SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
สภาพเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร
ดานเศรษฐกิจ
ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดมุกดาหาร (GPP ) ป ๒๕๕๓ มีมูลคาเทากับ ๑๖,๙๙๙ ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปทีแลว
๑,๘๔๙ ลานบาท คิดเป็นรอยละ ๑๒.๒๐ เป็นผลมาจากการเพิมขึนของมูลคาการผลิตทังภาคการเกษตร และภาค
นอกการเกษตร ทั้งนี้มูลคาผลิตภัณฑจังหวัดตอหัว (GPP per capita) ป ๒๕๕๒ เทากับ ๔๙,๔๑๖ บาทตอคนตอป
โครงสรางเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร ป ๒๕๕๓ ขึนอยูกับกิจกรรมการผลิต ๕ สาขาทีสาคัญ คือ สาขา
เกษตรกรรม มีมูลคา ๑,๓๑๕ ลานบาท สาขาขายสง ขายปลีกฯ มูลคา ๑,๑๗๓ ลานบาท สาขาการศึกษา มูลคา
๗๐๔ ลานบาท สาขาอุตสาหกรรม มูลคา ๕๙๖ ลานบาท และสาขาขนสง มูลคา ๔๘๑ ลานบาท โดยคิดเป็น
สัดสวนรอยละ ๒๐.๔๙, ๑๘.๒๗, ๑๐.๙๗, ๙.๒๘ และ ๗.๕๐ ตามลาดับ ทังนีปัจจัยหลักในการขับเคลือนเศรษฐกิจ
จังหวัด คือ ภาคเกษตรกรรม โดยมีพืชเศรษฐกิจทีสาคัญ คือ ขาว มันสาปะหลัง ออย และยางพารา รองลงมาเป็น
กิจกรรมดานการคา (การขายสง และขายปลีก)
โครงสรางเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร ป พ.ศ. ๒๕๕๓
(พิจารณาจากตัวเลขผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดมุกดาหาร ณ ราคาคงที่)
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.)
ภาวะเศรษฐกิจ ป ๒๕๕๔
ตัวเลขเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหารปี ๒๕๕๔ บงชี้วา ภาวะเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหารมีทิศทางขยายตัว ตัวเลข
แสดงใหเห็นถึงการขยายตัวเป็นบวกของการผลิต ดานภาคบริการและการทองเทียว สอดคลองกับการใชจายเพือการ
อุปโภคบริโภค และการลงทุนภาคเอกชนโดยรวมขยายตัว พรอมกันนีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจยังอยูในเกณฑดี เป็น
ผลมาจากสถานการณทางการเมืองมีความชัดเจนมากขึน หลังมีการเลือกตังชวงเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๔ เป็นผลใหนัก
ลงทุนและผูประกอบการมีความเชือมันตอระบบเศรษฐกิจมากขึน ประกอบกับราคาพืชผลทางการเ กษตรทีทรงตัวอยู
ในระดับสูง ทาใหรายไดเกษตรกรเพิมขึนตามราคาพืชผลการเกษตร เป็นผลใหประชาชนมีอานาจซือมากขึน ซึง
ปจจัยเหลานี้เปนตัวสนับสนุนขับเคลื่อนใหเศรษฐกิจโดยรวมยังคงขยายตัวดี
๑. เศรษฐกิจดานอุปทาน (ดานการผลิต)
การผลิตโดยรวมของจังหวัด ป ๒๕๕๔ หดตัวจากปีทีผานมา ชีวัดไดจากการผลิตในภาคการเกษตร มูลคา
ผลผลิตพืชเศรษฐกิจทีสาคัญทัง ขาว และ มันสาปะหลัง ลดลงเมือเทียบกับปีทีผานมา เป็นผลจากการลดลงของ
ปริมาณผลผลิต สะทอนใหภาคอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรปนี้ลดลงเชนกัน อยางไรก็ตาม ราคาพืชผล
ทางการเกษตรปีนีอยูในระดับสูงเมือเทียบกับปีทีผานมา ในขณะทีการบริการดานการทองเทียวของจังหวัดยังคง
ขยายตัวดีตอเนือง สวนหนึงมาจากจังหวัดมีพรมแดนติดกับประเทศเพือนบานอยางประเทศลาว และมีสะ พาน
มิตรภาพ ไทย – ลาว แหงที่ ๒ ทีมีการคมนาคมทีสะดวกเป็นสิงดึงดูดใหนักทองเทียวใชเสนทางทีจังหวัดมุกดาหาร
มากขึ้นทุกป
๑.๑ ภาคการเกษตร
๑.๑.๑ สาขาเกษตรกรรม
โครงสรางภาคการเกษตรทีสาคัญของจังหวัดมุกดาหาร สวนใหญขึนกับสาขาเกษตร มีพืชเศรษฐกิจทีสาคัญ
ไดแก ขาว ออยโรงงาน มันสาปะหลัง และยางพารา พืชสวนอืนๆ เชน มะขาม มะมวง ถัวลิสง และพืชผักตางๆ ดาน
ปศุสัตว มีสัตวเศรษฐกิจทีสาคัญคือโคและสุกร สวนดานการประมงสวนใหญจะเป็นการเพาะเลียงสัตวนาจืด ไดแก
ปลานิลในกระชัง ซึ่งอาศัยแหลงนาธรรมชาติในการเพาะเลี้ยง
การผลิตสาขาเกษตรกรรม ในป ๒๕๕๔ ขยายตัวตอเนือง พิจารณาจากผลผลิตพืชเศรษฐกิจทีสาคัญ ไดแก
ขาว มันสาปะหลัง ยางพารา เป็นตน มีผลผลิตออกสูตลาดตอเนือง ประกอบกับราคายังคงเคลือนไหวอยูในเกณฑดี
รายละเอียดมีดังนี้
ขาวนา ป ในป ๒๕๕๔ จังหวัดมุกดาหาร มีพื้นที่ปลูกขาวนาป จานวน ๕๒๕,๐๖๖ ไร ผลิตขาวได
๒๒๖,๙๐๑ ตัน มูลคาผลผลิตขาวนาปีเฉลี่ย จานวน ๓,๒๘๒ ลานบาท ลดลงจากปที่ผานมารอยละ ๐.๔๖ เป็นผลมา
จากการลดลง ของปริมาณการผลิตขาวเหนียวนาป ทาใหแมราคาขาวเฉลี่ยจะสูงขึ้นเมือเทียบกับปีทีผานมา โดยราคา
ขาวเฉลียตันละ
๑๕,๖๙๕ บาท ก็ยังไมสามารถดึงใหมูลคาผลผลิตขาวนาปขยายตัวเพิ่มขึ้นได
อาเภอ
ขาวนาป ผลผลิต และผลผลติ เฉลี่ยตอไร ปเพาะปลูก ๒๕๕๔/๒๕๕๕
เนื้อที่ปลูกขาว (ไร) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ยตอไร (กก.)
ขาวเจา ขาวเหนียว ขาวเจา ขาวเหนียว ขาวเจา ขาวเหนียว
เมืองมุกดาหาร ๗๐,๓๖๕ ๘๙,๖๘๓ ๒๗,๖๗๙ ๓๓,๗๓๑ ๔๒๒ ๔๔๐
ดอนตาล ๑๗,๗๖๐ ๖๖,๐๕๓ ๗,๔๘๔ ๒๖,๘๐๙ ๔๓๐ ๔๒๖
คาชะอี ๑๘,๖๔๑ ๕๗,๒๒๕ ๙,๗๙๘ ๓๐,๓๗๒ ๕๓๔ ๕๗๕
ดงหลวง ๑๐,๓๖๒ ๔๐,๔๕๑ ๔,๑๘๔ ๑๖,๓๙๐ ๔๒๑ ๔๒๗
นิคมคาสรอย ๒๓,๑๐๘ ๔๒,๗๕๘ ๙,๙๘๘ ๑๙,๔๖๑ ๔๗๒ ๕๒๑
หวานใหญ ๙,๒๖๖ ๑๒,๖๖๐ ๔,๐๕๕ ๕,๕๙๗ ๔๗๗ ๕๐๓
หนองสูง ๙,๐๖๕ ๕๗,๖๖๙ ๔,๐๓๔ ๒๗,๓๖๑ ๔๕๒ ๔๘๒
รวม ๑๕๘,๕๖๗ ๓๖๖,๔๙๙ ๖๗,๒๒๖ ๑๕๙,๖๗๕ ๔๔๙ ๔๗๕
หมายเหตุ : พันธุขาวสวนใหญที่ใชปลูกเปนพันธุ กข ๖ และขาวหอมมะลิ ๑๐๕
ยางพาร า จังหวัดมุกดาหารมีพื้นที่ปลูกยางพารา รวม ๑๒๘, ๔๘๘ ไร มูลคาผลผลิตยางพาราทั้งป มีจาน
วน
๗๙๘ ลานบาท ขยายตัวจากปที่ผานมารอยละ ๑๑๔.๖๘ เปนผลมาจากการขยายตัวทังดานปริมาณและราคาผลผลิต
ยางพารา สืบเนืองจากยางพารา เป็นพืชทีใหผลตอบแทนดีกวาพืชอืน จูงใจใหเกษตรกรเพิมพืนทีเพาะปลูก ทาให
ปริมาณผลผลิตยางพาราปนี้ จานวน ๖,๗๑๐ ตัน เพมขึ้นจากปที่ผานมารอยละ ๗๕.๙๑ สวนราคาผลผลิตยางพารา
เฉลี่ยทั้งป ตันละ ๑๑๙,๐๐๐ บาท ราคาปรับตัวสูงขึ้นตอเนื่องจากปที่ผานมา สืบเนื่องจากความเชื่อมั่นในภาคธุรกิจทัว
โลกที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเศรษฐกิจของประเทศคูคาทีสาคัญ คือ จีน ญีปุน และเกาหลีใต เริมฟืนตัว อุตสาหกรร มยาน
ยนตในหลายประเทศมียอดขายเพิมขึน ทาใหความตองการยางธรรมชาติเพิมขึน โดยมีพืนทีปลูกยางพาราทีสาคัญ
ไดแก อาเภอเมือง อาเภอนิคมคาสรอย อาเภอดงหลวงและอาเภอดอนตาล
อาเภอ
เนื้อที่ปลูกยางพารา / เนื้อที่เปดกรีด
พื้นที่ปลูก / เกษตรกร เปดกรีด / เกษตรกร
(ไร) (ราย) (ไร) (ราย)
เมือง ๒๖,๗๘๖ ๒,๖๗๑ ๒,๙๔๑.๕ ๓๒๙
ดอนตาล ๒๓,๕๕๔ ๒,๘๗๑ ๗,๓๘๓ ๘๘๖
คาชะอี ๑๖,๗๖๔ ๑,๒๘๒ ๙๒๘ ๑๐๒
ดงหลวง ๒๐,๖๐๓ ๒,๖๘๐ ๒,๑๕๓ ๒๒๙
นิคมคาสรอย ๓๒,๖๔๕ ๒,๖๗๔ ๑๓,๖๐๙ ๙๔๘
หวานใหญ ๒,๔๗๓ ๒๘๙ ๗๑๖ ๗๕
หนองสูง ๕,๖๖๓ ๖๖๓ ๓๖๑.๕ ๔๓
รวม ๑๒๘,๔๘๘ ๑๓,๑๓๐ ๑๗,๒๘๕.๗๕ ๑,๖๔๓
หมายเหตุ : สวนใหญนิยมปลูกยางพันธุ RRIM ๖๐๐
มัน ส า ป ะ ห ลั ง ปริมาณผลผลิต ป ๒๕๕๔ มีจานวน ๖๐๕,๕๒๒ ตัน ลดลงจากปีทีผานมารอยละ
๔.๘๑ สวนดานราคามันสาปะหลังยังคงเคลือนไหวสูงขึน เนืองจากความตองการของตลาดทีเพิมขึน ในขณะที่
ผลผลิตมัน สาปะหลังบางสวนไดรับความเสียหายจากการระบาดของเพลียแปง สงผลใหราคามันสาปะหลังทังป
เฉลียตันละ
๒,๖๒๐ บาท สูงขึนจากปีทีผานมารอยละ ๒๓.๑๐ ทาใหมูลคาผลผลิตมันสาปะหลังทังปจานวน ๑,๔๘๕ ลานบาท
ขยายตัวจากปที่ผานมาถึงรอยละ ๙.๖๙
อาเภอ พื้นทีเพาะปลูก(ไร) พื้นที่เก็บเกี่ยว(ไร) ผลผลิตเฉลี่ย(กก./ไร) ปริมาณผลผลิต(ตัน)
เมือง ๕๔,๘๔๓ ๕๔,๔๓๕ ๓,๑๓๙ ๑๗๐,๘๗๑
ดอนตาล ๓๒,๙๘๖ ๓๒,๙๘๖ ๓,๕๘๐ ๑๑๘,๐๘๒
คาชะอี ๒๓,๓๕๗ ๒๒,๗๖๘ ๓,๔๓๙ ๗๘,๒๙๙
ดงหลวง ๖๑,๙๘๓ ๕๙,๒๙๘ ๓,๑๒๕ ๑๘๕,๓๐๖
นิคมคาสรอย ๑๒,๒๐๔ ๑๑,๘๒๘ ๓,๑๗๕ ๓๗,๕๕๔
หวานใหญ ๑,๘๑๒ ๑,๗๒๒ ๓,๒๓๒ ๕,๕๖๕
หนองสูง ๓,๑๕๕ ๓,๑๕๕ ๓,๑๒๐ ๙,๘๔๔
รวม ๑๙๐,๓๔๐ ๑๘๖,๑๙๒ ๓,๒๕๒ ๖๐๕,๕๒๒
อ อ ย พืนทีเพาะปลูกออย ในป ๒๕๕๔ จานวน ๑๐๑,๕๘๑ ไร ลดลงจากปีทีผานมารอยละ
๖.๔๙ เนืองจากเกษตรกรบางสวนลดพืนทีเพาะปลูกหันไปปลูกมันสาปะหลัง แล ะยางพารา จากแรงจูงใจดานราคา
ทาให ปริมาณผลผลิตในปนี้ มีจานวน ๑,๐๒๙,๘๔๕ ตัน เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมาคิดเปนรอยละ ๑๓.๗๘ ขณะทีราคาออย
เฉลีย ทังปีปรับตัวลดลง โดยราคาออยเฉลียทังปีตันละ ๖๐๙.๘ บาท ลดลงจากปีทีผานมารอยละ ๔๐.๘๖ สงผลให
มูลคา ผลผลิตออยทั้งป จานวน ๖๒๘ ลานบาท
อาเภอ พื้นที่เพาะปลูก(ไร) พื้นที่เก็บเกี่ยว(ไร) ผลผลิตเฉลี่ย(กก./ไร) ปริมาณผลผลิต(ตัน)
เมือง ๓๐,๕๑๙ ๓๐,๓๘๐ ๙,๗๘๗ ๒๙๗,๓๒๙
ดอนตาล ๔๒,๕๕๖ ๔๒,๕๕๖ ๑๑,๐๔๕ ๔๗๐,๐๓๑
คาชะอี ๓,๗๗๒ ๓,๗๗๒ ๙,๘๙๗ ๓๗,๓๓๑
ดงหลวง ๙,๐๙๑ ๙,๐๙๑ ๙,๙๔๒ ๙๐,๓๘๓
นิคมคาสรอย ๑๔,๘๐๘ ๑๔,๖๗๙ ๘,๕๘๔ ๑๒๖,๐๐๕
หวานใหญ ๑๓๗ ๑๓๗ ๘,๐๐๐ ๑,๐๙๖
หนองสูง ๖๙๘ ๖๙๘ ๑๐,๙๘๘ ๗,๖๗๐
รวม ๑๐๑,๕๘๑ ๑๐๑,๓๑๓ ๑๐,๑๖๕ ๑,๐๒๙,๘๔๕
ไ มผลและไ มยืนตน
ชนิดของไมผล
และไมยืนตน
เนื้อที่เพาะปลูกไมผลและไมยืนตน จาแนกตามชนิดของไมผลและไมยืนตน ปเพาะปลูก ๒๕๕๔
เนื้อที่เพาะปลูก (ไร) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ยตอไร
(กก.)รวม ใหผลแลว ยังไมใหผล
กลวยนาวา ๙๕๗ ๘๖๗ ๙๐ ๑,๙๒๒.๐๙ ๒,๒๑๖.๙๔
ขนุนหนัง ๑๒ ๑๒ - ๑๖.๒ ๑,๓๕๐
มะขามหวาน ๒,๐๒๑.๒๕ ๑,๙๑๒ ๑๐๙.๒๕ ๓๔๘.๒๒ ๑๘๒.๒๒
มะมวง ๖๘๖ ๔๗๖ ๒๑๐ ๓๘๓.๗๘ ๘๐๖.๒๖
มะละกอ ๓๙๔ ๑๙๘ ๑๙๖ ๕๕๑.๙๓ ๒,๗๘๗.๕๓
ลาไย ๔๒๙.๗๕ ๓๙๖ ๓๓.๗๕ ๕๙๘.๕ ๑,๕๑๑.๓๖
พืชผัก
ชนิดของพืชผัก
เนื้อที่เพาะปลูกพืชผัก จาแนกตามชนิดของพืชผัก ปเพาะปลูก ๒๕๕๔
เนื้อที่เพาะปลูก (ไร) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ยตอไร (กก.)
ขาวโพดหวาน ๖๒๒ ๖๒๗.๕๕ ๑,๐๘๑.๒๗
แตงกวา ๑๐ ๔.๘ ๔๘๐
แตงราน ๓๗๙ ๘๓.๕ ๒๒๐.๓๔
แตงโม ๑๕๘ ๒๖.๓ ๑๖๖.๔๖
ถั่วฝกยาว ๔๘ ๒๗.๔๓ ๕๗๑.๔๖
บวบ ๖ ๒.๒๕ ๓๗๕
ผักกวางตุง ๓๕ ๑๗.๖ ๕๐๒.๘๖
ผักกาดหอม (ผักสลัด) ๑๙ ๕.๕ ๒๘๙.๔๗
ผักบุงจีน ๖ ๐.๙ ๑๕๐
พริกขี้หนูสวน ๑๙๕ ๔๕.๒๒ ๒๓๑.๘๘
ฟกทอง ๑๐ ๒๐ ๒,๐๐๐
๑.๑.๒ สาขาปศุสัตว
การปศุสัตวในจังหวัดมุกดาหาร สวนใหญเปนการเลี้ยงโดยเกษตรกรรายยอยในครัวเรือน การขายเปนรายได
เสริม สัตวเศรษฐกิจที่นิยมเลียง ไดแก โคเนือ ไกพื้นเมือง กระบือ และเปดเทศ
ประเภท
สัตวเลี้ยง
อาเภอ
รวม
เมือง นิคมคาสรอย ดอนตาล ดงหลวง คาชะอี หวานใหญ หนองสูง
โคเนื้อ ๒๐,๗๑๐ ๗,๖๗๖ ๑๑,๔๙๙ ๑๐,๖๑๔ ๑๔,๐๔๖ ๓,๒๓๗ ๙,๑๓๓ ๗๖,๙๑๕
กระบือ ๙,๗๗๗ ๑,๐๘๑ ๑,๖๘๓ ๔,๐๙๕ ๔,๕๒๒ ๑,๐๙๒ ๕๒๐ ๒๒,๗๗๐
สุกร ๔,๙๔๑ ๑,๘๗๔ ๒,๑๕๒ ๒,๒๓๙ ๒,๓๗๗ ๑,๑๖๓ ๒,๔๔๓ ๑๗,๑๘๙
แพะ ๑๔๖ ๓๓ ๑ ๒๔ ๔๑ ๒ - ๒๔๗
ไกพื้นเมือง ๑๔๔,๗๖๓ ๘๘,๘๗๙ ๖๓,๕๘๘ ๗๖,๕๑๑ ๑๐๒,๔๒๔ ๒๗,๓๒๔ ๕๕,๑๖๓ ๕๕๘,๖๕๒
ไกเนื้อ ๗๒๓ ๒๒,๒๖๒ ๒๕ ๗๙๕ ๖๔๓ ๑๓๗ ๑๓ ๒๔,๕๙๘
ไกไข ๕๒๗ ๒๑ ๑๔๐ ๘๒๔ ๔๗๙ ๓๗ ๑,๖๒๔ ๓,๖๕๒
ไกงวง ๕๖๗ ๙๕ ๓๑๗ ๖๐ ๗๕ ๑๘ - ๑,๑๓๒
เปดเทศ ๙,๒๘๔ ๔,๒๕๑ ๕,๗๔๕ ๘,๐๖๔ ๘,๔๒๑ ๒,๑๕๙ ๗,๔๒๙ ๔๕,๓๕๓
เปดเนื้อ ๖๙๘ ๑,๑๓๘ ๓๖๖ ๓๗๐ ๕๒๔ ๔๖ - ๓,๑๔๒
หาน ๑๗๙ ๔๕ ๑๓๙ ๒๓ ๘๖ ๑๒ - ๔๘๔
จานวนเกษตรกรผูเลี้ยงสัตวและจานวนพื้นที่ทาการปศุสัตว
อาเภอ
จานวนเกษตรกร
ผูเลี้ยงสัตว(ราย)
พื้นที่ถือครอง(ไร) พื้นที่ปลูกหญา/พืชอาหารสัตว(ไร) พื้นที่ทุงหญาสาธารณะ(ไร)
เมือง ๘,๓๘๗ - ๔,๔๔๓.๕ ๓๖,๓๕๘
นิคมคาสรอย ๓,๖๖๓ - ๑๔๙.๕ ๒,๘๒๒
ดอนตาล ๓,๓๕๒ - ๔๓๙.๕ ๑,๓๔๒
ดงหลวง ๔,๒๑๘ - ๕๙๙.๕ ๘,๐๑๗
คาชะอี ๔,๖๗๘ - ๒,๓๓๔.๕ ๕,๕๓๑
หวานใหญ ๑,๓๖๓ - ๑,๑๐๘.๗๕ ๑,๖๓๗
หนองสูง ๑,๗๒๙ - ๑๙.๕ ๒,๓๑๔
รวม ๒๗,๓๙๐ - ๙,๐๙๕ ๕๘,๐๒๑
๑.๑.๓ สาขาประมง
การเพาะเลี้ยงสัตวนาจืด
ลาดับที่ รายการ หนวยวัด จานวน
๑ เกษตรกรผูเลี้ยงปลา ราย ๑๑,๑๓๙.๐๐
๒ จานวนบอเลี้ยง บอ ๑๓,๓๘๔.๐๐
๓ พื้นที่เพาะเลี้ยงปลานาจืด ไร ๘,๕๑๒.๕๒
๔ ผลผลิตปลานาจืด กิโลกรัม ๑,๘๐๐,๑๕๐.๐๐
มูลคา (บาท) ๔๙,๖๐๖,๓๓๐
การเลี้ยงปลาในกระชังบริเวณแมนาโขง
ลาดับที่ รายการ หนวยวัด จานวน
๑ เกษตรกรผูเลี้ยงปลา ราย ๑๕๗.๐๐
๒ จานวนกระชัง บอ ๓,๖๕๐.๐๐
๓ พื้นที่กระชัง ตารางเมตร ๓๓,๐๕๒.๐๐
๔ ผลผลิต กิโลกรัม ๕๐๘,๐๐๐.๐๐
มูลคา (บาท) ๒๖,๒๔๒,๐๐๐
ชนิดของปลาทีเลียง ไดแก ปลานิล ปลานิลแปลงเพศ ปลาไน ปลาตะเพียนขาว ปลายีสกเทศ ปลา
นวลจันทรเทศ ปลาสรอยขาว ปลาจีน ปลาดุก กบ และสัตวนาอื่น ๆ
๑.๒ ภาคนอกการเกษตร
สาขาอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมในจังหวัดมุกดาหารสวนใหญเป็นอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม มีอุตสาหกรรมที่
สาคัญ ไดแก อุตสาหกรรมนาตาลและอุตสาหกรรมโรงสีขาว จานวนโรงงานในภาคอุตสาหกรรม ณ สินป ๒๕๕๔
จานวน ๒๐๖ แหง (เฉพาะโรงงานจาพวกที่ ๒,๓) ลดลงจากปีทีผานมา จานวน ๑๕ แหง หรือคิดเป็นรอยละ
๖.๗๘ จานวนเงินลงทุน ๕,๙๒๐,๙๔๕,๒๐๓ บาท เพิมขึนจากปีทีผานมา ๒,๗๐๓,๗๙๖,๑๐๓ บาท คิดเป็นรอย
ละ ๕๔.๓๓ บาท ดานแรงงานในภาคอุตสาหกรรมมีทังสิน ๓,๐๕๔ คน เพิมขึนจากป ทีผานมา ๑๑๙ คน หรือ
คิดเปนรอยละ ๐.๒๕ โดยแยกประเภทโรงงานอุตสาหกรรมได ดังนี้
อุตสาหกรรมเกษตร จานวน ๑๙ แหง
อุตสาหกรรมขนสง จานวน ๕๕ แหง
อุตสาหกรรมอโลหะ จานวน ๒๓ แหง
อุตสาหกรรมผลิตภัณฑโลหะ จานวน ๒๑ แหง
อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล จานวน ๗ แหง
อุตสาหกรรมไมและผลิตภัณฑจากไม จานวน ๑๓ แหง
อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรและเครื่องเรือน จานวน ๕ แหง
อุตสาหกรรมกระดาษและผลิตภัณฑ จานวน ๑ แหง
อุตสาหกรรมเคมี จานวน ๓ แหง
อุตสาหกรรมปโตรเคมีและผลิตภัณฑ จานวน ๒ แหง
อุตสาหกรรมยาง จานวน ๗ แหง
อุตสาหกรรมพลาสติก จานวน ๒ แหง
อุตสาหกรรมอาหาร จานวน ๑๕ แหง
อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม จานวน ๒ แหง
อุตสาหกรรมสิ่งทอ จานวน ๑ แหง
อุตสาหกรรมเครื่องแตงกาย จานวน ๒ แหง
อุตสาหกรรมเครื่องหนัง จานวน ๓ แหง
อุตสาหกรรมอื่นๆ จานวน ๒๔ แหง
๒. เศรษฐกิจดานอุปสงค (ดานการใชจาย)
อุปสงคภายในจังหวัดทังในดานการใชจายเพือการอุปโภคบริโภคและภาคการลงทุนขยายตัว โดยรวมขยายตัว
ดีเมื่อเทียบกับปีที่ผานมา มีรายละเอียดดังนี้
๒.๑ การบริโภคภาคเอกชน
การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวดีจากปีทีผานมา เนืองจากเกษตรกรมีรายไดเพิมขึนจากราคาพืชผล
ทางการเกษตรโดยรวมยังอยูในเกณฑดี สอดคลองกับการจดทะเบียนรถทุกประเภทยังคงเพิมขึนตอเนือง โด ยเฉพาะ
จานวนการจดทะเบียนใหมของรถยนตนั่งสวนบุคคลไมเกิน ๗ ทีนัง และรถจักรยานยนต เพิมขึนรอยละ ๒๑.๑๑ และ
๑๔.๕๗ ตามลาดับ เหลานีเป็นผลจากผูประกอบการมีการสงเสริมการขาย และออกรถรุนใหมใหเลือกหลายรุน
ประกอบกับนโยบายรถคันแรกของรัฐบาลอีกทังสถาบันการเ งินผอนคลายเกณฑการใหสินเชือ ขณะเดียวกันปริมาณ
การใชไฟฟาในครัวเรือนเพิมขึนเมือเทียบกับปีทีผานมารอยละ ๕.๔๐ สงผลใหภาพรวมภาคการอุปโภคบริโภคในป
๒๕๕๔ ยังคงขยายตัวดี
๒.๒ การลงทุนภาคเอกชน
การลงทุนภาคเอกชนในป ๒๕๕๔ โดยรวมเพิมขึนจากปีทีผานมา หลังจากทีลดลงในชวงไตรมาสที่ ๑ และ
ปรับตัวดีขึนในชวงไตรมาส ๓ ถึงไตรมาส ๔ เนืองจากมีความชัดเจนทางการเมืองมากขึน หลังจากการเลือกตังเดือน
กรกฎาคม ๒๕๕๔ ทีผานมา ทาใหนักลงทุนมีความมันใจในการลงทุน สะทอนไดจากการขยายตัวของเครืองชีในภาค
การกอสราง โดยพื้นที่อนุญาตกอสรางในเขตเทศบาล เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมารอยละ๑๐๔.๐๖ โดยเป็นการเพิมขึนของ
พืนทีขออนุญาตกอสรางประเภททีอยูอาศัย การกอสรางอาคารเพือการพาณิชย และการกอสรางอืนๆ เชน กอสราง
โรงแรม ลานจอดรถ และโกดังเก็บสินคา เปนตน ขณะเดียวกันยังมีการเพิ่มทุนในธุรกิจเดิมสูงถึง๘๕๒.๔๙ ลานบาท
ทั้งนี้ปจจัยบวกสวนหนึ่งมาจากการขยายตัวของเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร และมาตรการกระตุนเศรษฐกิจ
ของรัฐบาล
๒.๓ การใชจายภาครัฐ
การใชจายภาครัฐปงบประมาณพ.ศ. ๒๕๕๔ มีการเบิกจายงบประมาณ จานวน ๔,๙๑๗.๕๗ ลานบาท สูง
กวาปีที่ผานมารอยละ ๑๖.๖๐ เปนผลจากการเพิมขึนทังรายจายประจาและรายจายลงทุน ดังนี้
รายจายประจา จานวน ๓,๓๓๒.๒๑ลานบาท สูงกวาปีที่ผานมาคิดเป็นรอยละ ๙.๐๔
รายจายลงทุน จานวน ๑,๕๘๕.๓๖ลานบาท สูงกวาปีที่ผานมาคิดเป็นรอยละ ๓๖.๔๖ เนื่องจาก
มาตรการกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาล ทาใหมีการเรงรัดการเบิกจายมากขึ้น
๒.๔ การคาระหวางประเทศ
การคาชายแดนไทย - ลาว สถานการณการคาโดยรวมป๒๕๕๔ มีมูลคา ๗๒,๕๙๖.๒๖ ลานบาท เพิ่มขึนจาก
ป ๒๕๕๓ จานวน ๓๓,๑๖๙.๐๕ ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ ๘๔.๑๓ โดยแยกเปน
การสงออกสินคา มีมูลคา ๔๗,๘๓๖.๒๖ ลานบาท เพิมขึนจากปีทีผานมาคิดเป็น รอยละ ๑๐๗.๕๘
โดยสินคาทีมีการสงออกมากทีสุด ๓ อันดับ ไดแก สินคาประเภทอิเลคทรอนิกส (ฮารดดิสก อุปกรณคอมพิวเตอร)
นามันเชื้อเพลิง และสินคาประเภทอุปโภคบริโภคเปนสาคัญ
การนาเขาสินคา มีมูลคา ๒๔,๗๖๐.๐๐ ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมารอยละ ๕๑.๑๔ ซึงเพิมขึน
จากการนาเขาทองแดงบริสุทธิ์ เป็นสาคัญ สาหรับสินคานาเขาทีมีมูลคาสูงสุด ๓ อันดับแรกในเดือนนี้ ไดแก สินคา
ประเภททองแดงบริสุทธิ์ สินคาประเภทอิเลคทรอนิกส สินคาประเภทเสื้อผาสาเร็จรูป และอุปกรณตกแตง เปนสาคัญ
๓. ดานการเงิน
ปริมาณเงินฝากรวม ณ สินป ๒๕๕๔ มีจานวนเงินฝากรวม ๑๒,๙๕๓.๓๖ ลานบาท ขยายตัวรอยละ ๔๙.๐๔
เนื่องจากมีการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยและสถาบันการเงินมีการจูงใจใหประชาชนมีการฝากเงินเพิ่มขึน
ปริมาณสินเชือเพิมขึนจากปีทีผานมาคิดเป็นรอยละ ๑๘.๓๒ สวนหนึงมาจากเศรษฐกิจจังหวัดทีมีแนวโนม
ขยายตัว ทาใหนักลงทุนและผูประกอบการมีความมันใจในการขยายการลงทุนและประกอบธุรกิจเพิมขึน โดยเฉพาะ
สินเชื่อเพื่อที่อยูอาศัย
๔. เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
๔.๑ ดานระดับราคา
อัตราเงินเฟอป ๒๕๕๔ ขยายตัวในอัตราทีชะลอตัวรอยละ ๔.๗๐ จากทีขยายตัวรอยละ ๘.๙๓ ในปีที่
ผานมา เนืองจากในชวงครึงปีหลังรัฐบาลมีการปรับลดราคานามันเชือเพลิง และควบคุมราคาสินคาจนถึงสินป สงผล
ใหอัตราเงินเฟอในปนี้ชะลอตัว
๔.๒ ดานการจางงาน
ภาวะการจางงานของจังหวัดมุกดาหารในป ๒๕๕๔ ปรับตัวดีขึน พิจารณาจากตัวเลขจานวน ผู
วางงานลดลงเมือเทียบกับปีทีผานมา รอยละ ๕๘.๔๑ เป็นผลจากการขยายตัวของทังภาคบริการและการทองเทียว
และการลงทุนภาคเอกชน สอดคลองกับจานวนผูประกันตนในระบบประกันสังคมทังปีมีจานวน ๑๑,๙๒๐ คน
ขยายตัวจากปีทีผานมา คิดเป็นรอยละ ๗.๔๔ สาหรับอัตราการจางแรงงานขันตาปรับเพิมขึน ๑๐ บาท จาก ๑๕๕
บาท เป็น ๑๖๕ บาท ปรับตามภาวะเศรษฐกิจและภาวะคาครองชีพทีเพิมขึน ซึงมีผลบังคับใชตังตังแต ๑ มกราคม
๒๕๕๕ ที่ผานมา
๔.๓ กาลังแรงงาน การมีงานทา และการวางงาน
ขอมูลกาลังแรงงาน การมีงานทา และการวางงาน เป็นขอมูลผลการสารวจภาวการณ การทางานของประชากร
โดยสานักงานสถิติจังหวัดมุกดาหารพบวาจังหวัดมุกดาหารมีประชากรรวมทังสิน จานวน ๓๔๖,๐๖๐ คน แยกเป็นชาย
จานวน ๑๗๓,๖๖๓ คน และหญิง จานวน ๑๗๒,๓๙๗ คน โดยผูทีมีอายุ ตากวา ๑๕ ป จานวน ๗๓,๓๑๔ คน คิดเป็น
รอยละ ๒๑.๑๘ ของประชากรทังหมด และเป็นผูทีมีอายุ ๑๕ ปีขึนไป จานวน ๒๗๒,๗๔๖ คน คิดเป็นรอยละ ๗๘.๘๑ ของ
ประชากรทังหมด ซึงแบงออกเป็น ผูอยูในกาลังแรงงาน จานวน๒๑๔,๔๕๖ คน คิดเป็นรอยละ ๗๘.๖๒ และเป็นผูไม
อยูในกาลังแรงงาน จานวน ๕๘,๒๙๐ คน คิดเปนรอยละ ๒๑.๓๗ ของผูที่มีอายุ ๑๕ ขึ้นไป
ผูที่อยูในกาลังแรงงานทั้งหมด จานวน ๒๑๔,๔๕๖ คน พบวาเป็นผูมีงานทา จานวน ๒๑๓,๘๑๒ คน คิดเป็นรอย
ละ ๙๙.๖๙ ผูวางงาน จานวน ๖๐๙ คน คิดเป็นรอยละ ๐.๒๘ สวนผูทีไมอยูในกาลังแรงงานทังหมด จานวน ๕๘,๒๙๐ คน
แบงไดเป็น ผูทางานบานจานวน ๑๖,๔๗๐ คน คิดเป็นรอยละ๒๘.๒๕ เรียนหนังสือจานวน ๑๘,๗๐๗ คน คิดเป็นรอยละ
๓๒.๐๙และอื่นๆจานวน ๒๓,๑๑๔คน คิดเปนรอยละ ๓๙.๖๕ของผูไมอยูในกาลังแรงงานทั้งหมด เมือพิจารณาจากผูมีงาน
ทา ซึงมีจานวน ๒๑๓,๘๑๒ คน จาแนกตามอาชีพ พบวา กลุมอาชีพ ผูมีงานทา
มากทีสุด คือ กลุมอาชีพผูปฏิบัติงานทีมีฝีมือในดานการเกษตรและ การประมง จานวน ๑๒๕,๕๐๑ คน คิดเป็น
รอยละ ๕๘.๖๙ รองลงมาไดแก พนักงานบริการและพนักงานใน รานคาและตลาด จานวน ๓๑,๘๙๒ คน คิดเป็น
รอยละ ๑๔.๙๑ และผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝีมือธุรกิจการคาทีเกียวของ จานวน ๑๖,๓๗๒ คน คิด
เป็นรอยละ ๗.๖๕ ของผูมีงานทา
๔.๔ การจัดหางานและการสงเสริมการมีงานทา
สาหรับการจัดหางานในไตรมาส ๔/๒๕๕๔ (ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๔ ) มีตาแหนงงานวางรวมทังสิ้น จานวน
๖๗๒ อัตราแยกเปนตาแหนงงานวางในเพศชาย จานวน ๒๑๑ อัตรา คิดเป็นรอยละ ๓๑.๓๙ เพศหญิง จานวน
๑๐๖ อัตรา คิดเป็นรอยละ ๑๕.๗๗ และไมระบุเพศ จานวน ๓๕๕ อัตรา คิดเป็นรอยละ ๕๒.๘๒ ของตาแหนง
งานวางทังหมด นอกจากนียังมีแรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทางาน ตามมติ ครม.ป ๒๕๕๔ สารวจ ณ เดือน
ธันวาคม ๒๕๕๔ รวมทั้งสิ้น ๑,๑๐๘ คน สัญชาติลาวมากที่สุดจานวน ๑,๐๘๑ คน คิดเป็นรอยละ ๙๗.๕๖ สัญชาติพมา
จานวน ๒๖ คน คิดเป็นรอยละ ๒.๓๔ และสัญชาติกัมพูชา ๑ คน คิดเปนรอยละ ๐.๐๙
การฝกอบรมเพือพัฒนาฝมือและแรงงาน ประจาปงบประมาณ ๒๕๕๕
หลักสูตร ที่ สาขาชาง ระยะเวลาฝก จานวนผูเขาฝึก กิจกรรม/โครงการ
ชาย หญิง รวม
๑ ชางปูกระเบื้อง ๓๑ ต.ค.๕๔ – ๙ พ.ย.๕๔ ๒๑ ๔ ๒๕ ยากจน
๒ จักสานผลิตภัณฑจากเสน
พลาสติก
๓ พ.ย.๕๔ – ๑๒ พ.ย.๕๔ ๒ ๒๓ ๒๕ อิสระ
๓ การทาไมกวาดดอกหญา ๑ พ.ย.๕๔ – ๑๐ พ.ย.๕๔ ๒๕ - ๒๕ OTOP
๔ จักสานผลิตภัณฑจากเสน
พลาสติก
๗ พ.ย.๕๔ – ๑๖ พ.ย.๕๔ ๒๕ - ๒๕ ยากจน
อาชีพ
๕ ชางเชื่อมไฟฟาดวยมือเบื้องตน ๓๑ ต.ค.๕๔ – ๔ พ.ย.๕๔ ๒๐ - ๒๐ ผูประสบภัยธรรมชาติ
๖ ชางเชื่อมไฟฟาดวยมือเบืองตน ๓๑ ต.ค.๕๔ – ๔ พ.ย.๕๔ ๒๐ - ๒๐ ผูประสบภัยธรรมชาติ
เสริม ๗ ชางกออฐิ – ฉาบปูน ๑๐พ.ย.๕๔ – ๑๙พ.ย.๕๔ ๒๒ ๒ ๒๔ ยากจน
๘ เทคนิคการเย็บเสื้อดวยมือ ๗ พ.ย.๕๔ – ๑๘ พ.ย.๕๔ ๑ ๒๔ ๒๕ ยากจน
๙ ชางกออฐิ – ฉาบปูน ๗ พ.ย.๕๔ – ๑๘ พ.ย.๕๔ ๑๘ ๗ ๒๕ ผูประสบภัยธรรมชาติ
ยกระดับ
๑๐ ชางปูกระเบื้อง ๑๓ธ.ค.๕๔ – ๒๒ ธ.ค.๕๔ ๒๖ - ๒๖ ทั่วไป
๑๑ ชางเดินสายไฟฟาภายในอาคาร ๑๓ ธ.ค.๕๔ – ๒๒ธ.ค.๕๔ ๓๐ - ๓๐ ทั่วไป
๑๒ การเย็บผาหมดวยเศษผา ๕ ธ.ค.๕๔ – ๙ ธ.ค.๕๔ ๑ ๑๙ ๒๐ ผูประสบภัยธรรมชาติ
๑๓ การเย็บผาหมดวยเศษผา ๕ ธ.ค.๕๔ – ๙ ธ.ค.๕๔ - ๒๐ ๒๐ ผูประสบภัยธรรมชาติ
๑๔ การทาไมกวาดดอกหญาเบื้องตน ๑๐ ธ.ค.๕๔ – ๑๔ธ.ค.๕๔ ๗ ๑๓ ๒๐ ผูประสบภัยธรรมชาติ
๑๕ การทาไมกวาดดอกหญาเบื้องตน ๑๕ธ.ค.๕๔ – ๑๙ธ.ค.๕๔ - ๒๐ ๒๐ ผูประสบภัยธรรมชาติ
๑๖ ปูกระเบื้อง ๑๖-๒๕ ม.ค. ๕๕ ๒๑ ๔ ๒๕ ยากจน
๑ พนักงานบริการสนามกอลฟ ๑๔ .ย.๕๔ – ๑๖พ.ย.๕๔ - - ๖๐ รองรับอุตสาหกรรม
๒ การสรางบริการทีประทับใจ ๑๗ .ย.๕๔ – ๑๘พ.ย.๕๔ - - ๘๔ รองรับอุตสาหกรรม
๓ การประกอบถังกรองนาเพื่อ
อุปโภค
๕ พ.ย.๕๔ – ๖ พ.ย.๕๔ ๑๒ ๘ ๒๐ รองรับอุตสาหกรรม
เตรียมเขา
ทางาน
๑ ชางเชื่อมไฟฟาดวยมือ ๔ เดือน ๑ - ๑ เตรียม
๒ ชางเดินสายไฟฟา ๕ เดือน ๑ - ๑ เตรียม
๓ ชางแตงผมสตรี ๒ เดือน - ๘ ๘ เตรียม
๔ ชางซอมรถจักรยานยนต ๔ เดือน ๔ - ๔ เตรียม
๕ ชางเย็บจักรอุตสาหกรรม (ผา) ๒ เดือน - ๑๑ ๑๑ เตรียม
๖ ชางซอมเครื่องยนต ๔ เดือน ๓ - ๓ เตรียม
๗ ชางเครื่องปรับอากาศในบาน
และการพาณิชยขนาดเล็ก
๖ เดือน ๒ - ๒ เตรียม
๘ ชางซอมคอมพิวเตอร ๖ เดือน ๙ ๑ ๑๐ เตรียม
๙ เทคนิคงานปูนกอสราง ๖ เดือน ๑ - ๑
๔.๕ ดานการประกันสังคม
สานักงานประกันสังคมจังหวัดมุกดาหาร ดูแลรับผิดชอบกองทุน ๒ กองทุนคือ
๑. กองทุนประกันสังคม เปนกองทุนที่มีรายไดจากการนาสงเงินสมทบเขากองทุน ซึ่งมี ๓ สวนคือนายจางลูกจาง
และรัฐบาล โดยจะตองนาสงเงินเขากองทุนเปนรายเดือน ใหสิทธิประโยชนแกผูประกันตน ๗ กรณี คุมครองผูประกันตนใน
กรณีที่ไมเกิดขึ้นจากการทางาน ดังนี้ ๑)กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บปวย ๒)กรณีทุพพลภาพ ๓)กรณีตาย๔) กรณีคลอด
บุตร ๕)กรณีสงเคราะหบุตร ๖)กรณีชราภาพ ๗)กรณีวางาน
มีสถานประกอบการทีขึ้นทะเบียนกองทุนประกันสังคม ซึ่งจะมีหนวยงานเอกชนและสวนราชการ จานวน ๑,๑๔๗ แหง
ผูประกันตน จานวน๑๑,๙๐๙คนมีผูประกันตนมารับบริการ ๔,๑๑๙คนจายประโยชนทดแทน ๗,๐๙๘,๘๙๒.๓๙ บาท
๒. กองทุนเงินทดแทน เปนกองทุนที่มีรายไดจากนายจางนาสงเงินสมทบเขากองทุนฝายเดียว ปละ ๑ ครั้ง ใหความ
คุมครองลูกจางในกรณีที่เกิดจากการทางาน ดังนี้ ๑) กรณีประสบอันตราย ๒) กรณีเจ็บปวย ๓) กรณีทุพพลภาพ ๔) กรณีตาย
หรือสูญหาย อันเนื่องมาจากการทางานหรือปกปองรักษาผลประโยชนใหกับนายจาง
มีนายจางที่ขึ้นทะเบียนกองทุนเงินทดแทน ซึ่งจะมีเฉพาะหนวยงานเอกชน จานวน ๙๑๖ ราย ลูกจาง ๖,๔๙๓ คน มี
ลูกจางมารับบริการ ๑๕ คนจายเงินทดแทน ๑๓๙,๗๘๑.๖๕ บาท(ขอมูลดานการประกันสังคม ณวันที่ ๓๑ มกราคม๒๕๕๕)
แนวโนมเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหารของ ป ๒๕๕๕
เศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร ในป ๒๕๕๕ คาดวาจะขยายตัวตอเนืองจากปีทีผานมา ซึงปัจจัยขับเคลือนทาง
เศรษฐกิจทีสาคัญมาจากการอุปโภคบริโภค และการลงทุนภาคเอกชนมีแนวโนมขยายตัวตอเนือง และราคาสิน คา
เกษตรนาปรับตัวสูงขึน ทาใหรายไดเกษตรกรปรับสูงขึนตามราคาพืชผลทีสาคัญ ขณะเดียวกันรายไดของลูกจางและ
ขาราชการทีจะปรับขึนตามนโยบายหาเสียง ซึงผูจบปริญญาตรีจะไดรับคาตอบแทน จานวน ๑๕,๐๐๐ บาทตอเดือน
ของรัฐบาล และอัตราคาจางขึนตาทีจะมีการปรับเพิม ขึนเชนกัน ประกอบกับการวางงานอยูในระดับตา รวมถึงภาค
การทองเที่ยวที่ยังคงขยายตัวดีตอเนื่องจากปที่ผานมา นอกจากนีมาตรการกระตุนเศรษฐกิจและการลงทุนของรัฐบาล
ทั้งชวยฟนฟูหลังนาทวม และการสรางความเชื่อมั่นตอนักลงทุนทั้งในและตางประเทศยังมีการดาเนินการตอเนือง
อยางไรก็ดี การปรับคาแรงขันตาและการขึนเงินเดือนขาราชการ รวมถึงภาวะราคาสินคาเกษตรอยูใน
ระดับสูง และราคานามันที่มีแนวโนมสูงขึ้น จะสงผลใหราคาสินคาและบริการตางๆ ปรับสูงขึนตามไปดวย ทาใหอัตรา
เงินเฟอในปีหนาคาดวาจะปรับเพิมขึน สาหรับการเมืองภายในประเทศแมจะดีขึนแตก็ยังมีความไมแนนอน และ
นับเปนปจจัยเสี่ยงตอความเชื่อมั่นและการขยายตัวของเศรษฐกิจได นอกจากนี้เศรษฐกิจโลกและการเปลียนแปลงของ
สภาพแวดลอม หรือภัยธรรมชาติก็เปนตัวแปรหนึ่งที่อาจสงผลตอภาวะเศรษฐกิจ ซึ่งตองใหความสําคัญเชนกัน
อําเภอดอนตาล
คําขวัญ ภูนางหงสเลิศลอย แหลงหอยสมัยหิน ถิ่นกําเนิดลําผญา ผาแตมบรรพกาล กลองโบราญล้ําคา งานตาสระกมุท
มาศ หาดหินวัดเวินไชย ถิ่นไทยขากะเลิง
1.ดานภูมิศาสตร
ประวัติความเปนมาของอําเภอ ดอนตาล ในอดีตเปนตําบล ดอนตาล การปกครองขึ้นกับ อําเภอ
มุกดาหาร จังหวัด นครพนม เปนตําบลที่มีชื่อเสียงมากตําบลหนึ่ง ในเขตอําเภอ มุกดาหาร เปนแผนดินที่
อุดมสมบูรณ ดวยโภคทรัพยแตโบราณ ตอมาเมื่อป พ.ศ.2506 ไดรับการยกยองฐานะ แตงตั้งเปนกิ่ง
อําเภอ ดอนตาล โดยมี นาย คําบุ เหมมาลา เปนปลัดอําเภอผูเปนหัวหนากิ่งอําเภอ อยางเปนทางการ
2.ดานภูมิศาสตรและสภาพทั่วไป
2.1.ปจจุบันอําเภอดอนตาลแบงการปกครองออกเปน 7 ตําบล
-ตําบล ดอนตาล มี 12 หมูบาน
-ตําบล บานบาก มี 7 หมูบาน
-ตําบล เหลาหมี มี 9 หมูบาน
-ตําบล ปาไร มี 9 หมูบาน
-ตําบล โพธิ์ไทร มี 7 หมูบาน
-ตําบล นาสะเม็ง มี 8 หมูบาน
-ตําบล บานแกง มี 7 หมูบาน
2.2.มีพื้นที่ประมาณ 504 ตร.กม. หรือ 31,500 ไร ประชากรทั้งหมด ประมาณ 39,209 คน
ประชากรสวนใหญเปนคนไทยอีสานเผาภูไท และกระเริงประกอบอาชีพดาน กสิกรรมเกษตรกรรม การ
ทํานา ทําไร ฐานะทางเศรษฐกิจอยูในระดับปานกลาง พื้นที่สวนใหญทําเกษตรปลูกพืชไรลมลุก เชน ออย-
มันสําปะหลัง
2.3.อาณาเขต
-ทิศเหนือ จดพื้นที่อําเภอเมืองมุกดาหาร
-ทิศใต จดพื้นที่อําเภอชานุมาน จังหวัดอํานาจเจริญ
-ทิศตะวันออก จดแมน้ําโขงกั้นระหวางประเทศลาว
-ทิศตะวันตก จดพื้นที่อําเภอเลิงนกทาจังหวัดยโสธร
2.4.สภาพเสนทางคมนาคม
2.4.1.ทางรถยนต
-ถนนสาย ดอนตาล-มุกฯ ระยะทาง 33 กม.
-ถนนสาย ดอนตาล-เลิงนกทา ระยะทาง 50 กม.
2.4.2.ทางรถไฟ ยังไมมี
3.การแบงเขตตามชายฝง มีแมน้ําโขงกั้นระหวางพื้นที่ อ.ดอนตาลกับฝงลาว
4.ชวงทางสําคัญ -ไมมี
5.แหลงน้ําสําคัญ มีลําน้ําหวยบังอี่ มีระดับน้ําเกิดจากพื้นที่ อ.ดงหลวง ไหลผาน อ.หนองสูง
อ.นิคมคําสรอย ไหลสูแมน้ําโขงผานบานนาโพธ ต.โพธุไทร อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร
6.สถานที่ราชการ องคการรัฐวิสาหกิจ ที่วาการอําเภอดอนตาล สภ.อ.ดอนตาล รพ.ดอนตาล
ชุมสายโทรศัพท เกษตรอําเภอดอนตาล การไฟฟา พัฒนาชุมชน การประถมศึกษาอําเภอ อนามัยอําเภอ
ร.ร.ดอนตาล
7.ลมฟาอากาศ มี 3 ฤดู คือ
ฤดูรอน เริ่มแตเดือน กุมภาพันธ-พฤษภาคม
ฤดูฝน เริ่มแตเดือน มิถุนายน -กันยายน
ฤดูหนาว เริ่มแตเดือน ตุลาคม –มกราคม
8.ดานการเมืองการปกครอง
8.1.การปกครองมีการควบคุมตาม พรบ.ทะเบียนราษฎรประชาชนเขต อ.ดอนตาล นิยม การ
เลือกตั้งระบบพรรคการเมือง แบงการปกครองคือ
8.2.เขตสุขาภิบาล ต.ดอนตาล มีประชากรชาย 3,337 คน หญิง 3,453 คน รวม 6,790 คน รวม
1,381 ครอบครัว
8.3 แบงการปกครองเปน 7 ตําบล 59 หมูบาน
สถานที่สําคัญ
*กลองมโหระทึก อยูที่วัดมัชฌิมาวาส ( วัดกลาง ) อ.ดอนตาล เปนกลอง สัมฤทธิ์ หนาเดียว ที่
ใหญที่สุดในประเทศไทยเชื่อวา มีความเกาแก ไมต่ํากวาสามพันป และอีกใบหนึ่งปจจุบันเก็บรักษาไว
ที่ สถานีตํารวจภูธร อ.คําชะอี เปนกลองสัมฤทธิ์หนาเดียว เสนผาศูนยกลาง 86 เซนติเมตร ตัวกลอง
ยาว 90 เซนติเมตร หนากลองเปนรูปตะวันนูนมีแฉก 14 แฉก มีรูปกบติดขอบกลองจํานวน 4 ตัว กลอง
ดังกลาวเชื่อวาอายุ ไมต่ํากวา 3,000 ป และเปนกลองที่พวกขาและขอมโบราณชอบเก็บสะสมไว คนพบ
เมื่อป 2481 ที่บริเวณริมตลิ่ง แมน้ําโขงที่น้ําเซาะพัง ตรงบานนาทาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน
ลาว โดยตอนแรกเก็บรักษาไวที่ วัดมัชฌิมาวาส (วัดกลาง) อยูไมไกลจากที่วาการอําเภอดอนตาล โดย
สรางเปนหอกลอง เก็บรักษาไว อยางมั่นคง
*อุทยานสมเด็จยา (ฐานวรพัฒน) เปนอุทยานประวัติศาสตร ในทองที่
จังหวัดมุกดาหารแหงเดียว คือ อุทยานสมเด็จยา
*ภูผาแตก หรือชื่อทางยุทธการสงครามวา "เนิน 428" ที่นี่เปนจุดชมวิว มีองคประกอบทาง
ธรรมชาติ สวยงาม ทางดานทิศเหนือ สามารถมองเห็นทิวเขาของอุทยานแหงชาติมุกดาหารในระยะไกล
ได
*ลานหิน และปาเต็งรังแคระ พบไดทั่วไป และมีอยูมาก เปนลานหินยาวและใหญบางแหงมี
ขนาด 20-40 ไร สลับกับปาเต็งรังแคระ บางแหงเปนปาเต็งรังสลับกับปาหญาเพ็ก มองดูสวยงามมาก
และพบไดหลายแหง เชน ภูผาหอม หลังภูผาดาง หลังภูผา ภูสระดอกบัว ภูกบก ภูหัวนาค เปนตน
*อุทยานแหงชาติภูสระดอกบัว อยูที่อําเภอดอนตาล จุดเดนที่นาสนใจ เชนสระบัว ถ้ําผา
แตม ภูผาแตม ที่หนาผาจะมีภาพเขียนสีโบราญกอนประวัติศาสตร ภูผาแตก บนลานดอกไมบนภูวัด ผา
มะเกลือ ในยามเย็น ตรงจุดนี้ มีนักทองเที่ยว นิยมมาชมพระอาทิตยลับขอบฟา เพื่อเก็บภาพอันนา
ประทับใจ และพักคางแรม กันมาก เปนอุทยานที่มีเนื้อที่อยูบนแนวรอยตอ 3 จังหวัด คือ อําเภอนิคมคํา
สรอย อําเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร อําเภอชานุมาน และอําเภอเส
นางคนิคม จังหวัดอํานาจเจริญ มีเนื้อที่ 232 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 145,000 ไร สภาพภูมิ
ประเทศโดยทั่วไปเปนเทือกเขาสลับซับซอน ทอดตัวเปนแนวยาว จากทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ลงสูทิศ
ตะวันออกเฉียงใต มีความสูงโดยเฉลี่ย 350-450 เมตร หรือระดับน้ําทะเล ปานกลาง มียอดสูงที่สุด คือ ภู
กระแซะ สูงประมาณ 491 เมตร เทือกเขาเหลานี้เปนแหลงตนน้ําลําธารหลายสาย เชน หวยทม หวย
กานเหลือง ซึ่งไหลรวมลงสูพื้นราบโดยรอบอุทยานฯ ซึ่งประกอบดวยปาอันอุดมสมบูรณหลายชนิด พื้นที่
หลายแหลงมีลานหินขนาดใหญ ซึ่งชาวทองถิ่นเรียกวา "ดาน" กระจายอยูตามปา สวนใหญเปนปาเบญจ
พรรณ และปาดิบแลงกระจายอยูตามเทือกเขาตาง ๆ มีไมที่มีคาขึ้นอยูหลายชนิด เชน มะคาโมง ประดู
แดง พยุง ชิงชัน บริเวณพื้นที่ปาเหลานี้ มีสัตวปาอาศัยอยูหลายชนิด โดยเฉพาะที่เทือกเขาภูสระดอกบัว
ซึ่งเปนพื้นที่ปาขนาดใหญ และอุดมสมบูรณไปดวยแหลงน้ํา สามารถพบสัตวปาไดหลายชนิด เชน เกง หมู
ปา กระตายปา ลิง บาง เมน กระจง และสัตวปกประเภทตาง ๆ ไดแก ไกฟา ไกปา เปนตน
บริเวณอุทยานฯ ประกอบดวยทิวทัศนที่สวยงาม ความวิจิตพิสดาร ของหินผา มีความเดนเปน
เอกลักษณ ของตัวเอง ตลอดจนรองรอย ของการตอสูอันเกิดจากความขัดแยงทางการเมือง จึงทําใหพื้นที่
แหงนี้มีศักยภาพ ทางการทองเที่ยว สถานที่ทองเที่ยว ที่นาสนใจเขตอุทยานฯภูสระดอกบัว
*หอยสมัยหิน ขุดพบที่โคกหินแดง บานนายอ ต.เหลาหมี อายุประมาณ 27 ลานป ซึ่งขุดพบ
เปนแหลงที่ 3 ของโลก มีลักษณะคลายหอยสังข ฝงอยูในดินลึกประมาณ 40 ฟุต พบที่โคกหินแดง บาน
นายอ ต.เหลาหมี อ.ดอนตาล การเดินทางใชเสนทางหลวงหมายเลข 2034 เลี้ยวซายตรงหลักกิโลเมตรที่
17-18 ปากทาง เขาบานนาโพธิ์ ซึ่งเปนทางลูกรังตลอด จากการวิจัยของกรมทรัพยากรธรณีโดยนําหอย
ไปวัดความหนาแนนแลว ทําใหทราบวา เปลือกโลกบริเวณนี้มีอายุประมาณ 27 ลานป หอยเปนหินนี้ขุด
พบเปนแหงที่ 3 ของโลก บริเวณที่พบ เปลือกหอยนี้ปรากฏวาเปนชั้นหินปูนหนาประมาณ 1 ฟุต เหมาะ
สําหรับ ผูที่สนใจทางดาน ธรณีวิทยา
*อุทยานแหงชาติภูสระดอกบัว เปนเขตปาสงวน ต.บานไร อ.ดอนตาล จากจังหวัด
มุกดาหาร ไปตามเสนทาง มุกดาหาร-ดอนตาล ( ประมาณ 42 กม.) ดอนตาล-เลิงนกทา ( เสนทางสาย
2277 ) ประมาณ 18 กม. และเลี้ยวขวาเขาสู ที่ทําการอทุยานแหงชาติ ซึ่ง เปนภูเขาที่คอนขางสูง มีแอง
น้ําคลายสระ ปลูกดอกบัวไวสวยงาม ประชาชนทั้งใกล และไกลนิยมขึ้น ไปชมวิวทิวทัศนที่สวยงามนี้
ตั้งอยูที่บริเวณอางเก็บน้ําหวยหินขอ หมูที่ 3 บานหนอกเม็ก ตําบลปาไร อําเภอดอนตาล จังหวัด
มุกดาหาร อีก 1 กิโลเมตร
ประวัติความเปนมา สืบเนื่องมาจากชุดควบคุมทางยุทธวิธีที่ 06 ตั้งขึ้นตามคําสั่ง
กองทัพภาคที่ 2 สวนหนา ในปลายป 2518 มี บก.ชค.อยูที่บานนามวง อําเภอดอนตาล จังหวัด
นครพนมในขณะนั้น บนพื้นที่ ประมาณ 18 ไร ติดลําหวยเหี้ย การบุกเบิกปรับปรุงฐานครั้งแรก ไดรับการ
นับสนุนจาก นายประมาณ คําวงษา หัวหนาหนวยนิคมสหกรณดอนตาล นําเจาหนาที่ และเครื่องจักรกล
เขาบุกเบิก ผบ.ชค.06 คนแรกคือ พันเอก หมอมหลวงประทีป ทินกร เปน ผบ.ชค. มีกําลังทหารหลักจาก
ผส. 6 ร.พัน 2 มี พ.ท.บรรเทา ใยเกตุ เปน ผบ. พัน จนถึง เดือนกันยายน 2519 ร.ท.วรพัฒน อัมพรพงค
ไดเสียชีวิตในขณะปฏิบัติหนาที่ปะทะกับ ผกค.บริเวณใกลฐาน เพื่อเปนอนุสรณ แด ร.ท.วรพัฒนฯ จึงได
ตั้งชื่อ บก.ชค. 06 วา " ฐานปฏิบัติการวรพัฒน " เปนตนมา ผูวาราชการ จังหวัด มุกดาหาร ไดประ
ประสาน และระดมสรรพกําลัง งบประมาณ จากทุกสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคกรทองถิ่น
ฯลฯ ปรับปรุงฐานวรพัฒนใหสมบูรณทุกดาน ไมวาดานสาธารณูปโภคพื้นฐาน ที่พักผอนหยอน
ใจ บานรบรอง หองประชุม ฯลฯ
นายพิชัยลักษณ เพชรบุรีกุล นายอําเภอดอนตาล ไดปรึกษากรรมการอําเภอดอนตาล พิจารณา
ตั้งชื่อใหม ใหเหมาะสมวา " อุทยานสมเด็จยา ( ฐานวรพัฒน ) " และมีโครงการกอสรางหอพัก บาน
รับรองไวรองรับ การอบรม สัมมนา มีรานอาหาร ไวบริการนักทองเที่ยว รวมทั้งเปนศูนยรวม
ศิลปะวัฒนธรรมทองถิ่น และผลผลิต ดานการอาชีพ ของราษฎร เพื่อเสริมรายไดตอไป.
*งานประเพณีงานบุญเดือนหก ( บุญบั้งไฟ )จัดที่ อ. ดอนตาลหมู 1 - 3 จัดขึ้นระหวาง
วันที่ 10 -12 พฤษภาคม ของทุกป.

More Related Content

More from Patcharee Pawleung

8ข้อมูลสถานประกอบการ
8ข้อมูลสถานประกอบการ8ข้อมูลสถานประกอบการ
8ข้อมูลสถานประกอบการPatcharee Pawleung
 
7ข้อมูลอาคารสถานที่
7ข้อมูลอาคารสถานที่7ข้อมูลอาคารสถานที่
7ข้อมูลอาคารสถานที่Patcharee Pawleung
 
6ข้อมูลครุภัณฑ์
6ข้อมูลครุภัณฑ์6ข้อมูลครุภัณฑ์
6ข้อมูลครุภัณฑ์Patcharee Pawleung
 
5ข้อมูลงบประมาณ
5ข้อมูลงบประมาณ5ข้อมูลงบประมาณ
5ข้อมูลงบประมาณPatcharee Pawleung
 
4ข้อมูลหลักสูตร
4ข้อมูลหลักสูตร4ข้อมูลหลักสูตร
4ข้อมูลหลักสูตรPatcharee Pawleung
 
2ข้อมูลบุคลากร
2ข้อมูลบุคลากร2ข้อมูลบุคลากร
2ข้อมูลบุคลากรPatcharee Pawleung
 
3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา
3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา
3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษาPatcharee Pawleung
 
1ข้อมูลวิทยาลัย
1ข้อมูลวิทยาลัย1ข้อมูลวิทยาลัย
1ข้อมูลวิทยาลัยPatcharee Pawleung
 
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556Patcharee Pawleung
 
รายงานการประเมินตนเอง2555
รายงานการประเมินตนเอง2555รายงานการประเมินตนเอง2555
รายงานการประเมินตนเอง2555Patcharee Pawleung
 
รายงานการประเมินตนเอง2554
รายงานการประเมินตนเอง2554รายงานการประเมินตนเอง2554
รายงานการประเมินตนเอง2554Patcharee Pawleung
 

More from Patcharee Pawleung (11)

8ข้อมูลสถานประกอบการ
8ข้อมูลสถานประกอบการ8ข้อมูลสถานประกอบการ
8ข้อมูลสถานประกอบการ
 
7ข้อมูลอาคารสถานที่
7ข้อมูลอาคารสถานที่7ข้อมูลอาคารสถานที่
7ข้อมูลอาคารสถานที่
 
6ข้อมูลครุภัณฑ์
6ข้อมูลครุภัณฑ์6ข้อมูลครุภัณฑ์
6ข้อมูลครุภัณฑ์
 
5ข้อมูลงบประมาณ
5ข้อมูลงบประมาณ5ข้อมูลงบประมาณ
5ข้อมูลงบประมาณ
 
4ข้อมูลหลักสูตร
4ข้อมูลหลักสูตร4ข้อมูลหลักสูตร
4ข้อมูลหลักสูตร
 
2ข้อมูลบุคลากร
2ข้อมูลบุคลากร2ข้อมูลบุคลากร
2ข้อมูลบุคลากร
 
3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา
3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา
3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา
 
1ข้อมูลวิทยาลัย
1ข้อมูลวิทยาลัย1ข้อมูลวิทยาลัย
1ข้อมูลวิทยาลัย
 
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
 
รายงานการประเมินตนเอง2555
รายงานการประเมินตนเอง2555รายงานการประเมินตนเอง2555
รายงานการประเมินตนเอง2555
 
รายงานการประเมินตนเอง2554
รายงานการประเมินตนเอง2554รายงานการประเมินตนเอง2554
รายงานการประเมินตนเอง2554
 

9ข้อมูลเศรฐกิจและสังคม

  • 1. สภาพเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร ดานเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดมุกดาหาร (GPP ) ป ๒๕๕๓ มีมูลคาเทากับ ๑๖,๙๙๙ ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปทีแลว ๑,๘๔๙ ลานบาท คิดเป็นรอยละ ๑๒.๒๐ เป็นผลมาจากการเพิมขึนของมูลคาการผลิตทังภาคการเกษตร และภาค นอกการเกษตร ทั้งนี้มูลคาผลิตภัณฑจังหวัดตอหัว (GPP per capita) ป ๒๕๕๒ เทากับ ๔๙,๔๑๖ บาทตอคนตอป โครงสรางเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร ป ๒๕๕๓ ขึนอยูกับกิจกรรมการผลิต ๕ สาขาทีสาคัญ คือ สาขา เกษตรกรรม มีมูลคา ๑,๓๑๕ ลานบาท สาขาขายสง ขายปลีกฯ มูลคา ๑,๑๗๓ ลานบาท สาขาการศึกษา มูลคา ๗๐๔ ลานบาท สาขาอุตสาหกรรม มูลคา ๕๙๖ ลานบาท และสาขาขนสง มูลคา ๔๘๑ ลานบาท โดยคิดเป็น สัดสวนรอยละ ๒๐.๔๙, ๑๘.๒๗, ๑๐.๙๗, ๙.๒๘ และ ๗.๕๐ ตามลาดับ ทังนีปัจจัยหลักในการขับเคลือนเศรษฐกิจ จังหวัด คือ ภาคเกษตรกรรม โดยมีพืชเศรษฐกิจทีสาคัญ คือ ขาว มันสาปะหลัง ออย และยางพารา รองลงมาเป็น กิจกรรมดานการคา (การขายสง และขายปลีก) โครงสรางเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร ป พ.ศ. ๒๕๕๓ (พิจารณาจากตัวเลขผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดมุกดาหาร ณ ราคาคงที่) ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.)
  • 2. ภาวะเศรษฐกิจ ป ๒๕๕๔ ตัวเลขเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหารปี ๒๕๕๔ บงชี้วา ภาวะเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหารมีทิศทางขยายตัว ตัวเลข แสดงใหเห็นถึงการขยายตัวเป็นบวกของการผลิต ดานภาคบริการและการทองเทียว สอดคลองกับการใชจายเพือการ อุปโภคบริโภค และการลงทุนภาคเอกชนโดยรวมขยายตัว พรอมกันนีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจยังอยูในเกณฑดี เป็น ผลมาจากสถานการณทางการเมืองมีความชัดเจนมากขึน หลังมีการเลือกตังชวงเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๔ เป็นผลใหนัก ลงทุนและผูประกอบการมีความเชือมันตอระบบเศรษฐกิจมากขึน ประกอบกับราคาพืชผลทางการเ กษตรทีทรงตัวอยู ในระดับสูง ทาใหรายไดเกษตรกรเพิมขึนตามราคาพืชผลการเกษตร เป็นผลใหประชาชนมีอานาจซือมากขึน ซึง ปจจัยเหลานี้เปนตัวสนับสนุนขับเคลื่อนใหเศรษฐกิจโดยรวมยังคงขยายตัวดี ๑. เศรษฐกิจดานอุปทาน (ดานการผลิต) การผลิตโดยรวมของจังหวัด ป ๒๕๕๔ หดตัวจากปีทีผานมา ชีวัดไดจากการผลิตในภาคการเกษตร มูลคา ผลผลิตพืชเศรษฐกิจทีสาคัญทัง ขาว และ มันสาปะหลัง ลดลงเมือเทียบกับปีทีผานมา เป็นผลจากการลดลงของ ปริมาณผลผลิต สะทอนใหภาคอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรปนี้ลดลงเชนกัน อยางไรก็ตาม ราคาพืชผล ทางการเกษตรปีนีอยูในระดับสูงเมือเทียบกับปีทีผานมา ในขณะทีการบริการดานการทองเทียวของจังหวัดยังคง ขยายตัวดีตอเนือง สวนหนึงมาจากจังหวัดมีพรมแดนติดกับประเทศเพือนบานอยางประเทศลาว และมีสะ พาน มิตรภาพ ไทย – ลาว แหงที่ ๒ ทีมีการคมนาคมทีสะดวกเป็นสิงดึงดูดใหนักทองเทียวใชเสนทางทีจังหวัดมุกดาหาร มากขึ้นทุกป ๑.๑ ภาคการเกษตร ๑.๑.๑ สาขาเกษตรกรรม โครงสรางภาคการเกษตรทีสาคัญของจังหวัดมุกดาหาร สวนใหญขึนกับสาขาเกษตร มีพืชเศรษฐกิจทีสาคัญ ไดแก ขาว ออยโรงงาน มันสาปะหลัง และยางพารา พืชสวนอืนๆ เชน มะขาม มะมวง ถัวลิสง และพืชผักตางๆ ดาน ปศุสัตว มีสัตวเศรษฐกิจทีสาคัญคือโคและสุกร สวนดานการประมงสวนใหญจะเป็นการเพาะเลียงสัตวนาจืด ไดแก ปลานิลในกระชัง ซึ่งอาศัยแหลงนาธรรมชาติในการเพาะเลี้ยง การผลิตสาขาเกษตรกรรม ในป ๒๕๕๔ ขยายตัวตอเนือง พิจารณาจากผลผลิตพืชเศรษฐกิจทีสาคัญ ไดแก ขาว มันสาปะหลัง ยางพารา เป็นตน มีผลผลิตออกสูตลาดตอเนือง ประกอบกับราคายังคงเคลือนไหวอยูในเกณฑดี รายละเอียดมีดังนี้ ขาวนา ป ในป ๒๕๕๔ จังหวัดมุกดาหาร มีพื้นที่ปลูกขาวนาป จานวน ๕๒๕,๐๖๖ ไร ผลิตขาวได ๒๒๖,๙๐๑ ตัน มูลคาผลผลิตขาวนาปีเฉลี่ย จานวน ๓,๒๘๒ ลานบาท ลดลงจากปที่ผานมารอยละ ๐.๔๖ เป็นผลมา จากการลดลง ของปริมาณการผลิตขาวเหนียวนาป ทาใหแมราคาขาวเฉลี่ยจะสูงขึ้นเมือเทียบกับปีทีผานมา โดยราคา ขาวเฉลียตันละ ๑๕,๖๙๕ บาท ก็ยังไมสามารถดึงใหมูลคาผลผลิตขาวนาปขยายตัวเพิ่มขึ้นได อาเภอ ขาวนาป ผลผลิต และผลผลติ เฉลี่ยตอไร ปเพาะปลูก ๒๕๕๔/๒๕๕๕ เนื้อที่ปลูกขาว (ไร) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ยตอไร (กก.) ขาวเจา ขาวเหนียว ขาวเจา ขาวเหนียว ขาวเจา ขาวเหนียว เมืองมุกดาหาร ๗๐,๓๖๕ ๘๙,๖๘๓ ๒๗,๖๗๙ ๓๓,๗๓๑ ๔๒๒ ๔๔๐ ดอนตาล ๑๗,๗๖๐ ๖๖,๐๕๓ ๗,๔๘๔ ๒๖,๘๐๙ ๔๓๐ ๔๒๖ คาชะอี ๑๘,๖๔๑ ๕๗,๒๒๕ ๙,๗๙๘ ๓๐,๓๗๒ ๕๓๔ ๕๗๕ ดงหลวง ๑๐,๓๖๒ ๔๐,๔๕๑ ๔,๑๘๔ ๑๖,๓๙๐ ๔๒๑ ๔๒๗ นิคมคาสรอย ๒๓,๑๐๘ ๔๒,๗๕๘ ๙,๙๘๘ ๑๙,๔๖๑ ๔๗๒ ๕๒๑
  • 3. หวานใหญ ๙,๒๖๖ ๑๒,๖๖๐ ๔,๐๕๕ ๕,๕๙๗ ๔๗๗ ๕๐๓ หนองสูง ๙,๐๖๕ ๕๗,๖๖๙ ๔,๐๓๔ ๒๗,๓๖๑ ๔๕๒ ๔๘๒ รวม ๑๕๘,๕๖๗ ๓๖๖,๔๙๙ ๖๗,๒๒๖ ๑๕๙,๖๗๕ ๔๔๙ ๔๗๕ หมายเหตุ : พันธุขาวสวนใหญที่ใชปลูกเปนพันธุ กข ๖ และขาวหอมมะลิ ๑๐๕ ยางพาร า จังหวัดมุกดาหารมีพื้นที่ปลูกยางพารา รวม ๑๒๘, ๔๘๘ ไร มูลคาผลผลิตยางพาราทั้งป มีจาน วน ๗๙๘ ลานบาท ขยายตัวจากปที่ผานมารอยละ ๑๑๔.๖๘ เปนผลมาจากการขยายตัวทังดานปริมาณและราคาผลผลิต ยางพารา สืบเนืองจากยางพารา เป็นพืชทีใหผลตอบแทนดีกวาพืชอืน จูงใจใหเกษตรกรเพิมพืนทีเพาะปลูก ทาให ปริมาณผลผลิตยางพาราปนี้ จานวน ๖,๗๑๐ ตัน เพมขึ้นจากปที่ผานมารอยละ ๗๕.๙๑ สวนราคาผลผลิตยางพารา เฉลี่ยทั้งป ตันละ ๑๑๙,๐๐๐ บาท ราคาปรับตัวสูงขึ้นตอเนื่องจากปที่ผานมา สืบเนื่องจากความเชื่อมั่นในภาคธุรกิจทัว โลกที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเศรษฐกิจของประเทศคูคาทีสาคัญ คือ จีน ญีปุน และเกาหลีใต เริมฟืนตัว อุตสาหกรร มยาน ยนตในหลายประเทศมียอดขายเพิมขึน ทาใหความตองการยางธรรมชาติเพิมขึน โดยมีพืนทีปลูกยางพาราทีสาคัญ ไดแก อาเภอเมือง อาเภอนิคมคาสรอย อาเภอดงหลวงและอาเภอดอนตาล อาเภอ เนื้อที่ปลูกยางพารา / เนื้อที่เปดกรีด พื้นที่ปลูก / เกษตรกร เปดกรีด / เกษตรกร (ไร) (ราย) (ไร) (ราย) เมือง ๒๖,๗๘๖ ๒,๖๗๑ ๒,๙๔๑.๕ ๓๒๙ ดอนตาล ๒๓,๕๕๔ ๒,๘๗๑ ๗,๓๘๓ ๘๘๖ คาชะอี ๑๖,๗๖๔ ๑,๒๘๒ ๙๒๘ ๑๐๒ ดงหลวง ๒๐,๖๐๓ ๒,๖๘๐ ๒,๑๕๓ ๒๒๙ นิคมคาสรอย ๓๒,๖๔๕ ๒,๖๗๔ ๑๓,๖๐๙ ๙๔๘ หวานใหญ ๒,๔๗๓ ๒๘๙ ๗๑๖ ๗๕ หนองสูง ๕,๖๖๓ ๖๖๓ ๓๖๑.๕ ๔๓ รวม ๑๒๘,๔๘๘ ๑๓,๑๓๐ ๑๗,๒๘๕.๗๕ ๑,๖๔๓ หมายเหตุ : สวนใหญนิยมปลูกยางพันธุ RRIM ๖๐๐ มัน ส า ป ะ ห ลั ง ปริมาณผลผลิต ป ๒๕๕๔ มีจานวน ๖๐๕,๕๒๒ ตัน ลดลงจากปีทีผานมารอยละ ๔.๘๑ สวนดานราคามันสาปะหลังยังคงเคลือนไหวสูงขึน เนืองจากความตองการของตลาดทีเพิมขึน ในขณะที่ ผลผลิตมัน สาปะหลังบางสวนไดรับความเสียหายจากการระบาดของเพลียแปง สงผลใหราคามันสาปะหลังทังป เฉลียตันละ ๒,๖๒๐ บาท สูงขึนจากปีทีผานมารอยละ ๒๓.๑๐ ทาใหมูลคาผลผลิตมันสาปะหลังทังปจานวน ๑,๔๘๕ ลานบาท ขยายตัวจากปที่ผานมาถึงรอยละ ๙.๖๙ อาเภอ พื้นทีเพาะปลูก(ไร) พื้นที่เก็บเกี่ยว(ไร) ผลผลิตเฉลี่ย(กก./ไร) ปริมาณผลผลิต(ตัน) เมือง ๕๔,๘๔๓ ๕๔,๔๓๕ ๓,๑๓๙ ๑๗๐,๘๗๑ ดอนตาล ๓๒,๙๘๖ ๓๒,๙๘๖ ๓,๕๘๐ ๑๑๘,๐๘๒ คาชะอี ๒๓,๓๕๗ ๒๒,๗๖๘ ๓,๔๓๙ ๗๘,๒๙๙ ดงหลวง ๖๑,๙๘๓ ๕๙,๒๙๘ ๓,๑๒๕ ๑๘๕,๓๐๖ นิคมคาสรอย ๑๒,๒๐๔ ๑๑,๘๒๘ ๓,๑๗๕ ๓๗,๕๕๔ หวานใหญ ๑,๘๑๒ ๑,๗๒๒ ๓,๒๓๒ ๕,๕๖๕
  • 4. หนองสูง ๓,๑๕๕ ๓,๑๕๕ ๓,๑๒๐ ๙,๘๔๔ รวม ๑๙๐,๓๔๐ ๑๘๖,๑๙๒ ๓,๒๕๒ ๖๐๕,๕๒๒ อ อ ย พืนทีเพาะปลูกออย ในป ๒๕๕๔ จานวน ๑๐๑,๕๘๑ ไร ลดลงจากปีทีผานมารอยละ ๖.๔๙ เนืองจากเกษตรกรบางสวนลดพืนทีเพาะปลูกหันไปปลูกมันสาปะหลัง แล ะยางพารา จากแรงจูงใจดานราคา ทาให ปริมาณผลผลิตในปนี้ มีจานวน ๑,๐๒๙,๘๔๕ ตัน เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมาคิดเปนรอยละ ๑๓.๗๘ ขณะทีราคาออย เฉลีย ทังปีปรับตัวลดลง โดยราคาออยเฉลียทังปีตันละ ๖๐๙.๘ บาท ลดลงจากปีทีผานมารอยละ ๔๐.๘๖ สงผลให มูลคา ผลผลิตออยทั้งป จานวน ๖๒๘ ลานบาท อาเภอ พื้นที่เพาะปลูก(ไร) พื้นที่เก็บเกี่ยว(ไร) ผลผลิตเฉลี่ย(กก./ไร) ปริมาณผลผลิต(ตัน) เมือง ๓๐,๕๑๙ ๓๐,๓๘๐ ๙,๗๘๗ ๒๙๗,๓๒๙ ดอนตาล ๔๒,๕๕๖ ๔๒,๕๕๖ ๑๑,๐๔๕ ๔๗๐,๐๓๑ คาชะอี ๓,๗๗๒ ๓,๗๗๒ ๙,๘๙๗ ๓๗,๓๓๑ ดงหลวง ๙,๐๙๑ ๙,๐๙๑ ๙,๙๔๒ ๙๐,๓๘๓ นิคมคาสรอย ๑๔,๘๐๘ ๑๔,๖๗๙ ๘,๕๘๔ ๑๒๖,๐๐๕ หวานใหญ ๑๓๗ ๑๓๗ ๘,๐๐๐ ๑,๐๙๖ หนองสูง ๖๙๘ ๖๙๘ ๑๐,๙๘๘ ๗,๖๗๐ รวม ๑๐๑,๕๘๑ ๑๐๑,๓๑๓ ๑๐,๑๖๕ ๑,๐๒๙,๘๔๕ ไ มผลและไ มยืนตน ชนิดของไมผล และไมยืนตน เนื้อที่เพาะปลูกไมผลและไมยืนตน จาแนกตามชนิดของไมผลและไมยืนตน ปเพาะปลูก ๒๕๕๔ เนื้อที่เพาะปลูก (ไร) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ยตอไร (กก.)รวม ใหผลแลว ยังไมใหผล กลวยนาวา ๙๕๗ ๘๖๗ ๙๐ ๑,๙๒๒.๐๙ ๒,๒๑๖.๙๔ ขนุนหนัง ๑๒ ๑๒ - ๑๖.๒ ๑,๓๕๐ มะขามหวาน ๒,๐๒๑.๒๕ ๑,๙๑๒ ๑๐๙.๒๕ ๓๔๘.๒๒ ๑๘๒.๒๒ มะมวง ๖๘๖ ๔๗๖ ๒๑๐ ๓๘๓.๗๘ ๘๐๖.๒๖ มะละกอ ๓๙๔ ๑๙๘ ๑๙๖ ๕๕๑.๙๓ ๒,๗๘๗.๕๓ ลาไย ๔๒๙.๗๕ ๓๙๖ ๓๓.๗๕ ๕๙๘.๕ ๑,๕๑๑.๓๖ พืชผัก ชนิดของพืชผัก เนื้อที่เพาะปลูกพืชผัก จาแนกตามชนิดของพืชผัก ปเพาะปลูก ๒๕๕๔ เนื้อที่เพาะปลูก (ไร) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ยตอไร (กก.) ขาวโพดหวาน ๖๒๒ ๖๒๗.๕๕ ๑,๐๘๑.๒๗ แตงกวา ๑๐ ๔.๘ ๔๘๐ แตงราน ๓๗๙ ๘๓.๕ ๒๒๐.๓๔ แตงโม ๑๕๘ ๒๖.๓ ๑๖๖.๔๖ ถั่วฝกยาว ๔๘ ๒๗.๔๓ ๕๗๑.๔๖
  • 5. บวบ ๖ ๒.๒๕ ๓๗๕ ผักกวางตุง ๓๕ ๑๗.๖ ๕๐๒.๘๖ ผักกาดหอม (ผักสลัด) ๑๙ ๕.๕ ๒๘๙.๔๗ ผักบุงจีน ๖ ๐.๙ ๑๕๐ พริกขี้หนูสวน ๑๙๕ ๔๕.๒๒ ๒๓๑.๘๘ ฟกทอง ๑๐ ๒๐ ๒,๐๐๐ ๑.๑.๒ สาขาปศุสัตว การปศุสัตวในจังหวัดมุกดาหาร สวนใหญเปนการเลี้ยงโดยเกษตรกรรายยอยในครัวเรือน การขายเปนรายได เสริม สัตวเศรษฐกิจที่นิยมเลียง ไดแก โคเนือ ไกพื้นเมือง กระบือ และเปดเทศ ประเภท สัตวเลี้ยง อาเภอ รวม เมือง นิคมคาสรอย ดอนตาล ดงหลวง คาชะอี หวานใหญ หนองสูง โคเนื้อ ๒๐,๗๑๐ ๗,๖๗๖ ๑๑,๔๙๙ ๑๐,๖๑๔ ๑๔,๐๔๖ ๓,๒๓๗ ๙,๑๓๓ ๗๖,๙๑๕ กระบือ ๙,๗๗๗ ๑,๐๘๑ ๑,๖๘๓ ๔,๐๙๕ ๔,๕๒๒ ๑,๐๙๒ ๕๒๐ ๒๒,๗๗๐ สุกร ๔,๙๔๑ ๑,๘๗๔ ๒,๑๕๒ ๒,๒๓๙ ๒,๓๗๗ ๑,๑๖๓ ๒,๔๔๓ ๑๗,๑๘๙ แพะ ๑๔๖ ๓๓ ๑ ๒๔ ๔๑ ๒ - ๒๔๗ ไกพื้นเมือง ๑๔๔,๗๖๓ ๘๘,๘๗๙ ๖๓,๕๘๘ ๗๖,๕๑๑ ๑๐๒,๔๒๔ ๒๗,๓๒๔ ๕๕,๑๖๓ ๕๕๘,๖๕๒ ไกเนื้อ ๗๒๓ ๒๒,๒๖๒ ๒๕ ๗๙๕ ๖๔๓ ๑๓๗ ๑๓ ๒๔,๕๙๘ ไกไข ๕๒๗ ๒๑ ๑๔๐ ๘๒๔ ๔๗๙ ๓๗ ๑,๖๒๔ ๓,๖๕๒ ไกงวง ๕๖๗ ๙๕ ๓๑๗ ๖๐ ๗๕ ๑๘ - ๑,๑๓๒ เปดเทศ ๙,๒๘๔ ๔,๒๕๑ ๕,๗๔๕ ๘,๐๖๔ ๘,๔๒๑ ๒,๑๕๙ ๗,๔๒๙ ๔๕,๓๕๓ เปดเนื้อ ๖๙๘ ๑,๑๓๘ ๓๖๖ ๓๗๐ ๕๒๔ ๔๖ - ๓,๑๔๒ หาน ๑๗๙ ๔๕ ๑๓๙ ๒๓ ๘๖ ๑๒ - ๔๘๔ จานวนเกษตรกรผูเลี้ยงสัตวและจานวนพื้นที่ทาการปศุสัตว อาเภอ จานวนเกษตรกร ผูเลี้ยงสัตว(ราย) พื้นที่ถือครอง(ไร) พื้นที่ปลูกหญา/พืชอาหารสัตว(ไร) พื้นที่ทุงหญาสาธารณะ(ไร) เมือง ๘,๓๘๗ - ๔,๔๔๓.๕ ๓๖,๓๕๘ นิคมคาสรอย ๓,๖๖๓ - ๑๔๙.๕ ๒,๘๒๒ ดอนตาล ๓,๓๕๒ - ๔๓๙.๕ ๑,๓๔๒ ดงหลวง ๔,๒๑๘ - ๕๙๙.๕ ๘,๐๑๗ คาชะอี ๔,๖๗๘ - ๒,๓๓๔.๕ ๕,๕๓๑ หวานใหญ ๑,๓๖๓ - ๑,๑๐๘.๗๕ ๑,๖๓๗ หนองสูง ๑,๗๒๙ - ๑๙.๕ ๒,๓๑๔ รวม ๒๗,๓๙๐ - ๙,๐๙๕ ๕๘,๐๒๑
  • 6. ๑.๑.๓ สาขาประมง การเพาะเลี้ยงสัตวนาจืด ลาดับที่ รายการ หนวยวัด จานวน ๑ เกษตรกรผูเลี้ยงปลา ราย ๑๑,๑๓๙.๐๐ ๒ จานวนบอเลี้ยง บอ ๑๓,๓๘๔.๐๐ ๓ พื้นที่เพาะเลี้ยงปลานาจืด ไร ๘,๕๑๒.๕๒ ๔ ผลผลิตปลานาจืด กิโลกรัม ๑,๘๐๐,๑๕๐.๐๐ มูลคา (บาท) ๔๙,๖๐๖,๓๓๐ การเลี้ยงปลาในกระชังบริเวณแมนาโขง ลาดับที่ รายการ หนวยวัด จานวน ๑ เกษตรกรผูเลี้ยงปลา ราย ๑๕๗.๐๐ ๒ จานวนกระชัง บอ ๓,๖๕๐.๐๐ ๓ พื้นที่กระชัง ตารางเมตร ๓๓,๐๕๒.๐๐ ๔ ผลผลิต กิโลกรัม ๕๐๘,๐๐๐.๐๐ มูลคา (บาท) ๒๖,๒๔๒,๐๐๐ ชนิดของปลาทีเลียง ไดแก ปลานิล ปลานิลแปลงเพศ ปลาไน ปลาตะเพียนขาว ปลายีสกเทศ ปลา นวลจันทรเทศ ปลาสรอยขาว ปลาจีน ปลาดุก กบ และสัตวนาอื่น ๆ ๑.๒ ภาคนอกการเกษตร สาขาอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมในจังหวัดมุกดาหารสวนใหญเป็นอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม มีอุตสาหกรรมที่ สาคัญ ไดแก อุตสาหกรรมนาตาลและอุตสาหกรรมโรงสีขาว จานวนโรงงานในภาคอุตสาหกรรม ณ สินป ๒๕๕๔ จานวน ๒๐๖ แหง (เฉพาะโรงงานจาพวกที่ ๒,๓) ลดลงจากปีทีผานมา จานวน ๑๕ แหง หรือคิดเป็นรอยละ ๖.๗๘ จานวนเงินลงทุน ๕,๙๒๐,๙๔๕,๒๐๓ บาท เพิมขึนจากปีทีผานมา ๒,๗๐๓,๗๙๖,๑๐๓ บาท คิดเป็นรอย ละ ๕๔.๓๓ บาท ดานแรงงานในภาคอุตสาหกรรมมีทังสิน ๓,๐๕๔ คน เพิมขึนจากป ทีผานมา ๑๑๙ คน หรือ คิดเปนรอยละ ๐.๒๕ โดยแยกประเภทโรงงานอุตสาหกรรมได ดังนี้ อุตสาหกรรมเกษตร จานวน ๑๙ แหง อุตสาหกรรมขนสง จานวน ๕๕ แหง อุตสาหกรรมอโลหะ จานวน ๒๓ แหง อุตสาหกรรมผลิตภัณฑโลหะ จานวน ๒๑ แหง อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล จานวน ๗ แหง อุตสาหกรรมไมและผลิตภัณฑจากไม จานวน ๑๓ แหง อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรและเครื่องเรือน จานวน ๕ แหง อุตสาหกรรมกระดาษและผลิตภัณฑ จานวน ๑ แหง อุตสาหกรรมเคมี จานวน ๓ แหง
  • 7. อุตสาหกรรมปโตรเคมีและผลิตภัณฑ จานวน ๒ แหง อุตสาหกรรมยาง จานวน ๗ แหง อุตสาหกรรมพลาสติก จานวน ๒ แหง อุตสาหกรรมอาหาร จานวน ๑๕ แหง อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม จานวน ๒ แหง อุตสาหกรรมสิ่งทอ จานวน ๑ แหง อุตสาหกรรมเครื่องแตงกาย จานวน ๒ แหง อุตสาหกรรมเครื่องหนัง จานวน ๓ แหง อุตสาหกรรมอื่นๆ จานวน ๒๔ แหง ๒. เศรษฐกิจดานอุปสงค (ดานการใชจาย) อุปสงคภายในจังหวัดทังในดานการใชจายเพือการอุปโภคบริโภคและภาคการลงทุนขยายตัว โดยรวมขยายตัว ดีเมื่อเทียบกับปีที่ผานมา มีรายละเอียดดังนี้ ๒.๑ การบริโภคภาคเอกชน การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวดีจากปีทีผานมา เนืองจากเกษตรกรมีรายไดเพิมขึนจากราคาพืชผล ทางการเกษตรโดยรวมยังอยูในเกณฑดี สอดคลองกับการจดทะเบียนรถทุกประเภทยังคงเพิมขึนตอเนือง โด ยเฉพาะ จานวนการจดทะเบียนใหมของรถยนตนั่งสวนบุคคลไมเกิน ๗ ทีนัง และรถจักรยานยนต เพิมขึนรอยละ ๒๑.๑๑ และ ๑๔.๕๗ ตามลาดับ เหลานีเป็นผลจากผูประกอบการมีการสงเสริมการขาย และออกรถรุนใหมใหเลือกหลายรุน ประกอบกับนโยบายรถคันแรกของรัฐบาลอีกทังสถาบันการเ งินผอนคลายเกณฑการใหสินเชือ ขณะเดียวกันปริมาณ การใชไฟฟาในครัวเรือนเพิมขึนเมือเทียบกับปีทีผานมารอยละ ๕.๔๐ สงผลใหภาพรวมภาคการอุปโภคบริโภคในป ๒๕๕๔ ยังคงขยายตัวดี ๒.๒ การลงทุนภาคเอกชน การลงทุนภาคเอกชนในป ๒๕๕๔ โดยรวมเพิมขึนจากปีทีผานมา หลังจากทีลดลงในชวงไตรมาสที่ ๑ และ ปรับตัวดีขึนในชวงไตรมาส ๓ ถึงไตรมาส ๔ เนืองจากมีความชัดเจนทางการเมืองมากขึน หลังจากการเลือกตังเดือน กรกฎาคม ๒๕๕๔ ทีผานมา ทาใหนักลงทุนมีความมันใจในการลงทุน สะทอนไดจากการขยายตัวของเครืองชีในภาค การกอสราง โดยพื้นที่อนุญาตกอสรางในเขตเทศบาล เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมารอยละ๑๐๔.๐๖ โดยเป็นการเพิมขึนของ พืนทีขออนุญาตกอสรางประเภททีอยูอาศัย การกอสรางอาคารเพือการพาณิชย และการกอสรางอืนๆ เชน กอสราง โรงแรม ลานจอดรถ และโกดังเก็บสินคา เปนตน ขณะเดียวกันยังมีการเพิ่มทุนในธุรกิจเดิมสูงถึง๘๕๒.๔๙ ลานบาท ทั้งนี้ปจจัยบวกสวนหนึ่งมาจากการขยายตัวของเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร และมาตรการกระตุนเศรษฐกิจ ของรัฐบาล ๒.๓ การใชจายภาครัฐ การใชจายภาครัฐปงบประมาณพ.ศ. ๒๕๕๔ มีการเบิกจายงบประมาณ จานวน ๔,๙๑๗.๕๗ ลานบาท สูง กวาปีที่ผานมารอยละ ๑๖.๖๐ เปนผลจากการเพิมขึนทังรายจายประจาและรายจายลงทุน ดังนี้ รายจายประจา จานวน ๓,๓๓๒.๒๑ลานบาท สูงกวาปีที่ผานมาคิดเป็นรอยละ ๙.๐๔ รายจายลงทุน จานวน ๑,๕๘๕.๓๖ลานบาท สูงกวาปีที่ผานมาคิดเป็นรอยละ ๓๖.๔๖ เนื่องจาก มาตรการกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาล ทาใหมีการเรงรัดการเบิกจายมากขึ้น
  • 8. ๒.๔ การคาระหวางประเทศ การคาชายแดนไทย - ลาว สถานการณการคาโดยรวมป๒๕๕๔ มีมูลคา ๗๒,๕๙๖.๒๖ ลานบาท เพิ่มขึนจาก ป ๒๕๕๓ จานวน ๓๓,๑๖๙.๐๕ ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ ๘๔.๑๓ โดยแยกเปน การสงออกสินคา มีมูลคา ๔๗,๘๓๖.๒๖ ลานบาท เพิมขึนจากปีทีผานมาคิดเป็น รอยละ ๑๐๗.๕๘ โดยสินคาทีมีการสงออกมากทีสุด ๓ อันดับ ไดแก สินคาประเภทอิเลคทรอนิกส (ฮารดดิสก อุปกรณคอมพิวเตอร) นามันเชื้อเพลิง และสินคาประเภทอุปโภคบริโภคเปนสาคัญ การนาเขาสินคา มีมูลคา ๒๔,๗๖๐.๐๐ ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมารอยละ ๕๑.๑๔ ซึงเพิมขึน จากการนาเขาทองแดงบริสุทธิ์ เป็นสาคัญ สาหรับสินคานาเขาทีมีมูลคาสูงสุด ๓ อันดับแรกในเดือนนี้ ไดแก สินคา ประเภททองแดงบริสุทธิ์ สินคาประเภทอิเลคทรอนิกส สินคาประเภทเสื้อผาสาเร็จรูป และอุปกรณตกแตง เปนสาคัญ ๓. ดานการเงิน ปริมาณเงินฝากรวม ณ สินป ๒๕๕๔ มีจานวนเงินฝากรวม ๑๒,๙๕๓.๓๖ ลานบาท ขยายตัวรอยละ ๔๙.๐๔ เนื่องจากมีการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยและสถาบันการเงินมีการจูงใจใหประชาชนมีการฝากเงินเพิ่มขึน ปริมาณสินเชือเพิมขึนจากปีทีผานมาคิดเป็นรอยละ ๑๘.๓๒ สวนหนึงมาจากเศรษฐกิจจังหวัดทีมีแนวโนม ขยายตัว ทาใหนักลงทุนและผูประกอบการมีความมันใจในการขยายการลงทุนและประกอบธุรกิจเพิมขึน โดยเฉพาะ สินเชื่อเพื่อที่อยูอาศัย ๔. เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ๔.๑ ดานระดับราคา อัตราเงินเฟอป ๒๕๕๔ ขยายตัวในอัตราทีชะลอตัวรอยละ ๔.๗๐ จากทีขยายตัวรอยละ ๘.๙๓ ในปีที่ ผานมา เนืองจากในชวงครึงปีหลังรัฐบาลมีการปรับลดราคานามันเชือเพลิง และควบคุมราคาสินคาจนถึงสินป สงผล ใหอัตราเงินเฟอในปนี้ชะลอตัว ๔.๒ ดานการจางงาน ภาวะการจางงานของจังหวัดมุกดาหารในป ๒๕๕๔ ปรับตัวดีขึน พิจารณาจากตัวเลขจานวน ผู วางงานลดลงเมือเทียบกับปีทีผานมา รอยละ ๕๘.๔๑ เป็นผลจากการขยายตัวของทังภาคบริการและการทองเทียว และการลงทุนภาคเอกชน สอดคลองกับจานวนผูประกันตนในระบบประกันสังคมทังปีมีจานวน ๑๑,๙๒๐ คน ขยายตัวจากปีทีผานมา คิดเป็นรอยละ ๗.๔๔ สาหรับอัตราการจางแรงงานขันตาปรับเพิมขึน ๑๐ บาท จาก ๑๕๕ บาท เป็น ๑๖๕ บาท ปรับตามภาวะเศรษฐกิจและภาวะคาครองชีพทีเพิมขึน ซึงมีผลบังคับใชตังตังแต ๑ มกราคม ๒๕๕๕ ที่ผานมา ๔.๓ กาลังแรงงาน การมีงานทา และการวางงาน ขอมูลกาลังแรงงาน การมีงานทา และการวางงาน เป็นขอมูลผลการสารวจภาวการณ การทางานของประชากร โดยสานักงานสถิติจังหวัดมุกดาหารพบวาจังหวัดมุกดาหารมีประชากรรวมทังสิน จานวน ๓๔๖,๐๖๐ คน แยกเป็นชาย จานวน ๑๗๓,๖๖๓ คน และหญิง จานวน ๑๗๒,๓๙๗ คน โดยผูทีมีอายุ ตากวา ๑๕ ป จานวน ๗๓,๓๑๔ คน คิดเป็น รอยละ ๒๑.๑๘ ของประชากรทังหมด และเป็นผูทีมีอายุ ๑๕ ปีขึนไป จานวน ๒๗๒,๗๔๖ คน คิดเป็นรอยละ ๗๘.๘๑ ของ ประชากรทังหมด ซึงแบงออกเป็น ผูอยูในกาลังแรงงาน จานวน๒๑๔,๔๕๖ คน คิดเป็นรอยละ ๗๘.๖๒ และเป็นผูไม อยูในกาลังแรงงาน จานวน ๕๘,๒๙๐ คน คิดเปนรอยละ ๒๑.๓๗ ของผูที่มีอายุ ๑๕ ขึ้นไป
  • 9. ผูที่อยูในกาลังแรงงานทั้งหมด จานวน ๒๑๔,๔๕๖ คน พบวาเป็นผูมีงานทา จานวน ๒๑๓,๘๑๒ คน คิดเป็นรอย ละ ๙๙.๖๙ ผูวางงาน จานวน ๖๐๙ คน คิดเป็นรอยละ ๐.๒๘ สวนผูทีไมอยูในกาลังแรงงานทังหมด จานวน ๕๘,๒๙๐ คน แบงไดเป็น ผูทางานบานจานวน ๑๖,๔๗๐ คน คิดเป็นรอยละ๒๘.๒๕ เรียนหนังสือจานวน ๑๘,๗๐๗ คน คิดเป็นรอยละ ๓๒.๐๙และอื่นๆจานวน ๒๓,๑๑๔คน คิดเปนรอยละ ๓๙.๖๕ของผูไมอยูในกาลังแรงงานทั้งหมด เมือพิจารณาจากผูมีงาน ทา ซึงมีจานวน ๒๑๓,๘๑๒ คน จาแนกตามอาชีพ พบวา กลุมอาชีพ ผูมีงานทา มากทีสุด คือ กลุมอาชีพผูปฏิบัติงานทีมีฝีมือในดานการเกษตรและ การประมง จานวน ๑๒๕,๕๐๑ คน คิดเป็น รอยละ ๕๘.๖๙ รองลงมาไดแก พนักงานบริการและพนักงานใน รานคาและตลาด จานวน ๓๑,๘๙๒ คน คิดเป็น รอยละ ๑๔.๙๑ และผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝีมือธุรกิจการคาทีเกียวของ จานวน ๑๖,๓๗๒ คน คิด เป็นรอยละ ๗.๖๕ ของผูมีงานทา ๔.๔ การจัดหางานและการสงเสริมการมีงานทา สาหรับการจัดหางานในไตรมาส ๔/๒๕๕๔ (ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๔ ) มีตาแหนงงานวางรวมทังสิ้น จานวน ๖๗๒ อัตราแยกเปนตาแหนงงานวางในเพศชาย จานวน ๒๑๑ อัตรา คิดเป็นรอยละ ๓๑.๓๙ เพศหญิง จานวน ๑๐๖ อัตรา คิดเป็นรอยละ ๑๕.๗๗ และไมระบุเพศ จานวน ๓๕๕ อัตรา คิดเป็นรอยละ ๕๒.๘๒ ของตาแหนง งานวางทังหมด นอกจากนียังมีแรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทางาน ตามมติ ครม.ป ๒๕๕๔ สารวจ ณ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๔ รวมทั้งสิ้น ๑,๑๐๘ คน สัญชาติลาวมากที่สุดจานวน ๑,๐๘๑ คน คิดเป็นรอยละ ๙๗.๕๖ สัญชาติพมา จานวน ๒๖ คน คิดเป็นรอยละ ๒.๓๔ และสัญชาติกัมพูชา ๑ คน คิดเปนรอยละ ๐.๐๙ การฝกอบรมเพือพัฒนาฝมือและแรงงาน ประจาปงบประมาณ ๒๕๕๕ หลักสูตร ที่ สาขาชาง ระยะเวลาฝก จานวนผูเขาฝึก กิจกรรม/โครงการ ชาย หญิง รวม ๑ ชางปูกระเบื้อง ๓๑ ต.ค.๕๔ – ๙ พ.ย.๕๔ ๒๑ ๔ ๒๕ ยากจน ๒ จักสานผลิตภัณฑจากเสน พลาสติก ๓ พ.ย.๕๔ – ๑๒ พ.ย.๕๔ ๒ ๒๓ ๒๕ อิสระ ๓ การทาไมกวาดดอกหญา ๑ พ.ย.๕๔ – ๑๐ พ.ย.๕๔ ๒๕ - ๒๕ OTOP ๔ จักสานผลิตภัณฑจากเสน พลาสติก ๗ พ.ย.๕๔ – ๑๖ พ.ย.๕๔ ๒๕ - ๒๕ ยากจน อาชีพ ๕ ชางเชื่อมไฟฟาดวยมือเบื้องตน ๓๑ ต.ค.๕๔ – ๔ พ.ย.๕๔ ๒๐ - ๒๐ ผูประสบภัยธรรมชาติ ๖ ชางเชื่อมไฟฟาดวยมือเบืองตน ๓๑ ต.ค.๕๔ – ๔ พ.ย.๕๔ ๒๐ - ๒๐ ผูประสบภัยธรรมชาติ เสริม ๗ ชางกออฐิ – ฉาบปูน ๑๐พ.ย.๕๔ – ๑๙พ.ย.๕๔ ๒๒ ๒ ๒๔ ยากจน ๘ เทคนิคการเย็บเสื้อดวยมือ ๗ พ.ย.๕๔ – ๑๘ พ.ย.๕๔ ๑ ๒๔ ๒๕ ยากจน ๙ ชางกออฐิ – ฉาบปูน ๗ พ.ย.๕๔ – ๑๘ พ.ย.๕๔ ๑๘ ๗ ๒๕ ผูประสบภัยธรรมชาติ ยกระดับ ๑๐ ชางปูกระเบื้อง ๑๓ธ.ค.๕๔ – ๒๒ ธ.ค.๕๔ ๒๖ - ๒๖ ทั่วไป ๑๑ ชางเดินสายไฟฟาภายในอาคาร ๑๓ ธ.ค.๕๔ – ๒๒ธ.ค.๕๔ ๓๐ - ๓๐ ทั่วไป ๑๒ การเย็บผาหมดวยเศษผา ๕ ธ.ค.๕๔ – ๙ ธ.ค.๕๔ ๑ ๑๙ ๒๐ ผูประสบภัยธรรมชาติ ๑๓ การเย็บผาหมดวยเศษผา ๕ ธ.ค.๕๔ – ๙ ธ.ค.๕๔ - ๒๐ ๒๐ ผูประสบภัยธรรมชาติ ๑๔ การทาไมกวาดดอกหญาเบื้องตน ๑๐ ธ.ค.๕๔ – ๑๔ธ.ค.๕๔ ๗ ๑๓ ๒๐ ผูประสบภัยธรรมชาติ ๑๕ การทาไมกวาดดอกหญาเบื้องตน ๑๕ธ.ค.๕๔ – ๑๙ธ.ค.๕๔ - ๒๐ ๒๐ ผูประสบภัยธรรมชาติ ๑๖ ปูกระเบื้อง ๑๖-๒๕ ม.ค. ๕๕ ๒๑ ๔ ๒๕ ยากจน ๑ พนักงานบริการสนามกอลฟ ๑๔ .ย.๕๔ – ๑๖พ.ย.๕๔ - - ๖๐ รองรับอุตสาหกรรม ๒ การสรางบริการทีประทับใจ ๑๗ .ย.๕๔ – ๑๘พ.ย.๕๔ - - ๘๔ รองรับอุตสาหกรรม ๓ การประกอบถังกรองนาเพื่อ อุปโภค ๕ พ.ย.๕๔ – ๖ พ.ย.๕๔ ๑๒ ๘ ๒๐ รองรับอุตสาหกรรม
  • 10. เตรียมเขา ทางาน ๑ ชางเชื่อมไฟฟาดวยมือ ๔ เดือน ๑ - ๑ เตรียม ๒ ชางเดินสายไฟฟา ๕ เดือน ๑ - ๑ เตรียม ๓ ชางแตงผมสตรี ๒ เดือน - ๘ ๘ เตรียม ๔ ชางซอมรถจักรยานยนต ๔ เดือน ๔ - ๔ เตรียม ๕ ชางเย็บจักรอุตสาหกรรม (ผา) ๒ เดือน - ๑๑ ๑๑ เตรียม ๖ ชางซอมเครื่องยนต ๔ เดือน ๓ - ๓ เตรียม ๗ ชางเครื่องปรับอากาศในบาน และการพาณิชยขนาดเล็ก ๖ เดือน ๒ - ๒ เตรียม ๘ ชางซอมคอมพิวเตอร ๖ เดือน ๙ ๑ ๑๐ เตรียม ๙ เทคนิคงานปูนกอสราง ๖ เดือน ๑ - ๑ ๔.๕ ดานการประกันสังคม สานักงานประกันสังคมจังหวัดมุกดาหาร ดูแลรับผิดชอบกองทุน ๒ กองทุนคือ ๑. กองทุนประกันสังคม เปนกองทุนที่มีรายไดจากการนาสงเงินสมทบเขากองทุน ซึ่งมี ๓ สวนคือนายจางลูกจาง และรัฐบาล โดยจะตองนาสงเงินเขากองทุนเปนรายเดือน ใหสิทธิประโยชนแกผูประกันตน ๗ กรณี คุมครองผูประกันตนใน กรณีที่ไมเกิดขึ้นจากการทางาน ดังนี้ ๑)กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บปวย ๒)กรณีทุพพลภาพ ๓)กรณีตาย๔) กรณีคลอด บุตร ๕)กรณีสงเคราะหบุตร ๖)กรณีชราภาพ ๗)กรณีวางาน มีสถานประกอบการทีขึ้นทะเบียนกองทุนประกันสังคม ซึ่งจะมีหนวยงานเอกชนและสวนราชการ จานวน ๑,๑๔๗ แหง ผูประกันตน จานวน๑๑,๙๐๙คนมีผูประกันตนมารับบริการ ๔,๑๑๙คนจายประโยชนทดแทน ๗,๐๙๘,๘๙๒.๓๙ บาท ๒. กองทุนเงินทดแทน เปนกองทุนที่มีรายไดจากนายจางนาสงเงินสมทบเขากองทุนฝายเดียว ปละ ๑ ครั้ง ใหความ คุมครองลูกจางในกรณีที่เกิดจากการทางาน ดังนี้ ๑) กรณีประสบอันตราย ๒) กรณีเจ็บปวย ๓) กรณีทุพพลภาพ ๔) กรณีตาย หรือสูญหาย อันเนื่องมาจากการทางานหรือปกปองรักษาผลประโยชนใหกับนายจาง มีนายจางที่ขึ้นทะเบียนกองทุนเงินทดแทน ซึ่งจะมีเฉพาะหนวยงานเอกชน จานวน ๙๑๖ ราย ลูกจาง ๖,๔๙๓ คน มี ลูกจางมารับบริการ ๑๕ คนจายเงินทดแทน ๑๓๙,๗๘๑.๖๕ บาท(ขอมูลดานการประกันสังคม ณวันที่ ๓๑ มกราคม๒๕๕๕) แนวโนมเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหารของ ป ๒๕๕๕ เศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร ในป ๒๕๕๕ คาดวาจะขยายตัวตอเนืองจากปีทีผานมา ซึงปัจจัยขับเคลือนทาง เศรษฐกิจทีสาคัญมาจากการอุปโภคบริโภค และการลงทุนภาคเอกชนมีแนวโนมขยายตัวตอเนือง และราคาสิน คา เกษตรนาปรับตัวสูงขึน ทาใหรายไดเกษตรกรปรับสูงขึนตามราคาพืชผลทีสาคัญ ขณะเดียวกันรายไดของลูกจางและ ขาราชการทีจะปรับขึนตามนโยบายหาเสียง ซึงผูจบปริญญาตรีจะไดรับคาตอบแทน จานวน ๑๕,๐๐๐ บาทตอเดือน ของรัฐบาล และอัตราคาจางขึนตาทีจะมีการปรับเพิม ขึนเชนกัน ประกอบกับการวางงานอยูในระดับตา รวมถึงภาค การทองเที่ยวที่ยังคงขยายตัวดีตอเนื่องจากปที่ผานมา นอกจากนีมาตรการกระตุนเศรษฐกิจและการลงทุนของรัฐบาล ทั้งชวยฟนฟูหลังนาทวม และการสรางความเชื่อมั่นตอนักลงทุนทั้งในและตางประเทศยังมีการดาเนินการตอเนือง อยางไรก็ดี การปรับคาแรงขันตาและการขึนเงินเดือนขาราชการ รวมถึงภาวะราคาสินคาเกษตรอยูใน ระดับสูง และราคานามันที่มีแนวโนมสูงขึ้น จะสงผลใหราคาสินคาและบริการตางๆ ปรับสูงขึนตามไปดวย ทาใหอัตรา เงินเฟอในปีหนาคาดวาจะปรับเพิมขึน สาหรับการเมืองภายในประเทศแมจะดีขึนแตก็ยังมีความไมแนนอน และ นับเปนปจจัยเสี่ยงตอความเชื่อมั่นและการขยายตัวของเศรษฐกิจได นอกจากนี้เศรษฐกิจโลกและการเปลียนแปลงของ สภาพแวดลอม หรือภัยธรรมชาติก็เปนตัวแปรหนึ่งที่อาจสงผลตอภาวะเศรษฐกิจ ซึ่งตองใหความสําคัญเชนกัน
  • 11. อําเภอดอนตาล คําขวัญ ภูนางหงสเลิศลอย แหลงหอยสมัยหิน ถิ่นกําเนิดลําผญา ผาแตมบรรพกาล กลองโบราญล้ําคา งานตาสระกมุท มาศ หาดหินวัดเวินไชย ถิ่นไทยขากะเลิง 1.ดานภูมิศาสตร ประวัติความเปนมาของอําเภอ ดอนตาล ในอดีตเปนตําบล ดอนตาล การปกครองขึ้นกับ อําเภอ มุกดาหาร จังหวัด นครพนม เปนตําบลที่มีชื่อเสียงมากตําบลหนึ่ง ในเขตอําเภอ มุกดาหาร เปนแผนดินที่ อุดมสมบูรณ ดวยโภคทรัพยแตโบราณ ตอมาเมื่อป พ.ศ.2506 ไดรับการยกยองฐานะ แตงตั้งเปนกิ่ง อําเภอ ดอนตาล โดยมี นาย คําบุ เหมมาลา เปนปลัดอําเภอผูเปนหัวหนากิ่งอําเภอ อยางเปนทางการ 2.ดานภูมิศาสตรและสภาพทั่วไป 2.1.ปจจุบันอําเภอดอนตาลแบงการปกครองออกเปน 7 ตําบล -ตําบล ดอนตาล มี 12 หมูบาน -ตําบล บานบาก มี 7 หมูบาน
  • 12. -ตําบล เหลาหมี มี 9 หมูบาน -ตําบล ปาไร มี 9 หมูบาน -ตําบล โพธิ์ไทร มี 7 หมูบาน -ตําบล นาสะเม็ง มี 8 หมูบาน -ตําบล บานแกง มี 7 หมูบาน 2.2.มีพื้นที่ประมาณ 504 ตร.กม. หรือ 31,500 ไร ประชากรทั้งหมด ประมาณ 39,209 คน ประชากรสวนใหญเปนคนไทยอีสานเผาภูไท และกระเริงประกอบอาชีพดาน กสิกรรมเกษตรกรรม การ ทํานา ทําไร ฐานะทางเศรษฐกิจอยูในระดับปานกลาง พื้นที่สวนใหญทําเกษตรปลูกพืชไรลมลุก เชน ออย- มันสําปะหลัง 2.3.อาณาเขต -ทิศเหนือ จดพื้นที่อําเภอเมืองมุกดาหาร -ทิศใต จดพื้นที่อําเภอชานุมาน จังหวัดอํานาจเจริญ -ทิศตะวันออก จดแมน้ําโขงกั้นระหวางประเทศลาว -ทิศตะวันตก จดพื้นที่อําเภอเลิงนกทาจังหวัดยโสธร 2.4.สภาพเสนทางคมนาคม 2.4.1.ทางรถยนต -ถนนสาย ดอนตาล-มุกฯ ระยะทาง 33 กม. -ถนนสาย ดอนตาล-เลิงนกทา ระยะทาง 50 กม. 2.4.2.ทางรถไฟ ยังไมมี 3.การแบงเขตตามชายฝง มีแมน้ําโขงกั้นระหวางพื้นที่ อ.ดอนตาลกับฝงลาว 4.ชวงทางสําคัญ -ไมมี 5.แหลงน้ําสําคัญ มีลําน้ําหวยบังอี่ มีระดับน้ําเกิดจากพื้นที่ อ.ดงหลวง ไหลผาน อ.หนองสูง อ.นิคมคําสรอย ไหลสูแมน้ําโขงผานบานนาโพธ ต.โพธุไทร อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร 6.สถานที่ราชการ องคการรัฐวิสาหกิจ ที่วาการอําเภอดอนตาล สภ.อ.ดอนตาล รพ.ดอนตาล ชุมสายโทรศัพท เกษตรอําเภอดอนตาล การไฟฟา พัฒนาชุมชน การประถมศึกษาอําเภอ อนามัยอําเภอ ร.ร.ดอนตาล 7.ลมฟาอากาศ มี 3 ฤดู คือ ฤดูรอน เริ่มแตเดือน กุมภาพันธ-พฤษภาคม ฤดูฝน เริ่มแตเดือน มิถุนายน -กันยายน ฤดูหนาว เริ่มแตเดือน ตุลาคม –มกราคม 8.ดานการเมืองการปกครอง 8.1.การปกครองมีการควบคุมตาม พรบ.ทะเบียนราษฎรประชาชนเขต อ.ดอนตาล นิยม การ เลือกตั้งระบบพรรคการเมือง แบงการปกครองคือ 8.2.เขตสุขาภิบาล ต.ดอนตาล มีประชากรชาย 3,337 คน หญิง 3,453 คน รวม 6,790 คน รวม 1,381 ครอบครัว 8.3 แบงการปกครองเปน 7 ตําบล 59 หมูบาน สถานที่สําคัญ *กลองมโหระทึก อยูที่วัดมัชฌิมาวาส ( วัดกลาง ) อ.ดอนตาล เปนกลอง สัมฤทธิ์ หนาเดียว ที่ ใหญที่สุดในประเทศไทยเชื่อวา มีความเกาแก ไมต่ํากวาสามพันป และอีกใบหนึ่งปจจุบันเก็บรักษาไว ที่ สถานีตํารวจภูธร อ.คําชะอี เปนกลองสัมฤทธิ์หนาเดียว เสนผาศูนยกลาง 86 เซนติเมตร ตัวกลอง
  • 13. ยาว 90 เซนติเมตร หนากลองเปนรูปตะวันนูนมีแฉก 14 แฉก มีรูปกบติดขอบกลองจํานวน 4 ตัว กลอง ดังกลาวเชื่อวาอายุ ไมต่ํากวา 3,000 ป และเปนกลองที่พวกขาและขอมโบราณชอบเก็บสะสมไว คนพบ เมื่อป 2481 ที่บริเวณริมตลิ่ง แมน้ําโขงที่น้ําเซาะพัง ตรงบานนาทาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว โดยตอนแรกเก็บรักษาไวที่ วัดมัชฌิมาวาส (วัดกลาง) อยูไมไกลจากที่วาการอําเภอดอนตาล โดย สรางเปนหอกลอง เก็บรักษาไว อยางมั่นคง *อุทยานสมเด็จยา (ฐานวรพัฒน) เปนอุทยานประวัติศาสตร ในทองที่ จังหวัดมุกดาหารแหงเดียว คือ อุทยานสมเด็จยา *ภูผาแตก หรือชื่อทางยุทธการสงครามวา "เนิน 428" ที่นี่เปนจุดชมวิว มีองคประกอบทาง ธรรมชาติ สวยงาม ทางดานทิศเหนือ สามารถมองเห็นทิวเขาของอุทยานแหงชาติมุกดาหารในระยะไกล ได *ลานหิน และปาเต็งรังแคระ พบไดทั่วไป และมีอยูมาก เปนลานหินยาวและใหญบางแหงมี ขนาด 20-40 ไร สลับกับปาเต็งรังแคระ บางแหงเปนปาเต็งรังสลับกับปาหญาเพ็ก มองดูสวยงามมาก และพบไดหลายแหง เชน ภูผาหอม หลังภูผาดาง หลังภูผา ภูสระดอกบัว ภูกบก ภูหัวนาค เปนตน *อุทยานแหงชาติภูสระดอกบัว อยูที่อําเภอดอนตาล จุดเดนที่นาสนใจ เชนสระบัว ถ้ําผา แตม ภูผาแตม ที่หนาผาจะมีภาพเขียนสีโบราญกอนประวัติศาสตร ภูผาแตก บนลานดอกไมบนภูวัด ผา มะเกลือ ในยามเย็น ตรงจุดนี้ มีนักทองเที่ยว นิยมมาชมพระอาทิตยลับขอบฟา เพื่อเก็บภาพอันนา ประทับใจ และพักคางแรม กันมาก เปนอุทยานที่มีเนื้อที่อยูบนแนวรอยตอ 3 จังหวัด คือ อําเภอนิคมคํา สรอย อําเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร อําเภอชานุมาน และอําเภอเส นางคนิคม จังหวัดอํานาจเจริญ มีเนื้อที่ 232 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 145,000 ไร สภาพภูมิ ประเทศโดยทั่วไปเปนเทือกเขาสลับซับซอน ทอดตัวเปนแนวยาว จากทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ลงสูทิศ ตะวันออกเฉียงใต มีความสูงโดยเฉลี่ย 350-450 เมตร หรือระดับน้ําทะเล ปานกลาง มียอดสูงที่สุด คือ ภู กระแซะ สูงประมาณ 491 เมตร เทือกเขาเหลานี้เปนแหลงตนน้ําลําธารหลายสาย เชน หวยทม หวย กานเหลือง ซึ่งไหลรวมลงสูพื้นราบโดยรอบอุทยานฯ ซึ่งประกอบดวยปาอันอุดมสมบูรณหลายชนิด พื้นที่ หลายแหลงมีลานหินขนาดใหญ ซึ่งชาวทองถิ่นเรียกวา "ดาน" กระจายอยูตามปา สวนใหญเปนปาเบญจ พรรณ และปาดิบแลงกระจายอยูตามเทือกเขาตาง ๆ มีไมที่มีคาขึ้นอยูหลายชนิด เชน มะคาโมง ประดู แดง พยุง ชิงชัน บริเวณพื้นที่ปาเหลานี้ มีสัตวปาอาศัยอยูหลายชนิด โดยเฉพาะที่เทือกเขาภูสระดอกบัว ซึ่งเปนพื้นที่ปาขนาดใหญ และอุดมสมบูรณไปดวยแหลงน้ํา สามารถพบสัตวปาไดหลายชนิด เชน เกง หมู ปา กระตายปา ลิง บาง เมน กระจง และสัตวปกประเภทตาง ๆ ไดแก ไกฟา ไกปา เปนตน บริเวณอุทยานฯ ประกอบดวยทิวทัศนที่สวยงาม ความวิจิตพิสดาร ของหินผา มีความเดนเปน เอกลักษณ ของตัวเอง ตลอดจนรองรอย ของการตอสูอันเกิดจากความขัดแยงทางการเมือง จึงทําใหพื้นที่ แหงนี้มีศักยภาพ ทางการทองเที่ยว สถานที่ทองเที่ยว ที่นาสนใจเขตอุทยานฯภูสระดอกบัว *หอยสมัยหิน ขุดพบที่โคกหินแดง บานนายอ ต.เหลาหมี อายุประมาณ 27 ลานป ซึ่งขุดพบ เปนแหลงที่ 3 ของโลก มีลักษณะคลายหอยสังข ฝงอยูในดินลึกประมาณ 40 ฟุต พบที่โคกหินแดง บาน นายอ ต.เหลาหมี อ.ดอนตาล การเดินทางใชเสนทางหลวงหมายเลข 2034 เลี้ยวซายตรงหลักกิโลเมตรที่ 17-18 ปากทาง เขาบานนาโพธิ์ ซึ่งเปนทางลูกรังตลอด จากการวิจัยของกรมทรัพยากรธรณีโดยนําหอย ไปวัดความหนาแนนแลว ทําใหทราบวา เปลือกโลกบริเวณนี้มีอายุประมาณ 27 ลานป หอยเปนหินนี้ขุด พบเปนแหงที่ 3 ของโลก บริเวณที่พบ เปลือกหอยนี้ปรากฏวาเปนชั้นหินปูนหนาประมาณ 1 ฟุต เหมาะ สําหรับ ผูที่สนใจทางดาน ธรณีวิทยา *อุทยานแหงชาติภูสระดอกบัว เปนเขตปาสงวน ต.บานไร อ.ดอนตาล จากจังหวัด มุกดาหาร ไปตามเสนทาง มุกดาหาร-ดอนตาล ( ประมาณ 42 กม.) ดอนตาล-เลิงนกทา ( เสนทางสาย
  • 14. 2277 ) ประมาณ 18 กม. และเลี้ยวขวาเขาสู ที่ทําการอทุยานแหงชาติ ซึ่ง เปนภูเขาที่คอนขางสูง มีแอง น้ําคลายสระ ปลูกดอกบัวไวสวยงาม ประชาชนทั้งใกล และไกลนิยมขึ้น ไปชมวิวทิวทัศนที่สวยงามนี้ ตั้งอยูที่บริเวณอางเก็บน้ําหวยหินขอ หมูที่ 3 บานหนอกเม็ก ตําบลปาไร อําเภอดอนตาล จังหวัด มุกดาหาร อีก 1 กิโลเมตร ประวัติความเปนมา สืบเนื่องมาจากชุดควบคุมทางยุทธวิธีที่ 06 ตั้งขึ้นตามคําสั่ง กองทัพภาคที่ 2 สวนหนา ในปลายป 2518 มี บก.ชค.อยูที่บานนามวง อําเภอดอนตาล จังหวัด นครพนมในขณะนั้น บนพื้นที่ ประมาณ 18 ไร ติดลําหวยเหี้ย การบุกเบิกปรับปรุงฐานครั้งแรก ไดรับการ นับสนุนจาก นายประมาณ คําวงษา หัวหนาหนวยนิคมสหกรณดอนตาล นําเจาหนาที่ และเครื่องจักรกล เขาบุกเบิก ผบ.ชค.06 คนแรกคือ พันเอก หมอมหลวงประทีป ทินกร เปน ผบ.ชค. มีกําลังทหารหลักจาก ผส. 6 ร.พัน 2 มี พ.ท.บรรเทา ใยเกตุ เปน ผบ. พัน จนถึง เดือนกันยายน 2519 ร.ท.วรพัฒน อัมพรพงค ไดเสียชีวิตในขณะปฏิบัติหนาที่ปะทะกับ ผกค.บริเวณใกลฐาน เพื่อเปนอนุสรณ แด ร.ท.วรพัฒนฯ จึงได ตั้งชื่อ บก.ชค. 06 วา " ฐานปฏิบัติการวรพัฒน " เปนตนมา ผูวาราชการ จังหวัด มุกดาหาร ไดประ ประสาน และระดมสรรพกําลัง งบประมาณ จากทุกสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคกรทองถิ่น ฯลฯ ปรับปรุงฐานวรพัฒนใหสมบูรณทุกดาน ไมวาดานสาธารณูปโภคพื้นฐาน ที่พักผอนหยอน ใจ บานรบรอง หองประชุม ฯลฯ นายพิชัยลักษณ เพชรบุรีกุล นายอําเภอดอนตาล ไดปรึกษากรรมการอําเภอดอนตาล พิจารณา ตั้งชื่อใหม ใหเหมาะสมวา " อุทยานสมเด็จยา ( ฐานวรพัฒน ) " และมีโครงการกอสรางหอพัก บาน รับรองไวรองรับ การอบรม สัมมนา มีรานอาหาร ไวบริการนักทองเที่ยว รวมทั้งเปนศูนยรวม ศิลปะวัฒนธรรมทองถิ่น และผลผลิต ดานการอาชีพ ของราษฎร เพื่อเสริมรายไดตอไป. *งานประเพณีงานบุญเดือนหก ( บุญบั้งไฟ )จัดที่ อ. ดอนตาลหมู 1 - 3 จัดขึ้นระหวาง วันที่ 10 -12 พฤษภาคม ของทุกป.