SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
ก
คํานํา
แบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตรชุดนี้ เปนสื่อประกอบการเรียนการสอน รายวิชา
คณิตศาสตรเพิ่มเติม (ค21202) หน*วยการเรียนรู,ที่ 2 พหุนาม ชั้นมัธยมศึกษาป/ที่ 1 ชุดที่ 1 เรื่อง
เอกนามเปนแบบฝกทักษะการเรียนรู,แบบสื่อประสมที่ผู,รายงานจัดทําขึ้นตามหลักสูตรสถานศึกษา
และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อมุ*งเน,นให,นักเรียนได,ฝกปฏิบัติ
กิจกรรมจริงที่หลากหลาย และเพิ่มความสนใจในการเรียนรู, ตลอดจนฝกทักษะและใช,กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร ในการแก,ป<ญหา การให,เหตุผลและการสื่อความหมาย ซึ่งสามารถนําไป
ประยุกตใช,ในการแก,ป<ญหาในชีวิตประจําวัน ส*งเสริมให,นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย
ทํางานอย*างเปนระบบ ช*วยเหลือซึ่งกันและกัน ส*งผลให,มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น
การจัดกิจกรรมการเรียนรู,ครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาป/ที่ 1 รายวิชาคณิตศาสตรเพิ่มเติม (ค21202) โดยจัด
กิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู, ซึ่งเนื้อหาที่ใช,อยู*ในระดับง*ายไปถึงระดับยาก
ผู,จัดทําขอขอบคุณนายศุภณัฐ เพชรรัตน อดีตผู,อํานวยการโรงเรียนหาดใหญ*รัฐประชา
สรรค นางวลัย ธนานุสนธิ์ ผู,อํานวยการโรงเรียนควนเนียงวิทยา นางธนัญญา อารมณฤทธิ์
นางอรพรรณ กาญจนแก,ว นางเพลินจิต ไชยสาลี นางสาวธันยรดา เนติ นางสาวจุฑาทิพย
มหาพรหมประเสริฐ นายถนอมศักดิ์ กิติเศวตจิต นายวิเชียร พูลศรี ตลอดถึงผู,ที่มีส*วนเกี่ยวข,อง
ทุกท*านที่กรุณาให,คําปรึกษา คําแนะนํา จนแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตรเสร็จสมบูรณด,วยดี
และหวังเปนอย*างยิ่งว*าแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตรชุดนี้จะเปนประโยชนต*อนักเรียนและ
ครูผู,สอนในการเพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาการเรียนรู,ของนักเรียนได,เปนอย*างดี
นางวาสนา พูลศรี
ครูชํานาญการโรงเรียนหาดใหญ*รัฐประชาสรรค
- 6 -
จัดทําดย นางวาสนา พูลศรี
เอกสารความรูชุดที่ 1 เรื่อง เอกนาม
เอกนาม.
พิจารณาขอความตอไปนี้
1. จํานวนจํานวนหนึ่งคูณกับหา
เขียนในรูปสัญลักษณ!ไดเป$น [ x 5× หรือ ]x 5×
2. ผลบวกของสามกับจํานวนจํานวนหนึ่ง
เขียนในรูปสัญลักษณ!ไดเป$น [ 3 x+ หรือ ]3 y+
3. จํานวนจํานวนหนึ่งหารดวยสี่
เขียนในรูปสัญลักษณ!ไดเป$น [x 4÷ หรือ ]
x
4
4. จํานวนจํานวนหนึ่งยกกําลังสอง
เขียนในรูปสัญลักษณ!ไดเป$น 2
x หรือ 2
a หรือ 2
y 
5. กําลังสองของจํานวนจํานวนหนึ่งคูณกับ 2
5
−
เขียนในรูปสัญลักษณ!ไดเป$น [ 2 2
x
5
 
× − 
 
หรือ 22
x
5
 
− × 
 
หรือ ]22
x
5
−
ขอความที่เขียนในรูปสัญลักษณ!ขางตนประกอบดวยตัวเลขและตัวอักษรเรียกตัวเลขว1า คาคงตัว
และเรียกตัวอักษรว1า ตัวแปร เช1น
ขอความที่เขียนในรูปสัญลักษณ! ค1าคงตัว ตัวแปร
12x− 12− x
2
6x 6 x
23
x
5
3
5
x
2 52
a b
7
 
− 
 
2
7
 
− 
 
a และ b
2 33
x y
10
3
10
x และ y
- 7 -
จัดทําดย นางวาสนา พูลศรี
ถาให x และ y เป$นตัวแปร ขอความที่เขียนอยู1ในรูปสัญลักษณ!
เช1น 2 3 2 5 3 2 2 41 4
10 , 5x , 2y , x y , 0.5x y z , x y , x 2
2 7
− − เรียกว1านิพจน!
เราสามารถเขียนการคูณระหว1างค1าคงตัวและตัวแปรหลาย ๆ ตัวไดหลายแบบ เช1น
2 x x x y× × × × เขียนในรูป2 x x x y⋅ ⋅ ⋅ ⋅ หรือ 3
2 x y⋅ ⋅ หรือ ( )( )( )3
2 x y
แต1นิยมเขียนในรูป 3
2x y
เอกนาม คือ นิพจน!ที่สามารถเขียนใหอยู1ในรูปการคูณของค1าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต1หนึ่งตัวขึ้นไปและ
เลขชี้กําลังของตัวแปรแต1ละตัวเป$นศูนย!หรือจํานวนเต็มบวก
ตัวอยางที่ 1 จงบอกค1าคงตัว ตัวแปร และเลขชี้กําลังของตัวแปรของเอกนาม 5
3x−
ค1าคงตัว คือ 3−
ตัวแปร คือ x
เลขชี้กําลังของตัวแปร คือ 5
ตัวอยางที่ 2 จงบอกค1าคงตัว ตัวแปร และเลขชี้กําลังของตัวแปรของเอกนาม 4 31
x y
2
ค1าคงตัว คือ 1
2
ตัวแปร คือ x และ y
เลขชี้กําลังของตัวแปร คือ เลขชี้กําลังของ x = 4
เลขชี้กําลังของ y = 3
- 8 -
จัดทําดย นางวาสนา พูลศรี
ตัวอยางที่ 3 จงบอกค1าคงตัว ตัวแปร และเลขชี้กําลังของ 4 2
x y
ค1าคงตัว คือ 1
ตัวแปร คือ x และ y
เลขชี้กําลังของตัวแปร คือ เลขชี้กําลังของ x = 4
เลขชี้กําลังของ y = 2
ตัวอยางที่ 4 2 5
3x y− เป$นเอกนามหรือไม1 เพราะเหตุใด
2 5
3x y− เป$นเอกนาม เพราะ 2 5
3x y− เขียนในรูปผลคูณของค1าคงตัวและตัวแปรที่
มีเลขชี้กําลังของตัวแปรเป$นจํานวนเต็มบวก
ตัวอยางที่ 5 3 2
2x y z−
เป$นเอกนามหรือไม1 เพราะเหตุใด
3 2
2x y z−
ไม1เป$นเอกนาม เพราะเลขชี้กําลังของ y เป$นจํานวนเต็มลบ
ตัวอยางที่ 6 2x y+ เป$นเอกนามหรือไม1 เพราะเหตุใด
2x y+ เป$นเอกนาม เพราะ 2x y+ ไม1อยู1ในรูปผลคูณของค1าคงตัวและตัวแปร
- 9 -
จัดทําดย นางวาสนา พูลศรี
ไม1ยากเหมือนที่คิด
นะ
เอกนามประกอบไปดวยสองสวนคือ
1. ส1วนที่เป$นค1าคงตัวเรียกว1าสัมประสิทธิ์ของเอกนาม
2. ส1วนที่อยู1ในรูปของตัวแปรหรือการคูณกันของตัวแปรโดยเรียกผลบวกของเลขชี้กําลังของตัวแปร
แต1ละตัวในเอกนามว1า ดีกรีของเอกนาม
ตัวอยาง จงบอกสัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนามตอไปนี้
เอกนาม สัมประสิทธิ์ของเอกนาม ผลบวกของเลขชี้กําลัง
ของตัวแปรแตละตัว
ดีกรีของเอกนาม
2
9x 9 2 2
-12x 12− 1 1
2
-4x y -4 2 1+
4
6x− 6− 4 4
1.5x 1.5 1 1
3
5x 5 3 3
2 3
14x y 14 2 3+ 5
3 4
2x y− 2− 3 4+ 7
3 2 4
6x y z 6 3 2 4+ + 9
1
xyz
2
1
2
1 1 1+ + 3
- 10 -
จัดทําดย นางวาสนา พูลศรี
- สําหรับเอกนาม 0 ไม1สามารถบอกดีกรีไดแน1นอนเพราะสามารถเขียน 0 ใหอยู1ในรูป n
0 x⋅ ไม1
ว1า n เป$นศูนย!หรือจํานวนเต็มบวกใด ๆดังนั้นจะไม1กล1าวถึงดีกรีของเอกนาม หรือกล1าวว1าดีกรี
ของเอกนาม 0 หาไม1ได
- เอกนามที่เป$นค1าคงตัวที่ไม1ใช1ศูนย! จะมีดีกรีเป$น 0 เช1น 2 มีดีกรีเป$น 0 เพราะสามารถเขียน
2 ใหอยู1ในรูป n
2 x⋅
จบจริง ๆ เสียที่
ไม1ยากเหมือนทีคิดเลยนะ
- 12 -
แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม
ใหนักเรียนเติม หนาขอซึ่งเปนเอกนามหรือเติม หนาขอซึ่งไมเปนเอกนาม
(ขอละ 1 คะแนน)
แบบฝกทักษะชุดที่ 1.1
เรื่อง เอกนาม
จุดประสงคการเรียนรู!
นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์ ตัวแปร และดีกรี ของเอกนามได
………… 1. 3x
………… 5
2. x
………… 2
3. 4x−
………… 4. 3x 5x−
………… 9x
5.
y
………… 3
6. 5− x
………… 1
7. xyz
2
………… 5 5
8. 9x yz
………… 4 3 2
9. 9x y 3xy÷
………… 3 -5
10. 7x yz
………… 3 6
11. x yz−
−
………… 3 2 5
12. 4x y z−
………… 3 53
13. x y
4
−
………… 2 31
14. a b
2
−
…………
7
3
2xy
15.
4xy−
คําชี้แจง
- 13 -
แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม
ใหนักเรียนพิจารณาวาจํานวนตอไปนี้เปนเอกนามหรือไม เพราะเหตุใด
(ขอละ 1 คะแนน)
เรื่อง เอกนาม (ต&อ)
แบบฝกทักษะชุดที่ 1.2
จุดประสงคการเรียนรู!
นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์ ตัวแปร และดีกรี ของเอกนามได
ตัวอยาง 9
10x−
เปนเอกนามเพราะ 9
10x− เขียนในรูปผลคูณของคาคงตัว
คือ 10− และ ตัวแปรคือ x เลขชี้กําลังของตัวแปร x มากกวา
หรือเทากับ 0
3
1. 6x ………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
7
2. xy ………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………......
3. 3x 2y− …………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
คําชี้แจงคําชี้แจง
- 14 -
แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม
4
4. 5x− ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
5. x ……………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
4
6. 9x−
………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
xy
7.
z
…………………………………………………………………………………
….……………………………………………………………………………………………….
2 5
8. x yz− ……………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
3 4
9. 3x 5y+ …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
2
10. 9xy 3xy÷ ………………………………………………………………………
….……………………………………………………………………………………………….
- 15 -
แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม
ใหนักเรียนเติมคาคงตัว ตัวแปร และเลขชี้กําลังของตังแปรของเอกนามตอไปนี้
ข!อที่ เอกนาม ค&าคงตัว ตัวแปร เลขชี้กําลังของตัวแปร
1. 2
6x
2. 2
7y−
3. 91
z
4
4. 4
0.6x
5. 5x−
6. 3 2
x y
7. 2 5
6x z−
8. 3 42
x y z
9
9. 31
x y
3
10. 3 53
x y
7
แบบฝกทักษะชุดที่ 1.3
เรื่อง เอกนาม (ต&อ)
จุดประสงคการเรียนรู!
นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์ ตัวแปร และดีกรี ของเอกนามได
คําชี้แจง
- 16 -
แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม
ใหนักเรียนพิจารณานิพจน;ที่กําหนดใหเปนเอกนามหรือไม เพราะเหตุใด
(ขอละ 1 คะแนน)
แบบฝกทักษะชุดที่ 1.4
เรื่อง เอกนาม (ต&อ)
จุดประสงคการเรียนรู!
นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์ ตัวแปร และดีกรี ของเอกนามได
ตัวอยาง 5x−
5x− เปนเอกนาม เพราะ
5x− เขียนในรูปผลคูณของ 10− และ x
5x− มีเลขชี้กําลังของตัวแปรเปนจํานวนเต็มบวก
1. 7x …………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
2. 9 ……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
คําชี้แจง
- 17 -
แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม
2 3
3. 4x y ………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
3
4. 4x−
………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
2
5. 0.2y y− ÷ ………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
6. 6x y+ ………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
- 18 -
แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม
61
8. z
5
− ………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
6
9. 2 5y− ………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
10. 2x 5y z+ + ………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
1 2
3 5
7. 2x y− ……………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
- 19 -
แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม
ใหนักเรียนบอกสัมประสิทธิ์ ผลบวกของเลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวและ
ดีกรีของเอกนาม (ขอละ 1 คะแนน)
ข!อที่ เอกนาม สัมประสิทธิ์ของเอกนาม ผลบวกของเลขชี้กําลังของ
ตัวแปรแต&ละตัว
ดีกรีของเอกนาม
1. 2
3x
2. 21
x
2
3. 4
0.6
4. 2
7x−
5. 6
x
6. 4.2x
7. 3 4
5x y
8. 3 3 2
2x y z−
9. 1.7xy
10. 13
11. z
12. 2
2p q−
13. 2 3
9ab c−
14. 0 4
16x yz−
15. 3 24
a b
5
แบบฝกทักษะชุดที่ 1.5
เรื่อง เอกนาม (ต&อ)
จุดประสงคการเรียนรู!
นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์ ตัวแปร และดีกรี ของเอกนามได
คําชี้แจง
- 20 -
แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม
ใหนักเรียนวงกลมลอมรอบเอกนามซึ่งมีดีกรีมากที่สุด(ขอละ 1 คะแนน)
แบบฝกทักษะชุดที่ 1.6
เรื่อง เอกนาม (ต&อ)
จุดประสงคการเรียนรู!
นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์ ตัวแปร และดีกรี ของเอกนามได
.1 3 5
6x y 3 2
3x y 31
x y
2
− 2 2
4x y−
.2 7xyz 2
4zy− 10
3x 15yz
.3 3
6xz− 5
0.4x y 3
1.6yz 9xy
.4 7
5xy 3
4yz 6
9xyz 2
x y−
.5 2 4
5x y 3
x y 3 5
3x y 4
10xy
.6 . 3
3xz− 0.4xy 2
1.6yz− 5
9xy−
.7 . 3
xz 5
4x y 3
16yz 12xy−
.8 3
6xyz− 5
0.4x y 3
1.6yz 9xyz
.9 xy 5
0.7x y− 10xy− 9
3xz
.10 3
6xz− 4
0.4x y 4
1.6xyz 9xy−
คําชี้แจง
- 21 -
แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม
ใหนักเรียนวงกลมลอมรอบเอกนามซึ่งมีดีกรีนอยที่สุด
แบบฝกทักษะชุดที่ 1.7
เรื่อง เอกนาม (ต&อ)
จุดประสงคการเรียนรู!
นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์ ตัวแปร และดีกรี ของเอกนามได
.1 2xz 4
9yz− 3
9xyz 4
1.7yz
.2 5
0.6xz xyz 4
15y 7
9yz−
.3 3 2 2
7x y z 2 5
x z 4
9yz− 6
13z
.4 31
xz
6
3
4yz 6
9xyz 2
x y−
.5 3 2
6x y− 3
3x y 21
xy
2
− 2 4
x y−
.6 3 5
x y z 2
2xy z− 3 315
x y
27
− 3 2
4x y−
.7 3 5
6x y− 3 2
x y 31
2
− x y
3 4
4x y z−
.8 3 5
x y− 3 2
3x y 39
x y
2
−
3 2 2
10x y z−
.9 3 52
x y
5
4 2
3x y− 3 43
x y
2
− 2 2
x y
คําชี้แจง
แบบฝึกทักษะเอกนาม

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว sawed kodnara
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนพิทักษ์ ทวี
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวkhanida
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
ชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วนชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วนSataporn Butsai
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรีแบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
ข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนามข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนาม
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
ชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วนชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วน
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
work1
work1work1
work1
 

Similar to แบบฝึกทักษะเอกนาม

บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญบทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญKrukomnuan
 
แผนการสอนที่ 8
แผนการสอนที่ 8แผนการสอนที่ 8
แผนการสอนที่ 8vichian09
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดท่ี6
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดท่ี6แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดท่ี6
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดท่ี6วชิรญาณ์ พูลศรี
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนามkroojaja
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพัน พัน
 

Similar to แบบฝึกทักษะเอกนาม (20)

แบบฝึกทักษะเรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องพหุนามแบบฝึกทักษะเรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องพหุนาม
 
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญบทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
 
A samakran
A samakranA samakran
A samakran
 
แผนการสอนที่ 8
แผนการสอนที่ 8แผนการสอนที่ 8
แผนการสอนที่ 8
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม
 
A samakran
A samakranA samakran
A samakran
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดท่ี6
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดท่ี6แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดท่ี6
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดท่ี6
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แบบฝึกทักรวมชุด 2
แบบฝึกทักรวมชุด 2แบบฝึกทักรวมชุด 2
แบบฝึกทักรวมชุด 2
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนาม
 
แบบรูป1
แบบรูป1แบบรูป1
แบบรูป1
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 

แบบฝึกทักษะเอกนาม

  • 1.
  • 2. ก คํานํา แบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตรชุดนี้ เปนสื่อประกอบการเรียนการสอน รายวิชา คณิตศาสตรเพิ่มเติม (ค21202) หน*วยการเรียนรู,ที่ 2 พหุนาม ชั้นมัธยมศึกษาป/ที่ 1 ชุดที่ 1 เรื่อง เอกนามเปนแบบฝกทักษะการเรียนรู,แบบสื่อประสมที่ผู,รายงานจัดทําขึ้นตามหลักสูตรสถานศึกษา และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อมุ*งเน,นให,นักเรียนได,ฝกปฏิบัติ กิจกรรมจริงที่หลากหลาย และเพิ่มความสนใจในการเรียนรู, ตลอดจนฝกทักษะและใช,กระบวนการ ทางคณิตศาสตร ในการแก,ป<ญหา การให,เหตุผลและการสื่อความหมาย ซึ่งสามารถนําไป ประยุกตใช,ในการแก,ป<ญหาในชีวิตประจําวัน ส*งเสริมให,นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย ทํางานอย*างเปนระบบ ช*วยเหลือซึ่งกันและกัน ส*งผลให,มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น การจัดกิจกรรมการเรียนรู,ครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาป/ที่ 1 รายวิชาคณิตศาสตรเพิ่มเติม (ค21202) โดยจัด กิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู, ซึ่งเนื้อหาที่ใช,อยู*ในระดับง*ายไปถึงระดับยาก ผู,จัดทําขอขอบคุณนายศุภณัฐ เพชรรัตน อดีตผู,อํานวยการโรงเรียนหาดใหญ*รัฐประชา สรรค นางวลัย ธนานุสนธิ์ ผู,อํานวยการโรงเรียนควนเนียงวิทยา นางธนัญญา อารมณฤทธิ์ นางอรพรรณ กาญจนแก,ว นางเพลินจิต ไชยสาลี นางสาวธันยรดา เนติ นางสาวจุฑาทิพย มหาพรหมประเสริฐ นายถนอมศักดิ์ กิติเศวตจิต นายวิเชียร พูลศรี ตลอดถึงผู,ที่มีส*วนเกี่ยวข,อง ทุกท*านที่กรุณาให,คําปรึกษา คําแนะนํา จนแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตรเสร็จสมบูรณด,วยดี และหวังเปนอย*างยิ่งว*าแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตรชุดนี้จะเปนประโยชนต*อนักเรียนและ ครูผู,สอนในการเพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาการเรียนรู,ของนักเรียนได,เปนอย*างดี นางวาสนา พูลศรี ครูชํานาญการโรงเรียนหาดใหญ*รัฐประชาสรรค
  • 3. - 6 - จัดทําดย นางวาสนา พูลศรี เอกสารความรูชุดที่ 1 เรื่อง เอกนาม เอกนาม. พิจารณาขอความตอไปนี้ 1. จํานวนจํานวนหนึ่งคูณกับหา เขียนในรูปสัญลักษณ!ไดเป$น [ x 5× หรือ ]x 5× 2. ผลบวกของสามกับจํานวนจํานวนหนึ่ง เขียนในรูปสัญลักษณ!ไดเป$น [ 3 x+ หรือ ]3 y+ 3. จํานวนจํานวนหนึ่งหารดวยสี่ เขียนในรูปสัญลักษณ!ไดเป$น [x 4÷ หรือ ] x 4 4. จํานวนจํานวนหนึ่งยกกําลังสอง เขียนในรูปสัญลักษณ!ไดเป$น 2 x หรือ 2 a หรือ 2 y  5. กําลังสองของจํานวนจํานวนหนึ่งคูณกับ 2 5 − เขียนในรูปสัญลักษณ!ไดเป$น [ 2 2 x 5   × −    หรือ 22 x 5   − ×    หรือ ]22 x 5 − ขอความที่เขียนในรูปสัญลักษณ!ขางตนประกอบดวยตัวเลขและตัวอักษรเรียกตัวเลขว1า คาคงตัว และเรียกตัวอักษรว1า ตัวแปร เช1น ขอความที่เขียนในรูปสัญลักษณ! ค1าคงตัว ตัวแปร 12x− 12− x 2 6x 6 x 23 x 5 3 5 x 2 52 a b 7   −    2 7   −    a และ b 2 33 x y 10 3 10 x และ y
  • 4. - 7 - จัดทําดย นางวาสนา พูลศรี ถาให x และ y เป$นตัวแปร ขอความที่เขียนอยู1ในรูปสัญลักษณ! เช1น 2 3 2 5 3 2 2 41 4 10 , 5x , 2y , x y , 0.5x y z , x y , x 2 2 7 − − เรียกว1านิพจน! เราสามารถเขียนการคูณระหว1างค1าคงตัวและตัวแปรหลาย ๆ ตัวไดหลายแบบ เช1น 2 x x x y× × × × เขียนในรูป2 x x x y⋅ ⋅ ⋅ ⋅ หรือ 3 2 x y⋅ ⋅ หรือ ( )( )( )3 2 x y แต1นิยมเขียนในรูป 3 2x y เอกนาม คือ นิพจน!ที่สามารถเขียนใหอยู1ในรูปการคูณของค1าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต1หนึ่งตัวขึ้นไปและ เลขชี้กําลังของตัวแปรแต1ละตัวเป$นศูนย!หรือจํานวนเต็มบวก ตัวอยางที่ 1 จงบอกค1าคงตัว ตัวแปร และเลขชี้กําลังของตัวแปรของเอกนาม 5 3x− ค1าคงตัว คือ 3− ตัวแปร คือ x เลขชี้กําลังของตัวแปร คือ 5 ตัวอยางที่ 2 จงบอกค1าคงตัว ตัวแปร และเลขชี้กําลังของตัวแปรของเอกนาม 4 31 x y 2 ค1าคงตัว คือ 1 2 ตัวแปร คือ x และ y เลขชี้กําลังของตัวแปร คือ เลขชี้กําลังของ x = 4 เลขชี้กําลังของ y = 3
  • 5. - 8 - จัดทําดย นางวาสนา พูลศรี ตัวอยางที่ 3 จงบอกค1าคงตัว ตัวแปร และเลขชี้กําลังของ 4 2 x y ค1าคงตัว คือ 1 ตัวแปร คือ x และ y เลขชี้กําลังของตัวแปร คือ เลขชี้กําลังของ x = 4 เลขชี้กําลังของ y = 2 ตัวอยางที่ 4 2 5 3x y− เป$นเอกนามหรือไม1 เพราะเหตุใด 2 5 3x y− เป$นเอกนาม เพราะ 2 5 3x y− เขียนในรูปผลคูณของค1าคงตัวและตัวแปรที่ มีเลขชี้กําลังของตัวแปรเป$นจํานวนเต็มบวก ตัวอยางที่ 5 3 2 2x y z− เป$นเอกนามหรือไม1 เพราะเหตุใด 3 2 2x y z− ไม1เป$นเอกนาม เพราะเลขชี้กําลังของ y เป$นจํานวนเต็มลบ ตัวอยางที่ 6 2x y+ เป$นเอกนามหรือไม1 เพราะเหตุใด 2x y+ เป$นเอกนาม เพราะ 2x y+ ไม1อยู1ในรูปผลคูณของค1าคงตัวและตัวแปร
  • 6. - 9 - จัดทําดย นางวาสนา พูลศรี ไม1ยากเหมือนที่คิด นะ เอกนามประกอบไปดวยสองสวนคือ 1. ส1วนที่เป$นค1าคงตัวเรียกว1าสัมประสิทธิ์ของเอกนาม 2. ส1วนที่อยู1ในรูปของตัวแปรหรือการคูณกันของตัวแปรโดยเรียกผลบวกของเลขชี้กําลังของตัวแปร แต1ละตัวในเอกนามว1า ดีกรีของเอกนาม ตัวอยาง จงบอกสัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนามตอไปนี้ เอกนาม สัมประสิทธิ์ของเอกนาม ผลบวกของเลขชี้กําลัง ของตัวแปรแตละตัว ดีกรีของเอกนาม 2 9x 9 2 2 -12x 12− 1 1 2 -4x y -4 2 1+ 4 6x− 6− 4 4 1.5x 1.5 1 1 3 5x 5 3 3 2 3 14x y 14 2 3+ 5 3 4 2x y− 2− 3 4+ 7 3 2 4 6x y z 6 3 2 4+ + 9 1 xyz 2 1 2 1 1 1+ + 3
  • 7. - 10 - จัดทําดย นางวาสนา พูลศรี - สําหรับเอกนาม 0 ไม1สามารถบอกดีกรีไดแน1นอนเพราะสามารถเขียน 0 ใหอยู1ในรูป n 0 x⋅ ไม1 ว1า n เป$นศูนย!หรือจํานวนเต็มบวกใด ๆดังนั้นจะไม1กล1าวถึงดีกรีของเอกนาม หรือกล1าวว1าดีกรี ของเอกนาม 0 หาไม1ได - เอกนามที่เป$นค1าคงตัวที่ไม1ใช1ศูนย! จะมีดีกรีเป$น 0 เช1น 2 มีดีกรีเป$น 0 เพราะสามารถเขียน 2 ใหอยู1ในรูป n 2 x⋅ จบจริง ๆ เสียที่ ไม1ยากเหมือนทีคิดเลยนะ
  • 8. - 12 - แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม ใหนักเรียนเติม หนาขอซึ่งเปนเอกนามหรือเติม หนาขอซึ่งไมเปนเอกนาม (ขอละ 1 คะแนน) แบบฝกทักษะชุดที่ 1.1 เรื่อง เอกนาม จุดประสงคการเรียนรู! นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์ ตัวแปร และดีกรี ของเอกนามได ………… 1. 3x ………… 5 2. x ………… 2 3. 4x− ………… 4. 3x 5x− ………… 9x 5. y ………… 3 6. 5− x ………… 1 7. xyz 2 ………… 5 5 8. 9x yz ………… 4 3 2 9. 9x y 3xy÷ ………… 3 -5 10. 7x yz ………… 3 6 11. x yz− − ………… 3 2 5 12. 4x y z− ………… 3 53 13. x y 4 − ………… 2 31 14. a b 2 − ………… 7 3 2xy 15. 4xy− คําชี้แจง
  • 9. - 13 - แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม ใหนักเรียนพิจารณาวาจํานวนตอไปนี้เปนเอกนามหรือไม เพราะเหตุใด (ขอละ 1 คะแนน) เรื่อง เอกนาม (ต&อ) แบบฝกทักษะชุดที่ 1.2 จุดประสงคการเรียนรู! นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์ ตัวแปร และดีกรี ของเอกนามได ตัวอยาง 9 10x− เปนเอกนามเพราะ 9 10x− เขียนในรูปผลคูณของคาคงตัว คือ 10− และ ตัวแปรคือ x เลขชี้กําลังของตัวแปร x มากกวา หรือเทากับ 0 3 1. 6x ……………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. 7 2. xy ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………...... 3. 3x 2y− ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. คําชี้แจงคําชี้แจง
  • 10. - 14 - แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม 4 4. 5x− ……………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………. 5. x …………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… 4 6. 9x− ……………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… xy 7. z ………………………………………………………………………………… ….………………………………………………………………………………………………. 2 5 8. x yz− …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………. 3 4 9. 3x 5y+ ………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………. 2 10. 9xy 3xy÷ ……………………………………………………………………… ….……………………………………………………………………………………………….
  • 11. - 15 - แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม ใหนักเรียนเติมคาคงตัว ตัวแปร และเลขชี้กําลังของตังแปรของเอกนามตอไปนี้ ข!อที่ เอกนาม ค&าคงตัว ตัวแปร เลขชี้กําลังของตัวแปร 1. 2 6x 2. 2 7y− 3. 91 z 4 4. 4 0.6x 5. 5x− 6. 3 2 x y 7. 2 5 6x z− 8. 3 42 x y z 9 9. 31 x y 3 10. 3 53 x y 7 แบบฝกทักษะชุดที่ 1.3 เรื่อง เอกนาม (ต&อ) จุดประสงคการเรียนรู! นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์ ตัวแปร และดีกรี ของเอกนามได คําชี้แจง
  • 12. - 16 - แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม ใหนักเรียนพิจารณานิพจน;ที่กําหนดใหเปนเอกนามหรือไม เพราะเหตุใด (ขอละ 1 คะแนน) แบบฝกทักษะชุดที่ 1.4 เรื่อง เอกนาม (ต&อ) จุดประสงคการเรียนรู! นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์ ตัวแปร และดีกรี ของเอกนามได ตัวอยาง 5x− 5x− เปนเอกนาม เพราะ 5x− เขียนในรูปผลคูณของ 10− และ x 5x− มีเลขชี้กําลังของตัวแปรเปนจํานวนเต็มบวก 1. 7x ………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… 2. 9 …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… คําชี้แจง
  • 13. - 17 - แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม 2 3 3. 4x y ……………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… 3 4. 4x− ……………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… 2 5. 0.2y y− ÷ ……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… 6. 6x y+ ……………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………
  • 14. - 18 - แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม 61 8. z 5 − ……………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… 6 9. 2 5y− ……………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… 10. 2x 5y z+ + ……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… 1 2 3 5 7. 2x y− …………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………
  • 15. - 19 - แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม ใหนักเรียนบอกสัมประสิทธิ์ ผลบวกของเลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวและ ดีกรีของเอกนาม (ขอละ 1 คะแนน) ข!อที่ เอกนาม สัมประสิทธิ์ของเอกนาม ผลบวกของเลขชี้กําลังของ ตัวแปรแต&ละตัว ดีกรีของเอกนาม 1. 2 3x 2. 21 x 2 3. 4 0.6 4. 2 7x− 5. 6 x 6. 4.2x 7. 3 4 5x y 8. 3 3 2 2x y z− 9. 1.7xy 10. 13 11. z 12. 2 2p q− 13. 2 3 9ab c− 14. 0 4 16x yz− 15. 3 24 a b 5 แบบฝกทักษะชุดที่ 1.5 เรื่อง เอกนาม (ต&อ) จุดประสงคการเรียนรู! นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์ ตัวแปร และดีกรี ของเอกนามได คําชี้แจง
  • 16. - 20 - แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม ใหนักเรียนวงกลมลอมรอบเอกนามซึ่งมีดีกรีมากที่สุด(ขอละ 1 คะแนน) แบบฝกทักษะชุดที่ 1.6 เรื่อง เอกนาม (ต&อ) จุดประสงคการเรียนรู! นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์ ตัวแปร และดีกรี ของเอกนามได .1 3 5 6x y 3 2 3x y 31 x y 2 − 2 2 4x y− .2 7xyz 2 4zy− 10 3x 15yz .3 3 6xz− 5 0.4x y 3 1.6yz 9xy .4 7 5xy 3 4yz 6 9xyz 2 x y− .5 2 4 5x y 3 x y 3 5 3x y 4 10xy .6 . 3 3xz− 0.4xy 2 1.6yz− 5 9xy− .7 . 3 xz 5 4x y 3 16yz 12xy− .8 3 6xyz− 5 0.4x y 3 1.6yz 9xyz .9 xy 5 0.7x y− 10xy− 9 3xz .10 3 6xz− 4 0.4x y 4 1.6xyz 9xy− คําชี้แจง
  • 17. - 21 - แบบฝึกทักษะชุดที 1. เรือง เอกนาม ใหนักเรียนวงกลมลอมรอบเอกนามซึ่งมีดีกรีนอยที่สุด แบบฝกทักษะชุดที่ 1.7 เรื่อง เอกนาม (ต&อ) จุดประสงคการเรียนรู! นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์ ตัวแปร และดีกรี ของเอกนามได .1 2xz 4 9yz− 3 9xyz 4 1.7yz .2 5 0.6xz xyz 4 15y 7 9yz− .3 3 2 2 7x y z 2 5 x z 4 9yz− 6 13z .4 31 xz 6 3 4yz 6 9xyz 2 x y− .5 3 2 6x y− 3 3x y 21 xy 2 − 2 4 x y− .6 3 5 x y z 2 2xy z− 3 315 x y 27 − 3 2 4x y− .7 3 5 6x y− 3 2 x y 31 2 − x y 3 4 4x y z− .8 3 5 x y− 3 2 3x y 39 x y 2 − 3 2 2 10x y z− .9 3 52 x y 5 4 2 3x y− 3 43 x y 2 − 2 2 x y คําชี้แจง