกลตั ว - จัดทา แผนการจัดประสบการณ์พร้อมสื่อการเรียนรู้ โดยคา นึงถึงความยากง่ายตอ่การรับรู้และเรียนรู้ตามความสามารถของเด็กแตล่ะวัย และความแตกตา่งทางสังคมวฒันธรรมโดยอาจประยุกต์ใช้สื่อที่ทา ขึ้นเองได้
  • 16. 1.2.2 การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กมุง่เน้นการจัดประสบการณ์ที่ยึดหลักเป็นสาคัญ โดยคา นึงถึงการพัฒนาเด็กโดยองค์รวม การจัดกิจกรรมต่างๆ ตามกิจวตัรประจา วนัและการบูรณาการผา่นการเลน่ 1.2.3 การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ สถานพัฒนาเด็กปฐมวยัต้องจัดบรรยากาศที่อบอุน่คล้ายบ้านหรือครอบครัว ตลอดจนดูแลความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกรวมทั้งจัดให้มีสื่อและอุปกรณ์ตา่งๆที่ห ลากหลายเหมาะสมกบัเด็ก เพื่อสนับสนุนให้เด็กได้พัฒนาอยา่งเต็มศักยภาพและเรียนรู้อยา่งมีความสุข ควำมหมำยของศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ภาษาอังกฤษใช้คา วา่ Child Development Center มีความหมายและที่มา ดังนี้ กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น (2547, หน้า 1) ให้ความหมายวา่สถานที่ดูแลและให้การศึกษาเด็ก อายุระหวา่ง 3 – 5 ปี มีฐานะเทียบเทา่สถานศึกษา เป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดตั้งเอง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของส่วนราชการตา่งๆ ที่ถา่ยโอนให้อยูใ่นความดูแลรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เชน่ ศูนย์อบรม เด็กกอ่นเกณฑ์ในวดั/มสัยิด กรมการศาสนา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กรมการพัฒนาชุมชน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (เด็ก 3ขวบ) รับถา่ยโอนจากสานักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ ฯลฯ ซึ่งตอ่ไปนี้เรียกวา่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น (2553, หน้า1) ให้ความหมายวา่ สถานศึกษาที่ให้การอบรมเลี้ยงดู จัดประสบการณ์และส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ให้เด็กเล็กมีความพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญาสังกดัองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มำตรฐำนกำรดำเนินงำนศูนย์พัฒนำเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเล็กที่ส่วนราชการตา่งๆ ถา่ยโอนให้องค์กรปกครองครองส่วนท้องถิ่นและที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดตั้งขึ้นเอง ถือเป็นสถานศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 18 และ มาตรา 4
  • 17. แตก่็ยังมีความแตกตา่งหลากหลาย ทั้งในด้านโครงสร้างการบริหารงาน ได้แก่ด้านบุคลากร ด้านบริหารจัดการ ด้านวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตร ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย ด้านการมีส่วนร่วมและสนับสนุนจากชุมชนรวมถึงการพัฒนาคุณภาพ ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องรับผิดชอบภารกิจดา เนินการการดา เนินการจัดการศึกษาให้ได้คุณภาพ และมาตรฐานเพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในความผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสถานศึกษาแห่ งแรกที่มีคุณภาพและมาตรฐาน สามารถให้บริการตอบสนองชุมชนด้านการจัดการศึกษาแกเ่ด็กปฐมวยั อายุ 2 – 5 ขวบ อยา่งทั่วถึงและเป็นทรัพยากรทีมีคุณคา่ตามอา นาจหน้าที่ และเจตนารมณ์ของรัฐบาล ดังนั้นกรมส่งเสริมการปกคอรงส่วนท้องถิ่นจึงได้จัดทา มาตรฐานการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขึ้นปี พ.ศ. 2547 เพื่อเป็นแนวทางให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถือปฏิบัติในการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้มีมาตรฐานและมีคุณภาพเป็นไปในแล้วเดียวกนัแบง่มาตรฐานออกเป็น 4 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านบุคลากรและการบริหารจัดการ 2. ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย 3. ด้านการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากชุมชน ปี พ.ศ. 2553 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นเห็นวา่ มาตรฐานการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จัดทา ขึ้นในปี พ.ศ.2547 นั้น ควรจะปรับปรุงเนื้อหาหลักเกณฑ์ หรือหนังสือสั่งการตา่ง ๆ ให้เป็นปัจจุบัน สอดคล้องกบันวตักรรมตา่งๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปจึงได้ดา เนินการปรับปรุงมาตรฐานการดา เนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรป กครองส่วนท้องถิ่น โดยแบง่มาตรฐานออกเป็น 6 ด้าน ดังนี้ 1. มาตรฐานด้านการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่รับผิดชอบการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีม าตรฐานและคุณภาพตามหลักวิชาการ กฎหมาย ระเรียบ และหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้องโดยความร่วมมือสนับสนุนของประชาชนในชุมชนท้องถิ่น นั้นๆ แบง่การบริหารจัดการเป็น 3 ด้านได้แก่
  • 18. 1.1 ด้านการบริหารงาน - การจัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ต้องมีความพร้อมด้านงบประมาณ อาคารสถานที่ และกา หนดให้มีโครงสร้างส่วนราชการทั้งบุคลากรที่รับผิดชอบ โดยให้ดา เนินการตามขั้นตอน กรณีที่ไมมี่สถานที่กอ่สร้างเป็นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของกรรมสิทธ์ิอนุญาตให้ใช้สถานที่กอ่สร้าง และการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแกอ่งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - การย้าย / รวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยต้องมีการสารวจความต้องการของ ชุมชนแล้วเสนอตอ่ผู้บริหารท้องถิ่น เสนอขอความเห็นจากสภาทองถิ่น จัดทา แผนย้าย / รวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รายงานการย้าย / รวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นทราบ - การยุบเลิกศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศึกษาวิเคราะห์เหตุผลความจาเป็นในการยุบเลิกพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก และเสนอองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อดา เนินการ สารวจความต้องการของชุมชน พิจารณาประกาศยุบเลิกศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและรายงานให้กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นทราบ - การให้บริการ อบรมเลี้ยงดู การจัดประสบการณ์และส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนา ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญาที่เหมาะสมตามวัยตามวยัตามศักยภาพของเด็กแต่ละ่คน - การจัดตั้งคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ต้องประกอบด้วยบุคคลที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพิจารณาคัดเลือกและแ ตง่ตั้งโดยกา หนดจา นวนตามความเหมาะสมจากชุมชนโดยมีหัวหน้าศูนย์พัฒ นาเด็กเล็กเป็นกรรมการและเลขานุการ 1.2 ด้านการบริหารงบประมาณ
  • 19. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบริหารงบประมาณศูนย์เด็กเล็กที่ได้รับการอุดหนุนจากกรมส่งเสริมกา รปกครองส่วนท้องถิ่น จากเงินรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเงินรายได้ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยให้ดา เนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการนาเงินรายได้ของสถานศึกษ าไปจัดสรรเป็นคา่ใช้จา่ยในการจัดการศึกษาในสถานศึกษา สังกดัองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2551 และหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้อง 1.3 การบริหารงานบุคคล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบริหารงานบุคคล ต้องยึดหลักสมรรถนะความเทา่เทียมกนัในโอกาสและประโยชน์ของทางราชการเป็นสาคัญ โดยกระบวนการที่ได้มาตรฐานยุติธรรมและโปร่งใสเพื่อรองรับการตรวจสอบตามแนวทางบริหารกิจการบ้า นเมืองที่ดี สนับสนุนการให้ทุนการศึกษาแกบุ่คลากรเพื่อให้พัฒนาศักยภาพในการบริหารงานอยา่งตอ่เนื่องเพื่อยกระดั บคุณภาพการศึกษา 2. มาตรฐานด้านบุคลากร บุคลากรที่เกยี่วข้องในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประกอบด้วย หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครู ดูแลเด็กผู้ประกอบอาหาร ภารโรง และพนักงานจ้างที่ปฏิบัติหน้าที่อื่นจะต้องมีคุณสมบัติ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้อยา่งถูกต้องตามหลักวิช าการด้วยความเหมาะสมอยา่งมีคุณภาพ กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นจึงได้กา หนดคุณสมบัติสถานภาพและบทบาทหน้าที่ความรับ ผิดชอบตา แหน่งหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และครูผู้ดูแลเด็ก โดยผู้บริหารองค์กรส่วนท้องถิ่น และหัวหน้าส่วนราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีคุณภาพ และได้มาตรฐาน 3. มาตรฐานด้านอาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่อบรมเลี้ยงดู จัดประสบการณ์และส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้แกเ่ด็ก ดังนั้น ในการกอ่สร้างหรือปรับปรุงอาคาร สถานที่และจัดภูมิทัศน์สภาพแวดล้อมทั้งภายในอาคาร และภายนอกอาคาร ต้องคา นึงถึงความมนั่คง แข็งแรง ถูกสุขลักษณะ มีความเหมาะสมและปลอดภัยแกเ่ด็กเล็ก ตลอดจนการส่งเสริมสุขภาพ
  • 20. ส่งเสริมพัฒนาเด็กให้ผู้ปกครองมีความมนั่ใจ ไวว้างใจ การกอ่สร้างและพัฒนาอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะมีส่วนชว่ยในการส่งเสริมและพัฒนาเด็กอาคารสถา นที่สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโดยการจัดสภาพแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ อันจะส่งผลตอ่สุขภาพโดยตรงในการป้องกนัการแพร่กระจายของโรคติดตอ่ สามารถลดความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุส่งเสริมความปลอดภัย ให้กบัเด็กและฝึกสุขนิสัยให้มีพฤติกรรมที่ถูกต้อง ซึ้งเป็นพื้นฐานสาคัญของการเติบโตเป็นผู้ใหญที่่มีคุณภาพ 4. มาตรฐานด้านวิชาการ และกิจกรรมตามหลักสูตร การอบรมเลี้ยงดูการจัดประการณ์การเรียนรู้ และส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กอายุ 2 – 5 ปี เป็นภารกิจสาคัญในการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้เด็กเล็กไ ด้รับการอบรมเลี้ยงดู และได้รับการศึกษาเพื่อการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ – จิตใจ สังคมและสติปัญญาตามวยั และความสามารถของเด็ก โดยใช้หลักสูตรศึกษาปฐมวยัพุทธศักราช 2546 ตามแนวคิดการบูรณาการหน่วยการเรียนรู้ที่เกยี่วข้องกบัสังคม – วฒันธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นพัฒนาขึ้นมาจากการสารวจความต้องการของบุคคลที่เกี่ยวข้องในท้องถิ่นมาเป็นแนว ทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและการพัฒนาของเด็กแต่ละคน ตามศักยภาพ ภายใต้บริบทสังคม – วฒันธรรม ที่เด็กอาศัยอยู่ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ 5. มาตรฐานด้านส่งเสริมเครือขา่ยการพัฒนาเด็กปฐมวยั ในการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงต้องคา นึงถึงการมีส่วนร่วม ทุกภาคส่วนในสังคมเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย อีกทั้งยังเป็นการใช้ต้นทุนทางสังคมที่มีอยูใ่นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่ อการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการจัดการศึกษาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นการสร้างพื้นฐานตอ่ไปอย่ างมีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองความต้องการของสังคมจนเป็นที่ยอมรับในศักยภาพในการบริหารจัดการศึกษา ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วมจึงมีความจา เป็นอยา่งยิ่งต่อการ พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพราะจะทา ให้สามารถขับเคลื่อนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไปสู่มาตรฐานการบริ
  • 21. หารแบบมีส่วนร่วม ซึ่งเป็นการระดมสรรพกา ลังจากทุกภาคส่วนของสังคมภายใต้ทักษะการบริหารจัดการอยา่งมีประสิ ทธิภาพของผู้บริหารองค์กรส่วนท้องถิ่น หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้เกยี่วข้องจะทา ให้เกิดความพร้อมในที่จะร่วมมือในการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ กา้วหน้าตอ่ไป 6. มาตรฐานด้านส่งเสริมเครือขา่ยการพัฒนาเด็กปฐมวยั เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวยัที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานในการอบรมเลี้ยงดู จัดประสบการณ์ และส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้แกเ่ด็กปฐมวยัอยา่งครอบคลุม กวา้งขวางเป็นพื้นฐานเรียนรู้แกเ่ด็กปฐมวยัอยา่งครอบคลุม กวา้งขวาง เป็นพื้นฐานของการศึกษา เพื่อพัฒนาคนอยา่งมีคุณภาพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ชว่ยครูผู้ดูแลเด็ก ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องขององค์กรส่วนปกครองส่วนท้องถิ่นจึงต้องส่งเสริมการสร้างเครือขา่ยการพัฒนาเด็ กปฐมวยัทั้งในระดับองค์กรส่วนปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับอา เภอ ระดับจังหวดั ระดับภาค โดยองค์กรส่วนปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถปรับรูปแบบและกิจกรรมภายใต้ความร่วมมือได้ตามบริบทขอ งแตล่ะท้องถิ่น แนวทำงกำรบริหำรจัดกำรศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จะต้องคา นึงถึงขอบขา่ยของงานสายการบังคับบัญชาและระเบียบกฎหมายที่เกยี่วข้อง ทั้งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 ที่กา หนดให้สถานศึกษาต้องบริหารจัดการให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กา หนด โดยจะต้องจัดให้มีการประเมินตนเองทุกปี เพื่อตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดังนั้น เพื่อนให้ศูนย์พัฒนาขนาดเล็กสามารถให้การดูแลและพัฒนาจัดการศูนย์ฯ ให้ครอบคลุมลักษณะงานตอ่ไปนี้ 1. งานบุคลากรและการบริหารจัดการ
  • 22. 2. งานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม 3. งานวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตร 4. งานการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากชุมชน 5. งานธุรการ การเงิน และพัสดุ ทั้งนี้ หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กควรจัดให้มีผู้รับผิดชอบงานดังกลา่วโดยแบง่และมอบหมายงานตามควา มถนัด ความสามารถ และลักษณะของงานที่ต้องดา เนินการ ทั้ง 5 งานอยา่งไรก็ตามในการจัดแบง่งานดังกลา่วควรคา นึงถึงความพร้อมและศักย์ภาพของแต่ละศูนย์ฯ ในองค์กรส่วนปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดเล็กอาจรวมลักษณะงานวิชาการและงานกิจการนักเรียนเ ป็นงานพัสดุ เป็นกลุม่งานเดียวกนั เป็นต้นการบริหารงานทั้ง 5 งานให้มีคุณภาพมีแนวทางการดา เนินงาน ดังนี้ 1. งานบุคลากรและการบริหารจัดการ มีลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ดังนี้ 1.1 สรรหา หรือจัดจ้างบุคลากรเพื่อปฏิบัติหน้าที่ในศูนย์พัฒนาเด็กมีจา นวนตามความจา เป็นและสอด คล้องกบัศักยภาพของ องค์กรส่วนปกครองส่วนท้องถิ่น เชน่ หัวหน้าศูนย์ ผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหาร ผู้ทา ความสะอาด โดยใช้หลักเกณฑ์การสรรหาการจ้างและตอ่สัญญาจ้างตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ทั่วไป ที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนท้องถิ่นกา หนด ยกเวน้กรณีศูนย์อบรมเด็กกอ่นเกณฑ์ในวัด/มสัยิด การจ้างและตอ่สัญญาจ้าง ให้คณะกรรมการบริหารศูนย์วัด/มสัยิดเป็นผู้พิจารณาสรรหาและแจ้งให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นเป็นผู้จัดจ้าง 1.2 กา หนดจา นวนอัตรากา หนดบุคลากร และเงินเดือน คา่จ้าง คา่ตอบแทน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดังนี้ 1.2.1 ผู้ดูแลเด็ก จา นวนสัดส่วนตอ่เด็ก 1 : 20 หากมีเศษตั้งแต่10 คนขึ้นไปให้เพิ่มผู้ดูแลเด็กอีก 1 คน 1.2.2 ผู้ประกอบอาหารกา หนดจา นวนได้ตามความจา เป็นเหมาะสมตามฐานะการคลังข ององค์ปกครองส่วนท้องถิ่น
  • 23. 1.2.3 ผู้ทา ความสะอาดจา นวนได้ตามขนาดได้ตามขนาดของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก คือศูนย์ ขนาดเล็ก (จา นวนเด็กไมเ่กิน 200 คน) มีอัตราไมเ่กิน 2 คน ศูนย์ฯ ขนาดใหญ่ (จา นวนเด็กตั้งแต่200 คนขึ้นไป) มีอัตราไมเ่กิน 4 คน ตามฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1.2.4 กา หนดอัตราเงินเดือน คา่จ้าง คา่ตอบแทน สิทธิหรือสวสัดิการอื่นที่พึ่งได้รับตามที่มีกฎหมายบัญญัติไว้ดังนี้ 1) ผู้มีวุฒิการศึกษาภาคบังคับและมธัยมศึกษาปีที่ 6 กา หนดอัตราเดือนละไมน่้อยกวา่ 4,880 บาท หากมีประสบการณ์ในการทา งานที่เกี่ยวกบัการพัฒนาเด็กปฐมวยัมาแล้วไมน่้ อยกวา่ 5 ปี และมีหนังสือรับรองกา หนดอัตราเดือนละไมน่้อยกวา่ 5,530 บาท 2) ผู้มีวุฒิการศึกษาประกอบวิชาชีพ (ปวช.) หรือผู้ที่มีวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) กา หนดอัตราเงินเดือนละ่ไมน่้อยกวา่ 5,230 บาท 3) ผู้ที่มีวุฒิการศึกษาไมต่่า กวา่ปริญญาตรีทางการศึกษาขึ้นไป สาขาวิชาเอกอนุบาลศึกษาหรือปฐมวัย หรือปริญญาอื่นที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนท้องถิ่นรับรองกา หนดอัต ราเดือนละไมน่้อยกวา่ 7,630 บาท 4) ผู้ที่มีวุฒิการศึกษาตาม 1 – 3 ต้องมีประสบการณ์ในการทา งานเกยี่วกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยมาแล้วไมน่้อย กวา่ 2 ปี 5) สิทธิ หรือสวสัดิการอื่นที่พึ่งได้รับ 1.2.5 กา หนดการจัดชั้นเรียนห้องละไมเ่กิน 20 คน หากมีเศษเกิน 10 คน ให้จัดเพิ่มได้อีก 1 ห้อง 1.2.6 จัดงบประมาณคา่ใช้จา่ยด้านบุคลากร เชน่ เงินเดือน คา่จ้าง คา่ตอบแทน สวสัดิการอื่นที่พึ่งได้รับตามกฎหมายบัญญัติ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากร 1.2.7 กา หนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1.2.8 จัดระเบียบ ข้อบังคับ และทะเบียนประวตัิบุคลากร
  • 24. 1.2.9 นิเทศ อบรม และพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถในหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างตอ่เนื่อง 1.2.10 บริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กด้านอื่นๆ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและบุคลากรที่เกยี่วข้องควรปฏิบัติตามมาตรฐานด้านบุคลากรและการ บริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่กา หนดไว้ 2. งานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม ให้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกา หนดไว้ 3. งานวิชาการและกิจกรรมตามสูตร ให้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ด้านวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตรกา หนดไว้ 4. งารการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากชุมชน ให้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กด้านการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากชุมชน 5.งานธุรการ การเงิน และพัสดุ มีลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ดังนี้ 5.1 งานธุรการ และสารบรรณ ได้แก่การจัดทา ข้อมมูลสถิติ จัดทา ทะเบียนหนังสือรับ ส่ง การควบคุมและจัดเก็บเอกสาร การจัดทา ประกาศคา สั่ง การจัดทา ทะเบียนนักเรียนการรับสมัครนักเรียน 5.2 งานการเงิน ได้แก่การจัดทา งบประมาณ การทา บัญชีการเงิน การเบิกจา่ยซึ่งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะถือปฏิบัติเกี่ยวกับรายรับจา่ยตามระเบียบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ นและกฏหมายที่เกยี่วข้อง 5.3 งานพัสดุ เป็นการจัดทา จัดซื้อ จัดหาและจา หน่ายทะเบียนวสัดุ รวมทั้งเสนอความต้องการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดา เนินการ ควำมหมำยและควำมสำคัญของเด็กปฐมวัย ทรงสุดา ภูส่วา่ง ได้ให้ความายและความสาคัญของเด็กปฐมวยั ดังนี้