SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
¡ÅØèÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙ餳ԵÈÒʵÃì
ªÑé¹ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»Õ·Õè 2
˹èÇ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙé·Õè 4
àÃ×èͧ ¡ÒÃá»Å§·Ò§àâҤ³Ôµ

¨Ñ´·Óâ´Â
¹Ò§ÍÑÁ¾Ã áʧ´Õ
ÍÒ¨ÒÃÂì 2 ÃдѺ 7 âçàÃÕ¹ÇÑ´·èÒäªÂ (»ÃЪҹءÙÅ)

⌫⌦⌫  
⌦ ⌦
คํานํา
เอกสารประกอบการเรียนรูเลมนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการเรียนการสอน กลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เรื่องการแปลงทางเรขคณิต ซึ่งไดรวบรวมเนื้อหาในเรื่องของการแปลง การเลื่อน
ขนาน การสะทอน การหมุน และการนําสมบัติของการเลื่อนขนาน การสะทอน และการหมุนไปใช โดยไดสรุปเนื้อหา
ใหเขาใจงาย พรอมทั้งมีตัวอยางประกอบเพื่อใหเขาใจในเนื้อหายิ่งขึ้น
เอกสารเลมนี้ไดทําใบงาน แบบฝกความเขาใจ และแบบทดสอบ พรอมทั้งเฉลยไวในเอกสารเลมนี้
เพือสะดวกกับการใช และจะไดฝกหัดทําดวยตนเอง ถายังไมเขาใจแลวจึงพลิกดูคําเฉลย จะไดรับประโยชนและกอให
่
เกิดความรูความเขาใจยิ่งขึ้น
อนึง ขาพเจาขอขอบคุณสํานักพิมพหนังสือ ที่ขาพเจาใชเปนขอมูลในการจัดทําเอกสารเลมนี้ หาก
่
เอกสารเลมนี้มีขอผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย

อัมพร แสงดี
ÊÒúÑ−
หนา
การแปลงทางเรขาคณิต
การเลื่อนขนาน
การสะทอน
การหมุน
แบบทดสอบความเขาใจที่ 1
แบบทดสอบความเขาใจที่ 2
เฉลย

1
1
6
11
13
17
20
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

1

˹èÇ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙé·Õè 4
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต (Transformation) คือการเคลื่อนไหวของรูปเรขาคณิตโดยการเลื่อนขนาน การสะทอน
และการหมุนของรูปหนึ่ง ๆ ซึ่งพบไดในสิ่งรอบตัวเรา หรือการเคลื่อนไหว ของสิ่งตาง ๆ ก็สามารถจําลองออกมาในรูป
ของการแปลง รวมทั้งงานศิลปะตาง ๆ
4.1 การเลื่อนขนาน (Translation) เปนการแปลงแบบหนึ่งที่จุดทุกจุดของรูปตนแบบเคลื่อนไปในทิศทางเดียว
กันเปนระยะทางเทา ๆ กัน

ขอสังเกต
AM และ BN ยาวเทากันและขนานกัน
ความหมายของการเลื่อนขนาน (Translation) ในแงภาษา หมายถึง การเลื่อนขนานจุดหนึ่งจุดซึ่งแทนดวยคู
อันดับ ใหบวกคาพิกัดของคูอันดับนั้นดวยคาพิกัดของจุด
ในแงเลขคณิต หมายถึง ( 3, 2 ) เคลื่อนไป ( 1, 3 ) เปน ( 4, 5 )
ในแงพีชคณิต หมายถึง ( x, y ) เคลื่อนไป ( a, b ) เปน ( x + a, y + b )
ในการเลือนขนานของรูปใด ๆ จุดทุกจุดบนรูปจะเคลื่อนไปในแนวเสนตรง
่
และจุดทังหมดจะเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน เปนระยะทางเทาๆ
้
เดินของจุดนั้น

สมบัติของการเลื่อนขนาน
1. รูปที่ไดจากการเลื่อนขนานกับรูปตนแบบเทากันทุกประการ
2. จุดแตละจุดที่สมนัยกันบนรูปที่ไดจากการเลื่อนขนานกับรูปตนแบบจะมีระยะหางเทากัน
3. ภายใตการเลื่อนขนาน จะไมมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางและขนาดของรูปตนแบบ
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

2

ตัวอยางที่ จุดยอดของรูป ∆ PQR คือ P (-3, 2 ) Q ( 1, 4 ) และ R ( 3, 1 ) จงสรางรูป ∆ PQR แลววาดรูป
สามเหลี่ยมที่เกิดจากการเลื่อนขนานไปทางขวา 4 หนวย และขึ้นบน 3 หนวย
วิธีคิด หาคาพิกัดของจุดยอดของรูปสามเหลี่ยมใหม ดังนี้
จุดยอดเดิม
ไปทางขวา
4
ขึ้นบน 3
จุดยอดใหม
P′ ( 1, 5 )
P ( -3, 2 )
( 4, 3 )
+
Q ( 1, 4 )
( 4, 3 )
Q′ ( 5, 7 )
+
R ( 3, 1 )
( 4, 3 )
R′ ( 7, 4 )
+
คาพิกัดของจุดยอดใหม คือ P′ ( 1, 5 ) , Q′ ( 5, 7 ) , R′ ( 7, 4 ) เขียนกราฟของจุด P′ , Q′ และ R′
แลววาดรูป ∆ P′ Q′ R′ ดังนี้
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

3

ใบงานที่ 1
การแปลงรูปทางเรขาคณิต ( การเลื่อนขนาน )
1. กําหนดรูปสามเหลี่ยม ABC ใหนักเรียนเลื่อนขนานรูปสามเหลี่ยม ABC ในระนาบ XY โดยสรางรูปตาม
ขั้นตอนตอไปนี้
1) เลื่อนจุด A (1, 1 ) ไปที่ A′ ( 7, 2 )
2.) เลื่อนจุด B ( 4, 1 ) ไปที่ B′ ( 10, 2 )

ซึ่งทําให AA′ ขนานกับ BB′

3) เลื่อนจุด C ( 2, 5 ) ไปที่

ซึ่งทําให AA′ ขนานกับ CC′

C′ ( 8, 6 )

4) ลาก A′B′ , A′C′ และ B′C′ จะไดรูปสามเหลี่ยม A′ B′ C′ ตามตองการ

รูปสามเหลี่ยมตนแบบคือ……………………………………………………………………..
รูปสามเหลี่ยมที่ไดจากการเลื่อนขนานคือ…………………………………………………….
รูปสามเหลี่ยมสองรูปเทากันทุกประการหรือไม………………………………………………
2. กําหนดรูปสามเหลี่ยม PQR ใหนักเรียนเขียนรูปที่ไดจากการเลื่อนขนานรูปสามเหลี่ยม PQR ขนานกับแกน X ไปทางซายมือ
12 หนวย แลวเลื่อนขนานกับแกน Y ลงไป 10 หนวย
การแปลงทางเรขาคณิต

3
3. จงเลื่อนขนานรูปตอไปนี้  
2
 

 − 3
4. จงเลื่อนขนานรูปสี่เหลี่ยม ABCD ที่มี A ( -3, - 4 ), B ( - 4, 2 ), C ( 5, 4 ) และ D ( 4, 1 ) ไป  
3 
 

หนา

4
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

5

แบบฝกทักษะความเขาใจที่ 1
1. จุดยอดของรูป ∆ ABC คือ A (-4.,-2 ) B ( -1, 3 ) และ C ( 3, -4 ) จงสรางรูป ∆ PQR แลววาดรูปสามเหลี่ยม
ที่เกิดจากการเลื่อนขนานไปทางขวา 5 หนวย และขึ้นบน 3 หนวย
2. รูปสี่เหลี่ยม RSTU มีจุดยอด R ( -3, -1 ), S ( -4, 1 ) , T ( 2, 4 ) และ U ( 3, 2 ) จงสรางรูปสี่เหลี่ยม RSTU
แลววาดรูปที่เกิดจากการเลื่อนขนานดวย ( -2, 4 )
3. รูปสามเหลี่ยม PQR มีจุด P ( -4, 5 ) เมื่อเลื่อนขนานได P′ มีคาพิกัดเปน ( 2, 7 ) จงอธิบายการเลื่อนขนานโดย
ใชคูพิกัดนี้

à¡Ãç´¤ÇÒÁÃÙé

ÅÇ´ÅÒ¼éÒä·Â äÁèÇèÒ¨Ðà»ç¹¼éÒÁÑ´ËÁÕè ¼éÒ¢Ô´ ¼éÒµÕ¹¨¡
¼éÒÅÒ´͡¾Ô¡ØÅ ËÃ×ͼéÒä·ÂÍ×è¹ æ ¡çÅéǹà¡Ô´¨Ò¡¡ÒÃ
á»Å§·Ò§àâҤ³Ôµ áµèäÁèä´éÁÕ¡Òúѹ·Ö¡äÇéà»ç¹ËÅÑ¡°Ò¹
¢Í§¼Ùé¤Ô´¤é¹¢Öé¹àËÁ×͹µèÒ§»ÃÐà·È ¨Ö§äÁèÁÕ¡ÒÃÍéÒ§ÍÔ§
ËÃ×Í¡ÅèÒÇ¢Ò¹ÍÂèÒ§á¾ÃèËÅÒÂà»ç¹ÊÒ¡Å
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

6

4.2 การสะทอน ( Reflection ) เปนการแปลงที่จุดทุกจุดของรูปตนแบบเคลื่อนที่ขามเสนตรงเสนหนึ่ง ซึ่ง
เปรียบเหมือนกระจกหรือเรียกวาเสนสะทอน โดยที่เสนนี้จะแบงครึ่งและตั้งฉากกับสวนของเสนตรงที่
เชือมระหวางจุดแตละจุดบนรูปตนแบบกับจุดแตละจุดบนรูปสะทอนที่สมนัยกัน
่

เสนสะทอน ( reflection line หรือ mirror )
ขอสังเกต
1. ∆ABC ≅ ∆A′B′C′
2. เสนสะทอนจะแบงครึ่งและตั้งฉากกับ AA′ , BB′ และ CC′
สมบัติของการสะทอน
1. รูปทีเ่ กิดจากการสะทอนมีขนาดและรูปรางเทากับรูปตนแบบ หรือเทากันทุกประการกับรูปตน
แบบ
2. รูปทีเ่ กิดจากการสะทอนกับรูปตนแบบหางจากเสนสะทอนเทากัน
3. จุดบนเสนสะทอนเปนจุดคงที่ ไมมีการสะทอน
การสะทอนขามแกน X
ความหมายของการสะทอนขามแกน X
ในแงภาษา หมายถึง การสะทอนจุดขามแกน X ใชคาพิกัด X เดียวกัน และคูณคาพิกัด Y ดวย - 1
ในแงเลขคณิต หมายถึง ( 3, 2 ) กลายเปน ( 3, -2 )
ในแงพีชคณิต หมายถึง ( X, Y ) กลายเปน ( X, -Y )
การสะทอนขามแกน Y
ความหมายของการสะทอนขามแกน Y
ในแงภาษา หมายถึง การสะทอนจุดขามแกน Y คูณคาพิกัด X ดวย - 1 และใชคาพิกัด Y เดิม
ในแงเลขคณิต หมายถึง ( 3, 2 ) กลายเปน ( -3, 2 )
ในแงพีชคณิต หมายถึง ( X, Y ) กลายเปน (- X, Y )
7
่
ตัวอยาง จงสะทอนรูปสี่เหลี่ยมคางหมู MNPQ ขามแกน Y เมือจุดยอดคือ M ( 5, 6 ) , N ( 9, 6 ) , P ( 9, -2 ) และ
Q ( 3 , -2 ) พรอมทังนับจํานวนหนวยจากจุดยอดแตละจุดมายังแกน Y แลวเขียนจุดที่สมนัยกันบนดานตรง
้
ขามของแกน

การแปลงทางเรขาคณิต

………………………………………………..
ตัวอยาง จงสะทอนรูปหกเหลี่ยม ABCDEF โดยมีแกน x เปนแกนสะทอน
วิธีคิด จุด A ( 2 , 1 ) สะทอนเปน จุด A′ ( 2 , - 1 ) จุด B ( 4.5 , 1 ) สะทอนเปน จุด B′ ( 4.5 , - 1 )
จุด C ( 5.5 , 3 ) สะทอนเปน จุด C′ ( 5.5 , - 3 ) จุด D ( 4.5 , 5 ) สะทอนเปน จุด D′ ( 4.5 , - 5 )
จุด E ( 2 , 5 ) สะทอนเปน จุด E′ ( 2 , - 5 ) จุด F ( 0 , 3 ) สะทอนเปน จุด F′ ( 0 , - 3 )

หนา
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

ใบงานที่ 2
การแปลงรูปทางเรขาคณิต ( การสะทอน )
1. ใหนกเรียนเขียนรูปที่เกิดจากการสะทอนรูปตนแบบที่กําหนดใหในแตละขอ
ั
1)
2)

2)

4)

ั
2. ใหนกเรียนเขียนรูปตนแบบตามใจชอบ และรูปที่เกิดจาการสะทอนรูปตนแบบ
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅

⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅

⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅

⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅

⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅

⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅

⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅

⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅

⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅

⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅

⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅
⋅ ⋅

⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅
⋅

8
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

ใบงานที่ 3
1. จงสะทอนรูปตอไปนี้ โดยมีแกน y เปนแกนสะทอน
1.1

1.2

2. จงสะทอนรูปตอไปนี้ โดยมีแกน x เปนแกนสะทอน
2.1

2.2

9
การแปลงทางเรขาคณิต

แบบฝกทักษะความเขาใจที่ 2
1. เขียนรูปสามเหลี่ยม DOG ซึงมีจุดยอด D ( 3, 3 ) , O ( 0, 0 ) และ G ( 5, -2 )
่
2.1 สะทอนรูป ∆ DOG ขามแกน X
2.2 สะทอนรูป ∆ DOG ขามแกน Y
2. จงสรางรูป ∆ ABC ใหมีจุดยอด A ( 3, 2 ) B (5, 8 ) และ C ( 9, 4 )
2.1 สะทอนรูป ∆ ABC ขามแกน X
2.2 สะทอนรูป ∆ ABC ขามแกน Y
3. วาดรูป ∆ ABC ทีจุดยอด A ( -7 , 5 ) , ( -4 , 8 ) และ C ( -2 , 3 )
่
1.1 หาพิกดของจุดยอดภายหลังการสะทอนขามแกน Y
ั
1.2 เขียนรูป ∆ A′B′C′
4. เขียนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน MNOP ซึงมีจุดยอด M ( -4, 2 ) , N ( 1, 2 ) , O ( 0, 0 ) และ P ( -5, 0 )
่
21. หาพิกดของจุดยอดภายหลังการสะทอนขามแกน X
ั
2.2 เขียนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน M′N′O′P′

หนา

10
11
4.3 การหมุน ( Rotation ) เปนการแปลงที่จุดทุกจุดของรูปตนแบบเคลื่อนที่ไปเปนมุมเดียวกันรอบจุดตรึงอยู
กับทีทกาหนดหรือจุดหมุน การหมุนจะหมุนทวนเข็มนาฬิกาหรือตามเข็มนาฬิกา ตามขนาดของมุมและ
่ ี่ ํ
ทิศทางทีตองการหมุน โดยทั่วไปถาไมระบุทิศทางการหมุน จะถือวาเปนการหมุนทวนเข็มนาฬิกา
่
การหมุนเปนการแปลงที่เกิดจากการจับคูของจุดแตละคูระหวางรูปตนแบบกับรูปที่ไดจากการหมุน

การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

O เปนจุดหมุนรูปสามเหลี่ยม ABC ทวนเข็มนาฬิกาเปนมุม 60 องศา รูปสามเหลี่ยม A′B′C′
เปนรูปที่ไดจากการหมุน
ขอสังเกต

∆ABC ≅ ∆A′B′C′

สมบัติของการหมุน
1. รูปทีไดจากการหมุนกับรูปตนแบบเทากันทุกประการ
่
2. จุดแตละจุดบนรูปตนแบบเคลื่อนที่รอบจุดหมุนดวยขนาดของมุมที่กําหนด
3. จุดหมุนเปนจุดคงที่
ความหมายของการหมุน 90° ทวนเข็มนาฬิกา
ในแงภาษา หมายถึง การหมุนรูปทวนเข็มนาฬิกาไป 90° สลับคาพิกัดแตละจุด แลวคูณคาพิกัด
แรกดวย -1
A′ (-2 , 3 )
ในแงเลขคณิต หมายถึง A ( 3, 2 )
A′ ( - y , x )
ในแงพีชคณิต หมายถึง A ( x, y )
ความหมายของการหมุน 180°
ในแงภาษา หมายถึง การหมุนไป 180° คูณคาพิกัดทั้งสองของแตละจุดดวย - 1
A′ (-3 , - 2 )
ในแงเลขคณิต หมายถึง A ( 3 , 2 )
A′ ( - x , - y )
ในแงพีชคณิต หมายถึง A ( x, y )
12
ุ
ตัวอยางที่ 1 รูปสามเหลี่ยม PQR มีจดยอด P ( 2, 2 ) , Q ( 5, 7 ) และ R ( 9, 4 ) จงเขียนรูป ∆ PQR แลวหมุน
ไป 180° รอบจุดกําเนิด แลวเขียนรูป ∆P′Q′R′
วิธีคิด สรางรูป ∆ PQR บนระนาบมุมฉากตามคาพิกัดที่กําหนดหมุนรูป ∆ PQR ไป 180°
คูณคาพิกัดแตละตัวดวย - 1
P ( 2, 2 )
P′ ( -2, -2 )
Q ( 5, 7 )
Q′ ( -5, -7 )
R ( 9, 4 )
R′ ( -9, -4 )
หาจุด P′ , Q′ และ R′ ที่แทนดวยคูอันดับ
( -2, -2 ) , ( -5, -7 ) และ ( -9, -4 ) ตามลําดับ
วาดรูป ∆P′Q′R′

การแปลงทางเรขาคณิต

ตัวอยางที่ 2 ใชรูป ∆ PQR ในตัวอยางที่ 1 หมุนไป 90° ทวนเข็มนาฬิกา แลวเขียน ∆P′Q′R′
วิธีคิด หมุนรูป ∆ PQR ทวนเข็มนาฬิกา 90° สลับคาพิกัดแลวคูณพิกัดแรกดวย - 1
P (2,2)
(2,2)
P′ ( -2 , 2 )
Q (5,7)
(7,5)
Q′ ( -7 , 5 )
R (9,4)
(4,9)
R′ ( -4 , 9 )
ลงจุด P′ , Q′ และ R′ ตามลําดับ เขียนรูป ∆P′Q′R′

หนา
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

ใบงานที่ 4
การแปลงรูปทางเรขาคณิต (การหมุน)
1. จงเขียนรูปที่เกิดจากการหมุนในแตละขอตอไปนี้
1)
หมุน 90° ไปตามเข็มนาฬิกา รอบจุด O

2)

หมุน 90° ทวนเข็มนาฬิกา รอบจุด O

13
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

14

2. จงเขียนรูปที่เกิดจากการหมุนของรูปที่กําหนดใหรอบจุดกําเนิดไป 180°

3. รูปสามเหลี่ยม ABC มีจุดยอด A ( 2, 3 ) , B ( 9, 8 ) และ C ( 7, 1 ) จงเขียนรูป ∆ ABC แลวหมุนไป 180°
รอบจุดกําเนิด แลวเขียนรูป ∆A′B′C′
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

15

ทดสอบความเขาใจที่ 1
เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต
คําสั่ง จงตอบคําถามตอไปนี้
1. จงพิจารณาวาขอความแตละขอตอไปนี้แทนการเลื่อนขนาน การสะทอน หรือการหมุน หรือไมใชทั้งสามอยาง
1.1 รถไฟที่แลนตรงไป…………………………………………………………………………………………
1.2 รูปเงาของพระที่นั่งพุทไธสวรรยในสระ……………………………………………………………………
1.3 เข็มนาฬิกาที่กําลังเดิน………………………………………………………………………………………
1.4 กรรไกรหนีบหมากที่กางออกและหุบเขา…………………………………………………………………..
1.5 การเชิดหนังตะลุง……………………………………………………………………………………………
1.6 ลูกบอลกลิ้งลงมาจากเนินเขา……………………………………………………………………………….
1.7 เด็กบนไมลื่น……………………………………………………………………………………………….
1.8 ชิงชาสวรรค…………………………………………………………………………………………………
2. ใหพจารณาวาภาพตอไปนี้เปนการเลื่อนขนาน การสะทอน หรือการหมุน
ิ
2.1
……………………………………………………

2.2

……………………………………………………

2.3

………………………………………………….

2.4

………………………………………………….

2.5

…………………………………………………
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

16

การแปลงรูปทางเรขาคณิต
3. กําหนดรูปสามเหลี่ยม ABC มีจุดยอด A ( 2, 1 ), B ( 3, 5 ) และ C ( 0, 3 )
1.1 จงเขียนภาพที่เกิดจากการเลื่อนขนานรูปสามเหลี่ยม ABC ภายใตการเลื่อนขนาน ( -5, 2 )
1.2 จงเขียนภาพที่เกิดจากการสะทอนภาพในขอ 3.1 ขามแกน X
1.3 จงเขียนภาพที่เกิดจากการหมุนรูปในขอ 3.2 รอบจุดกําเนิด เปนมุมขนาด 90 องศา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
0
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

ทดสอบความเขาใจที่ 2
เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต
คําสั่ง จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
5
5. พิกัดจุด B เลื่อนขนานไป
1. ถาเลื่อนขนานจุด   จะอยูที่พิกัดใด
7
 
ก. ( 8 , 10 )
ข. ( 4 , 1 )
ค. ( 2 , 3 )
ง. ( - 8 , - 11 )
2. ถาเลื่อนขนานเสนตรง AB ที่มี A(3 , 1) และ B (6 , 1)
−2
ไป   จะอยูที่พิกัดใด
−5
 
ก. A ( 5, 6 ) และ B ( 4, 7)
ข. A ( 5, 6 ) และ B ( 8, 6)
ค. A ( 1, - 4 ) และ B ( 8, 6)
ง. A ( 1, - 4 ) และ B ( 4, - 4)
3. ถาเลื่อนขนานเสนตรง PQ ที่มี P (- 1, - 2 ) และ
2
Q ( - 1, - 6 ) ไป   จะอยูที่พิกัดใด
5
 

ก.
ข.
ค.
ง.
6.

7.

ก. P ( 1, 3 ) และ Q ( 1, - 1 )
ข. P ( 3, 7 ) และ Q ( - 3, - 11 )
ค. P ( - 3, - 7 ) และ Q ( - 3, - 11 )
ง. P ( - 1, - 3 ) และ Q ( - 1, - 11 )
กําหนดใหสามเหลี่ยม ABC มีพิกัด A ( 2, 4 )
B ( 2, 1 ) และ C ( 4, 1 )
8.
จงตอบคําถามขอ 4 - 7
4
4. พิกัดจุด A เลื่อนขนานไป   แลวไปอยูที่พิกัดใด
2
 
ก.
ข.
ค.
ง.

(6,6)
(4,8)
(-2,2)
(2,-2)

9.

17

4
  แลวไปอยูที่พิกัดใด
2
 

(2,1)
(6,3)
(5,4)
(4,6)

4
พิกัดจุด C เลื่อนขนานไป   แลวไปอยูที่พิกัดใด
2
 
ก. ( 0 , - 1 )
ข. ( 2 , - 2 )
ค. ( 8 , 3 )
ง. ( - 2 , 2 )
2
ถารูปที่ปรากฏจากการเลื่อนขนานไป   เปน
4
 
∆A′B′C′ แลวหากลากเสนเชื่อมระหวาง
AA′, BB′ และ CC′ แลวเสนตรงที่เชื่อมกันทั้งสาม
เสนจะขนานกันหรือไม
ก. ไมขนาน
ข. ขนาน
ค. ถูกทั้ง ก และ ข
ง. ผิดทั้ง ก และ ข
ถาสะทอนจุด ( - 6, 1 ) โดยมีแกน y เปนเสนสะทอน
จุดทีเ่ กิดจากการสะทอนจะอยูที่พิกัดใด
ก. ( 6 , - 1 )
ข. ( - 1 , 6 )
ค. ( 6 , 1 )
ง. ( 1 , 6 )
ถาสะทอนเสนตรง PQ ที่มี P ( -7, 2 ) และ Q (- 2, 5 )
โดยมี y เปนเสนสะทอน จะไดรูปสะทอน P′Q′ ที่
พิกัดใด
ก. P′(7,2 ) และ Q′( −2,−5)
การแปลงทางเรขาคณิต

ข. P′(7,2 ) และ Q′( 2,5)
ค. P′( −7,2 ) และ Q′( 2,−5)
ง. P′( −7,−2 ) และ Q′( −2,5)
10. จากขอ 8 ถาให x เปนเสนสะทอน จะไดรูป
สะทอน P′Q′ ที่พิกัดใด
ก. P′(7,2 ) และ Q′( −2,−5)
ข. P′(7,2 ) และ Q′( 2,5)
ค. P′( −7,2 ) และ Q′( 2,−5)
ง. P′( −7,−2 ) และ Q′( −2,5)
กําหนดใหสามเหลี่ยม ABC มี A ( -6, 2 ), B ( - 1, 5 )
และ C ( - 4, 9 ) สะทอนรูปโดยมีแกน y เปนเสนสะทอน
ไดรูปสามเหลี่ยม A′B′C′
จงตอบคําถามขอ 11 - 14
11. พิกัดของจุด A′ อยูที่พิกัดใด
ก. ( - 6, 2 )
ข. ( 1, 5 )
ค. ( 6, 2 )
ง. ( - 6, - 2 )
12. พิกัดของจุด B′ อยูที่พิกัดใด
ก. ( 1 , 5 )
ข. ( 1 , - 5 )
ค. (- 1 , - 5 )
ง. (- 1 , 5 )
13. พิกัดของจุด C′ อยูที่พิกัดใด
ก. ( 4 , 9 )
ข. ( - 4 , - 9 )
ค. ( - 4 , 9 )
ง. ( 4 , - 9 )
14. 14. ถาลากเสนตอเชื่อมจุด AA′, BB′ และ CC′ แลว
เสนตรงที่เชื่อมกันทั้งสามเสนจะขนานกันหรือไม
ก. ไมขนาน
ข. ขนาน
ค. ถูกทั้ง ก และ ข
ง. ผิดทั้ง ก และ ข

18
15. ถาหมุนจุด ( 4 , 5 ) ไปตามเข็มนาฬิกา 90° รอบจุด
กําเนิด จะไปอยูที่พิกัดใด
ก. ( - 4 , - 5 )
ข. ( 4 , - 5 )
ค. ( - 5 , 4 )
ง. ( 5 , - 4 )
16. ถาหมุนจุด ( - 3 , 4 ) ทวนเข็มนาฬิกา 90° รอบจุด
กําเนิด จะไปอยูที่พิกัดใด
ก. ( 4 , - 3 )
ข. ( - 4 , 3 )
ค. (- 4 , - 3 )
ง. ( 4 , 3 )
17. ถาหมุนเสนตรง AB ที่มี A ( 2, 5 ) และ B ( 5, 2 )
ไป 180° รอบจุดกําเนิด จะไปอยูที่พิกัดใด
ก. A′( 2,−5) และ B′( −5,2 )
ข. A′( 2,−5) และ B′( 5,−2 )
ค. A′( −2,−5) และ B′( −5,−2 )
ง. A′( −2,5) และ B′( 5,−2 )
กําหนดใหสามเหลี่ยม ABC มี A ( 2, - 2 ), B ( -1, -3 )
และ C ( - 3, - 4 ) หมุดรอบจุดกําเนิดทวนเข็มนาฬิกา
90° ไดรูปสามเหลี่ยม A′B′C′
จงตอบคําถามขอ 18 - 21
18. พิกัดของจุด A′ อยูที่พิกัดใด
ก. ( - 2 , 2 )
ข. ( 2 , - 2 )
ค. ( 2 , 2 )
ง. ( - 2 , - 2 )
19. พิกัดของจุด B′ อยูที่พิกัดใด
ก. ( - 3 , - 1 )
ข. ( 3 , - 1 )
ค. ( - 3 , 1 )
ง. ( 3 , 1 )
หนา

20. พิกัดของจุด C′ อยูที่พิกัดใด
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

ก. ( 4 , 3 )
ค. A′( −2,2 ) และ B′( −4 ,3)
ข. ( 4 , - 3 )
ง. A′( 2,−2 ) และ B′( −4 ,3)
ค. ( - 4 , 3 )
23. พิกัดของ A′′B′′ อยูที่ใด
ง. ( - 4 , - 3 )
ก. A′′( −2,−2 ) และ B′′( −4 ,3)
21. ถาลากเสนตรง AO และ A′O เสนตรงสองเสนนี้ทํา
ข. A′′( −2,2 ) และ B′′( 4 ,−3)
มุมกันเปนมุมชนิดใด
ค. A′′( 2,−2 ) และ B′′( 4 ,3)
ก. มุมแหลม
ง. A′′( 2,2 ) และ B′′( 4 ,3)
ข. มุมฉาก
24. ระยะหางของ AA′ ยาวกี่หนวย
ค. มุมปาน
ก. 2 หนวย
ง. มุมตรง
ข. 3 หนวย
กําหนดให AB มี A ( -2, -2 ) และ B ( -3, -4 ) หมุน
ค. 4 หนวย
รอบจุดกําเนิดทวนเข็มนาฬิกา 90° ไดเสนตรง A′B′
ง. 5 หนวย
แลวสะทอนโดยมี y เปนเสนสะทอน ไดเสนตรง A′′B′′ 25. ระยะหางของ A′A′′ ยาวกี่หนวย
จงตอบคําถามขอ 22 - 25
ก. . 2 หนวย
22. พิกัดของ A′B′ อยูที่ใด
ข. 3 หนวย
ก. A′( 2,−2 ) และ B′( 4 ,−3)
ค. 4 หนวย
ข. A′( −2,−2 ) และ B′( 4 ,3)
ง. 5 หนวย
ตังใจ อานใหเขาใจ แลวลงมือทํา
้
ขอใหทําไดทุกคนนะจะ

19
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

20

เฉลย
แบบฝกทักษะความเขาใจที่ 1
1. จุดยอดของรูป ∆ ABC คือ A (-4.,-2 ) B ( -1, 3 ) และ C ( 3, -4 ) จงสรางรูป ∆ ABC แลววาดรูปสามเหลี่ยม
ที่เกิดจากการเลื่อนขนานไปทางขวา 5 หนวย และขึ้นบน 3 หนวย
y

2. รูปสี่เหลี่ยม RSTU มีจุดยอด R ( -3, -1 ), S ( -4, 1 ) , T ( 2, 4 ) และ U ( 3, 2 ) จงสรางรูปสี่เหลี่ยม RSTU แลว
วาดรูปที่เกิดจากการเลื่อนขนานดวย ( - 2, 4 )
y

x

3. รูปสามเหลี่ยม PQR มีจุด P ( -4, 5 ) เมื่อเลื่อนขนานได P′ มีคาพิกัดเปน ( 2, 7 ) จงอธิบายการเลื่อนขนานโดย
ใชคูพิกัดนี้
จุด P′ เกิดจากการเลื่อนขนานไปทางขวา 6 หนวย และขึ้นบน 2 หนวย
การแปลงทางเรขาคณิต

แบบฝกทักษะความเขาใจที่ 2
1. เขียนรูปสามเหลี่ยม DOG ซึงมีจุดยอด D ( 3, 3 ) , O ( 0, 0 ) และ G ( 5, -2 )
่
2.1 สะทอนรูป ∆ DOG ขามแกน X
2.2 สะทอนรูป ∆ DOG ขามแกน Y

2. จงสรางรูป ∆ ABC ใหมีจุดยอด A ( 3, 2 ) B (5, 8 ) และ C ( 9, 4 )
2.1 สะทอนรูป ∆ ABC ขามแกน X
2.2 สะทอนรูป ∆ ABC ขามแกน Y

รูปสะทอนขามแกน y

หนา

21
การแปลงทางเรขาคณิต

3. วาดรูป ∆ ABC ทีจุดยอด A ( -7 , 5 ) , ( -4 , 8 ) และ C ( -2 , 3 )
่
1.3 หาพิกดของจุดยอดภายหลังการสะทอนขามแกน Y
ั
1.4 เขียนรูป ∆ A′B′C′

4. เขียนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน MNOP ซึงมีจุดยอด M ( -4, 2 ) , N ( 1, 2 ) , O ( 0, 0 ) และ P ( -5, 0 )
่
22. หาพิกดของจุดยอดภายหลังการสะทอนขามแกน X
ั
2.2 เขียนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน M′N′O′P′

หนา

22
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

ทดสอบความเขาใจที่ 1
เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต
คําสั่ง จงตอบคําถามตอไปนี้
3. จงพิจารณาวาขอความแตละขอตอไปนี้แทนการเลื่อนขนาน การสะทอน หรือการหมุน หรือไมใชทั้งสามอยาง
3.1 รถไฟที่แลนตรงไป……………………การเลื่อนขนาน
3.2 รูปเงาของพระที่นั่งพุทไธสวรรยในสระ………………การสะทอน
3.3 เข็มนาฬิกาที่กําลังเดิน…………………………การหมุน
3.4 กรรไกรหนีบหมากที่กางออกและหุบเขา………………การหมุน.
3.5 การเชิดหนังตะลุง……………………..การสะทอน
3.6 ลูกบอลกลิ้งลงมาจากเนินเขา………………………การเลื่อนขนาน
1.7 เด็กบนไมลื่น…………………การเลื่อนขนาน
1.8 ชิงชาสวรรค…………………………..การหมุน
4. ใหพจารณาวาภาพตอไปนี้เปนการเลื่อนขนาน การสะทอน หรือการหมุน
ิ
2.1
………………การเลื่อนขนาน

2.2

……………….การหมุน

2.6

…………………การสะทอน

2.7

………………การหมุนรอบจุด 1 จุด

2.8

………………การเลื่อนขนาน

23
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

3. กําหนดรูปสามเหลี่ยม ABC มีจุดยอด A ( 2, 1 ), B ( 3, 5 ) และ C ( 0, 3 )
1.4 จงเขียนภาพที่เกิดจากการเลื่อนขนานรูปสามเหลี่ยม ABC ภายใตการเลื่อนขนาน ( -5, 2 )
1.5 จงเขียนภาพที่เกิดจากการสะทอนภาพในขอ 3.1 ขามแกน X
1.6 จงเขียนภาพที่เกิดจากการหมุนรูปในขอ 3.2 รอบจุดกําเนิด เปนมุมขนาด 90 องศา

รูปการเลื่อนขนาน

รูปตนแบบ

รูปการหมุน
รูปการสะทอน

ทดสอบความเขาใจที่ 2
เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต
1.
6.
11.
16.
21.

ค
ค
ก
ค
ข

2.
7.
12.
17.
22.

ง
ข
ก
ค
ก

3.
8.
13.
18.
23.

ก
ก
ก
ข
ง

4.
9.
14.
19.
24.

ก
ข
ข
ข
ค

5.
10.
15.
20.
25.

ข
ง
ง
ข
ค

24
การแปลงทางเรขาคณิต

หนา

บรรณานุกรม
ชุดปฏิรูปการเรียนรู หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 : สํานักพิมพประสานมิตร
กนกวลี และคณะ สื่อการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร : บริษัทอักษรเจริญทัศน อจท.
สุพจน ภิญโญภัสสร : ศูนยหนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

25

More Related Content

What's hot

ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นsawed kodnara
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนพิทักษ์ ทวี
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 

What's hot (20)

ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
31202 mid502
31202 mid50231202 mid502
31202 mid502
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 

Viewers also liked

การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkruyafkk
 
Structured Programming and Algorithm
Structured Programming and AlgorithmStructured Programming and Algorithm
Structured Programming and AlgorithmSatipattan Oband
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตphunnika
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001Thidarat Termphon
 
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม รวมเล่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม  รวมเล่มการบริการอาหารและเครื่องดื่ม  รวมเล่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม รวมเล่มPhattharawut Bubphra
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละfern1707
 

Viewers also liked (9)

ข้อสอบเทอม1 ม.2
ข้อสอบเทอม1 ม.2ข้อสอบเทอม1 ม.2
ข้อสอบเทอม1 ม.2
 
111
111111
111
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
Structured Programming and Algorithm
Structured Programming and AlgorithmStructured Programming and Algorithm
Structured Programming and Algorithm
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม รวมเล่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม  รวมเล่มการบริการอาหารและเครื่องดื่ม  รวมเล่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม รวมเล่ม
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Similar to work1

Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์nongyao9
 
การคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัด
การคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัดการคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัด
การคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัดChokchai Puatanachokchai
 
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552waranyuati
 
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552waranyuati
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่Cha Rat
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตkrookay2012
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังFern Baa
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557ครู กรุณา
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติThphmo
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5ทับทิม เจริญตา
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)kroojaja
 

Similar to work1 (20)

Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
 
การคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัด
การคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัดการคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัด
การคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัด
 
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552
 
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552
 
Analytic geometry1
Analytic geometry1Analytic geometry1
Analytic geometry1
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
 
Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับ 1
ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับ 1ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับ 1
ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับ 1
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
 
60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
Vector
VectorVector
Vector
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติ
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 

work1

  • 1. ¡ÅØèÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙ餳ԵÈÒʵÃì ªÑé¹ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»Õ·Õè 2 ˹èÇ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙé·Õè 4 àÃ×èͧ ¡ÒÃá»Å§·Ò§àâҤ³Ôµ ¨Ñ´·Óâ´Â ¹Ò§ÍÑÁ¾Ã áʧ´Õ ÍÒ¨ÒÃÂì 2 ÃдѺ 7 âçàÃÕ¹ÇÑ´·èÒäªÂ (»ÃЪҹءÙÅ) ⌫⌦⌫   ⌦ ⌦
  • 2. คํานํา เอกสารประกอบการเรียนรูเลมนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการเรียนการสอน กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เรื่องการแปลงทางเรขคณิต ซึ่งไดรวบรวมเนื้อหาในเรื่องของการแปลง การเลื่อน ขนาน การสะทอน การหมุน และการนําสมบัติของการเลื่อนขนาน การสะทอน และการหมุนไปใช โดยไดสรุปเนื้อหา ใหเขาใจงาย พรอมทั้งมีตัวอยางประกอบเพื่อใหเขาใจในเนื้อหายิ่งขึ้น เอกสารเลมนี้ไดทําใบงาน แบบฝกความเขาใจ และแบบทดสอบ พรอมทั้งเฉลยไวในเอกสารเลมนี้ เพือสะดวกกับการใช และจะไดฝกหัดทําดวยตนเอง ถายังไมเขาใจแลวจึงพลิกดูคําเฉลย จะไดรับประโยชนและกอให ่ เกิดความรูความเขาใจยิ่งขึ้น อนึง ขาพเจาขอขอบคุณสํานักพิมพหนังสือ ที่ขาพเจาใชเปนขอมูลในการจัดทําเอกสารเลมนี้ หาก ่ เอกสารเลมนี้มีขอผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย อัมพร แสงดี
  • 4. การแปลงทางเรขาคณิต หนา 1 ˹èÇ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙé·Õè 4 การแปลงทางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิต (Transformation) คือการเคลื่อนไหวของรูปเรขาคณิตโดยการเลื่อนขนาน การสะทอน และการหมุนของรูปหนึ่ง ๆ ซึ่งพบไดในสิ่งรอบตัวเรา หรือการเคลื่อนไหว ของสิ่งตาง ๆ ก็สามารถจําลองออกมาในรูป ของการแปลง รวมทั้งงานศิลปะตาง ๆ 4.1 การเลื่อนขนาน (Translation) เปนการแปลงแบบหนึ่งที่จุดทุกจุดของรูปตนแบบเคลื่อนไปในทิศทางเดียว กันเปนระยะทางเทา ๆ กัน ขอสังเกต AM และ BN ยาวเทากันและขนานกัน ความหมายของการเลื่อนขนาน (Translation) ในแงภาษา หมายถึง การเลื่อนขนานจุดหนึ่งจุดซึ่งแทนดวยคู อันดับ ใหบวกคาพิกัดของคูอันดับนั้นดวยคาพิกัดของจุด ในแงเลขคณิต หมายถึง ( 3, 2 ) เคลื่อนไป ( 1, 3 ) เปน ( 4, 5 ) ในแงพีชคณิต หมายถึง ( x, y ) เคลื่อนไป ( a, b ) เปน ( x + a, y + b ) ในการเลือนขนานของรูปใด ๆ จุดทุกจุดบนรูปจะเคลื่อนไปในแนวเสนตรง ่ และจุดทังหมดจะเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน เปนระยะทางเทาๆ ้ เดินของจุดนั้น สมบัติของการเลื่อนขนาน 1. รูปที่ไดจากการเลื่อนขนานกับรูปตนแบบเทากันทุกประการ 2. จุดแตละจุดที่สมนัยกันบนรูปที่ไดจากการเลื่อนขนานกับรูปตนแบบจะมีระยะหางเทากัน 3. ภายใตการเลื่อนขนาน จะไมมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางและขนาดของรูปตนแบบ
  • 5. การแปลงทางเรขาคณิต หนา 2 ตัวอยางที่ จุดยอดของรูป ∆ PQR คือ P (-3, 2 ) Q ( 1, 4 ) และ R ( 3, 1 ) จงสรางรูป ∆ PQR แลววาดรูป สามเหลี่ยมที่เกิดจากการเลื่อนขนานไปทางขวา 4 หนวย และขึ้นบน 3 หนวย วิธีคิด หาคาพิกัดของจุดยอดของรูปสามเหลี่ยมใหม ดังนี้ จุดยอดเดิม ไปทางขวา 4 ขึ้นบน 3 จุดยอดใหม P′ ( 1, 5 ) P ( -3, 2 ) ( 4, 3 ) + Q ( 1, 4 ) ( 4, 3 ) Q′ ( 5, 7 ) + R ( 3, 1 ) ( 4, 3 ) R′ ( 7, 4 ) + คาพิกัดของจุดยอดใหม คือ P′ ( 1, 5 ) , Q′ ( 5, 7 ) , R′ ( 7, 4 ) เขียนกราฟของจุด P′ , Q′ และ R′ แลววาดรูป ∆ P′ Q′ R′ ดังนี้
  • 6. การแปลงทางเรขาคณิต หนา 3 ใบงานที่ 1 การแปลงรูปทางเรขาคณิต ( การเลื่อนขนาน ) 1. กําหนดรูปสามเหลี่ยม ABC ใหนักเรียนเลื่อนขนานรูปสามเหลี่ยม ABC ในระนาบ XY โดยสรางรูปตาม ขั้นตอนตอไปนี้ 1) เลื่อนจุด A (1, 1 ) ไปที่ A′ ( 7, 2 ) 2.) เลื่อนจุด B ( 4, 1 ) ไปที่ B′ ( 10, 2 ) ซึ่งทําให AA′ ขนานกับ BB′ 3) เลื่อนจุด C ( 2, 5 ) ไปที่ ซึ่งทําให AA′ ขนานกับ CC′ C′ ( 8, 6 ) 4) ลาก A′B′ , A′C′ และ B′C′ จะไดรูปสามเหลี่ยม A′ B′ C′ ตามตองการ รูปสามเหลี่ยมตนแบบคือ…………………………………………………………………….. รูปสามเหลี่ยมที่ไดจากการเลื่อนขนานคือ……………………………………………………. รูปสามเหลี่ยมสองรูปเทากันทุกประการหรือไม……………………………………………… 2. กําหนดรูปสามเหลี่ยม PQR ใหนักเรียนเขียนรูปที่ไดจากการเลื่อนขนานรูปสามเหลี่ยม PQR ขนานกับแกน X ไปทางซายมือ 12 หนวย แลวเลื่อนขนานกับแกน Y ลงไป 10 หนวย
  • 7. การแปลงทางเรขาคณิต 3 3. จงเลื่อนขนานรูปตอไปนี้   2    − 3 4. จงเลื่อนขนานรูปสี่เหลี่ยม ABCD ที่มี A ( -3, - 4 ), B ( - 4, 2 ), C ( 5, 4 ) และ D ( 4, 1 ) ไป   3    หนา 4
  • 8. การแปลงทางเรขาคณิต หนา 5 แบบฝกทักษะความเขาใจที่ 1 1. จุดยอดของรูป ∆ ABC คือ A (-4.,-2 ) B ( -1, 3 ) และ C ( 3, -4 ) จงสรางรูป ∆ PQR แลววาดรูปสามเหลี่ยม ที่เกิดจากการเลื่อนขนานไปทางขวา 5 หนวย และขึ้นบน 3 หนวย 2. รูปสี่เหลี่ยม RSTU มีจุดยอด R ( -3, -1 ), S ( -4, 1 ) , T ( 2, 4 ) และ U ( 3, 2 ) จงสรางรูปสี่เหลี่ยม RSTU แลววาดรูปที่เกิดจากการเลื่อนขนานดวย ( -2, 4 ) 3. รูปสามเหลี่ยม PQR มีจุด P ( -4, 5 ) เมื่อเลื่อนขนานได P′ มีคาพิกัดเปน ( 2, 7 ) จงอธิบายการเลื่อนขนานโดย ใชคูพิกัดนี้ à¡Ãç´¤ÇÒÁÃÙé ÅÇ´ÅÒ¼éÒä·Â äÁèÇèÒ¨Ðà»ç¹¼éÒÁÑ´ËÁÕè ¼éÒ¢Ô´ ¼éÒµÕ¹¨¡ ¼éÒÅÒ´͡¾Ô¡ØÅ ËÃ×ͼéÒä·ÂÍ×è¹ æ ¡çÅéǹà¡Ô´¨Ò¡¡Òà á»Å§·Ò§àâҤ³Ôµ áµèäÁèä´éÁÕ¡Òúѹ·Ö¡äÇéà»ç¹ËÅÑ¡°Ò¹ ¢Í§¼Ùé¤Ô´¤é¹¢Öé¹àËÁ×͹µèÒ§»ÃÐà·È ¨Ö§äÁèÁÕ¡ÒÃÍéÒ§ÍÔ§ ËÃ×Í¡ÅèÒÇ¢Ò¹ÍÂèÒ§á¾ÃèËÅÒÂà»ç¹ÊÒ¡Å
  • 9. การแปลงทางเรขาคณิต หนา 6 4.2 การสะทอน ( Reflection ) เปนการแปลงที่จุดทุกจุดของรูปตนแบบเคลื่อนที่ขามเสนตรงเสนหนึ่ง ซึ่ง เปรียบเหมือนกระจกหรือเรียกวาเสนสะทอน โดยที่เสนนี้จะแบงครึ่งและตั้งฉากกับสวนของเสนตรงที่ เชือมระหวางจุดแตละจุดบนรูปตนแบบกับจุดแตละจุดบนรูปสะทอนที่สมนัยกัน ่ เสนสะทอน ( reflection line หรือ mirror ) ขอสังเกต 1. ∆ABC ≅ ∆A′B′C′ 2. เสนสะทอนจะแบงครึ่งและตั้งฉากกับ AA′ , BB′ และ CC′ สมบัติของการสะทอน 1. รูปทีเ่ กิดจากการสะทอนมีขนาดและรูปรางเทากับรูปตนแบบ หรือเทากันทุกประการกับรูปตน แบบ 2. รูปทีเ่ กิดจากการสะทอนกับรูปตนแบบหางจากเสนสะทอนเทากัน 3. จุดบนเสนสะทอนเปนจุดคงที่ ไมมีการสะทอน การสะทอนขามแกน X ความหมายของการสะทอนขามแกน X ในแงภาษา หมายถึง การสะทอนจุดขามแกน X ใชคาพิกัด X เดียวกัน และคูณคาพิกัด Y ดวย - 1 ในแงเลขคณิต หมายถึง ( 3, 2 ) กลายเปน ( 3, -2 ) ในแงพีชคณิต หมายถึง ( X, Y ) กลายเปน ( X, -Y ) การสะทอนขามแกน Y ความหมายของการสะทอนขามแกน Y ในแงภาษา หมายถึง การสะทอนจุดขามแกน Y คูณคาพิกัด X ดวย - 1 และใชคาพิกัด Y เดิม ในแงเลขคณิต หมายถึง ( 3, 2 ) กลายเปน ( -3, 2 ) ในแงพีชคณิต หมายถึง ( X, Y ) กลายเปน (- X, Y )
  • 10. 7 ่ ตัวอยาง จงสะทอนรูปสี่เหลี่ยมคางหมู MNPQ ขามแกน Y เมือจุดยอดคือ M ( 5, 6 ) , N ( 9, 6 ) , P ( 9, -2 ) และ Q ( 3 , -2 ) พรอมทังนับจํานวนหนวยจากจุดยอดแตละจุดมายังแกน Y แลวเขียนจุดที่สมนัยกันบนดานตรง ้ ขามของแกน การแปลงทางเรขาคณิต ……………………………………………….. ตัวอยาง จงสะทอนรูปหกเหลี่ยม ABCDEF โดยมีแกน x เปนแกนสะทอน วิธีคิด จุด A ( 2 , 1 ) สะทอนเปน จุด A′ ( 2 , - 1 ) จุด B ( 4.5 , 1 ) สะทอนเปน จุด B′ ( 4.5 , - 1 ) จุด C ( 5.5 , 3 ) สะทอนเปน จุด C′ ( 5.5 , - 3 ) จุด D ( 4.5 , 5 ) สะทอนเปน จุด D′ ( 4.5 , - 5 ) จุด E ( 2 , 5 ) สะทอนเปน จุด E′ ( 2 , - 5 ) จุด F ( 0 , 3 ) สะทอนเปน จุด F′ ( 0 , - 3 ) หนา
  • 11. การแปลงทางเรขาคณิต หนา ใบงานที่ 2 การแปลงรูปทางเรขาคณิต ( การสะทอน ) 1. ใหนกเรียนเขียนรูปที่เกิดจากการสะทอนรูปตนแบบที่กําหนดใหในแตละขอ ั 1) 2) 2) 4) ั 2. ใหนกเรียนเขียนรูปตนแบบตามใจชอบ และรูปที่เกิดจาการสะทอนรูปตนแบบ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ 8
  • 12. การแปลงทางเรขาคณิต หนา ใบงานที่ 3 1. จงสะทอนรูปตอไปนี้ โดยมีแกน y เปนแกนสะทอน 1.1 1.2 2. จงสะทอนรูปตอไปนี้ โดยมีแกน x เปนแกนสะทอน 2.1 2.2 9
  • 13. การแปลงทางเรขาคณิต แบบฝกทักษะความเขาใจที่ 2 1. เขียนรูปสามเหลี่ยม DOG ซึงมีจุดยอด D ( 3, 3 ) , O ( 0, 0 ) และ G ( 5, -2 ) ่ 2.1 สะทอนรูป ∆ DOG ขามแกน X 2.2 สะทอนรูป ∆ DOG ขามแกน Y 2. จงสรางรูป ∆ ABC ใหมีจุดยอด A ( 3, 2 ) B (5, 8 ) และ C ( 9, 4 ) 2.1 สะทอนรูป ∆ ABC ขามแกน X 2.2 สะทอนรูป ∆ ABC ขามแกน Y 3. วาดรูป ∆ ABC ทีจุดยอด A ( -7 , 5 ) , ( -4 , 8 ) และ C ( -2 , 3 ) ่ 1.1 หาพิกดของจุดยอดภายหลังการสะทอนขามแกน Y ั 1.2 เขียนรูป ∆ A′B′C′ 4. เขียนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน MNOP ซึงมีจุดยอด M ( -4, 2 ) , N ( 1, 2 ) , O ( 0, 0 ) และ P ( -5, 0 ) ่ 21. หาพิกดของจุดยอดภายหลังการสะทอนขามแกน X ั 2.2 เขียนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน M′N′O′P′ หนา 10
  • 14. 11 4.3 การหมุน ( Rotation ) เปนการแปลงที่จุดทุกจุดของรูปตนแบบเคลื่อนที่ไปเปนมุมเดียวกันรอบจุดตรึงอยู กับทีทกาหนดหรือจุดหมุน การหมุนจะหมุนทวนเข็มนาฬิกาหรือตามเข็มนาฬิกา ตามขนาดของมุมและ ่ ี่ ํ ทิศทางทีตองการหมุน โดยทั่วไปถาไมระบุทิศทางการหมุน จะถือวาเปนการหมุนทวนเข็มนาฬิกา ่ การหมุนเปนการแปลงที่เกิดจากการจับคูของจุดแตละคูระหวางรูปตนแบบกับรูปที่ไดจากการหมุน การแปลงทางเรขาคณิต หนา O เปนจุดหมุนรูปสามเหลี่ยม ABC ทวนเข็มนาฬิกาเปนมุม 60 องศา รูปสามเหลี่ยม A′B′C′ เปนรูปที่ไดจากการหมุน ขอสังเกต ∆ABC ≅ ∆A′B′C′ สมบัติของการหมุน 1. รูปทีไดจากการหมุนกับรูปตนแบบเทากันทุกประการ ่ 2. จุดแตละจุดบนรูปตนแบบเคลื่อนที่รอบจุดหมุนดวยขนาดของมุมที่กําหนด 3. จุดหมุนเปนจุดคงที่ ความหมายของการหมุน 90° ทวนเข็มนาฬิกา ในแงภาษา หมายถึง การหมุนรูปทวนเข็มนาฬิกาไป 90° สลับคาพิกัดแตละจุด แลวคูณคาพิกัด แรกดวย -1 A′ (-2 , 3 ) ในแงเลขคณิต หมายถึง A ( 3, 2 ) A′ ( - y , x ) ในแงพีชคณิต หมายถึง A ( x, y ) ความหมายของการหมุน 180° ในแงภาษา หมายถึง การหมุนไป 180° คูณคาพิกัดทั้งสองของแตละจุดดวย - 1 A′ (-3 , - 2 ) ในแงเลขคณิต หมายถึง A ( 3 , 2 ) A′ ( - x , - y ) ในแงพีชคณิต หมายถึง A ( x, y )
  • 15. 12 ุ ตัวอยางที่ 1 รูปสามเหลี่ยม PQR มีจดยอด P ( 2, 2 ) , Q ( 5, 7 ) และ R ( 9, 4 ) จงเขียนรูป ∆ PQR แลวหมุน ไป 180° รอบจุดกําเนิด แลวเขียนรูป ∆P′Q′R′ วิธีคิด สรางรูป ∆ PQR บนระนาบมุมฉากตามคาพิกัดที่กําหนดหมุนรูป ∆ PQR ไป 180° คูณคาพิกัดแตละตัวดวย - 1 P ( 2, 2 ) P′ ( -2, -2 ) Q ( 5, 7 ) Q′ ( -5, -7 ) R ( 9, 4 ) R′ ( -9, -4 ) หาจุด P′ , Q′ และ R′ ที่แทนดวยคูอันดับ ( -2, -2 ) , ( -5, -7 ) และ ( -9, -4 ) ตามลําดับ วาดรูป ∆P′Q′R′ การแปลงทางเรขาคณิต ตัวอยางที่ 2 ใชรูป ∆ PQR ในตัวอยางที่ 1 หมุนไป 90° ทวนเข็มนาฬิกา แลวเขียน ∆P′Q′R′ วิธีคิด หมุนรูป ∆ PQR ทวนเข็มนาฬิกา 90° สลับคาพิกัดแลวคูณพิกัดแรกดวย - 1 P (2,2) (2,2) P′ ( -2 , 2 ) Q (5,7) (7,5) Q′ ( -7 , 5 ) R (9,4) (4,9) R′ ( -4 , 9 ) ลงจุด P′ , Q′ และ R′ ตามลําดับ เขียนรูป ∆P′Q′R′ หนา
  • 16. การแปลงทางเรขาคณิต หนา ใบงานที่ 4 การแปลงรูปทางเรขาคณิต (การหมุน) 1. จงเขียนรูปที่เกิดจากการหมุนในแตละขอตอไปนี้ 1) หมุน 90° ไปตามเข็มนาฬิกา รอบจุด O 2) หมุน 90° ทวนเข็มนาฬิกา รอบจุด O 13
  • 17. การแปลงทางเรขาคณิต หนา 14 2. จงเขียนรูปที่เกิดจากการหมุนของรูปที่กําหนดใหรอบจุดกําเนิดไป 180° 3. รูปสามเหลี่ยม ABC มีจุดยอด A ( 2, 3 ) , B ( 9, 8 ) และ C ( 7, 1 ) จงเขียนรูป ∆ ABC แลวหมุนไป 180° รอบจุดกําเนิด แลวเขียนรูป ∆A′B′C′
  • 18. การแปลงทางเรขาคณิต หนา 15 ทดสอบความเขาใจที่ 1 เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต คําสั่ง จงตอบคําถามตอไปนี้ 1. จงพิจารณาวาขอความแตละขอตอไปนี้แทนการเลื่อนขนาน การสะทอน หรือการหมุน หรือไมใชทั้งสามอยาง 1.1 รถไฟที่แลนตรงไป………………………………………………………………………………………… 1.2 รูปเงาของพระที่นั่งพุทไธสวรรยในสระ…………………………………………………………………… 1.3 เข็มนาฬิกาที่กําลังเดิน……………………………………………………………………………………… 1.4 กรรไกรหนีบหมากที่กางออกและหุบเขา………………………………………………………………….. 1.5 การเชิดหนังตะลุง…………………………………………………………………………………………… 1.6 ลูกบอลกลิ้งลงมาจากเนินเขา………………………………………………………………………………. 1.7 เด็กบนไมลื่น………………………………………………………………………………………………. 1.8 ชิงชาสวรรค………………………………………………………………………………………………… 2. ใหพจารณาวาภาพตอไปนี้เปนการเลื่อนขนาน การสะทอน หรือการหมุน ิ 2.1 …………………………………………………… 2.2 …………………………………………………… 2.3 …………………………………………………. 2.4 …………………………………………………. 2.5 …………………………………………………
  • 19. การแปลงทางเรขาคณิต หนา 16 การแปลงรูปทางเรขาคณิต 3. กําหนดรูปสามเหลี่ยม ABC มีจุดยอด A ( 2, 1 ), B ( 3, 5 ) และ C ( 0, 3 ) 1.1 จงเขียนภาพที่เกิดจากการเลื่อนขนานรูปสามเหลี่ยม ABC ภายใตการเลื่อนขนาน ( -5, 2 ) 1.2 จงเขียนภาพที่เกิดจากการสะทอนภาพในขอ 3.1 ขามแกน X 1.3 จงเขียนภาพที่เกิดจากการหมุนรูปในขอ 3.2 รอบจุดกําเนิด เปนมุมขนาด 90 องศา …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… 0
  • 20. การแปลงทางเรขาคณิต หนา ทดสอบความเขาใจที่ 2 เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต คําสั่ง จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว 5 5. พิกัดจุด B เลื่อนขนานไป 1. ถาเลื่อนขนานจุด   จะอยูที่พิกัดใด 7   ก. ( 8 , 10 ) ข. ( 4 , 1 ) ค. ( 2 , 3 ) ง. ( - 8 , - 11 ) 2. ถาเลื่อนขนานเสนตรง AB ที่มี A(3 , 1) และ B (6 , 1) −2 ไป   จะอยูที่พิกัดใด −5   ก. A ( 5, 6 ) และ B ( 4, 7) ข. A ( 5, 6 ) และ B ( 8, 6) ค. A ( 1, - 4 ) และ B ( 8, 6) ง. A ( 1, - 4 ) และ B ( 4, - 4) 3. ถาเลื่อนขนานเสนตรง PQ ที่มี P (- 1, - 2 ) และ 2 Q ( - 1, - 6 ) ไป   จะอยูที่พิกัดใด 5   ก. ข. ค. ง. 6. 7. ก. P ( 1, 3 ) และ Q ( 1, - 1 ) ข. P ( 3, 7 ) และ Q ( - 3, - 11 ) ค. P ( - 3, - 7 ) และ Q ( - 3, - 11 ) ง. P ( - 1, - 3 ) และ Q ( - 1, - 11 ) กําหนดใหสามเหลี่ยม ABC มีพิกัด A ( 2, 4 ) B ( 2, 1 ) และ C ( 4, 1 ) 8. จงตอบคําถามขอ 4 - 7 4 4. พิกัดจุด A เลื่อนขนานไป   แลวไปอยูที่พิกัดใด 2   ก. ข. ค. ง. (6,6) (4,8) (-2,2) (2,-2) 9. 17 4   แลวไปอยูที่พิกัดใด 2   (2,1) (6,3) (5,4) (4,6) 4 พิกัดจุด C เลื่อนขนานไป   แลวไปอยูที่พิกัดใด 2   ก. ( 0 , - 1 ) ข. ( 2 , - 2 ) ค. ( 8 , 3 ) ง. ( - 2 , 2 ) 2 ถารูปที่ปรากฏจากการเลื่อนขนานไป   เปน 4   ∆A′B′C′ แลวหากลากเสนเชื่อมระหวาง AA′, BB′ และ CC′ แลวเสนตรงที่เชื่อมกันทั้งสาม เสนจะขนานกันหรือไม ก. ไมขนาน ข. ขนาน ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ผิดทั้ง ก และ ข ถาสะทอนจุด ( - 6, 1 ) โดยมีแกน y เปนเสนสะทอน จุดทีเ่ กิดจากการสะทอนจะอยูที่พิกัดใด ก. ( 6 , - 1 ) ข. ( - 1 , 6 ) ค. ( 6 , 1 ) ง. ( 1 , 6 ) ถาสะทอนเสนตรง PQ ที่มี P ( -7, 2 ) และ Q (- 2, 5 ) โดยมี y เปนเสนสะทอน จะไดรูปสะทอน P′Q′ ที่ พิกัดใด ก. P′(7,2 ) และ Q′( −2,−5)
  • 21. การแปลงทางเรขาคณิต ข. P′(7,2 ) และ Q′( 2,5) ค. P′( −7,2 ) และ Q′( 2,−5) ง. P′( −7,−2 ) และ Q′( −2,5) 10. จากขอ 8 ถาให x เปนเสนสะทอน จะไดรูป สะทอน P′Q′ ที่พิกัดใด ก. P′(7,2 ) และ Q′( −2,−5) ข. P′(7,2 ) และ Q′( 2,5) ค. P′( −7,2 ) และ Q′( 2,−5) ง. P′( −7,−2 ) และ Q′( −2,5) กําหนดใหสามเหลี่ยม ABC มี A ( -6, 2 ), B ( - 1, 5 ) และ C ( - 4, 9 ) สะทอนรูปโดยมีแกน y เปนเสนสะทอน ไดรูปสามเหลี่ยม A′B′C′ จงตอบคําถามขอ 11 - 14 11. พิกัดของจุด A′ อยูที่พิกัดใด ก. ( - 6, 2 ) ข. ( 1, 5 ) ค. ( 6, 2 ) ง. ( - 6, - 2 ) 12. พิกัดของจุด B′ อยูที่พิกัดใด ก. ( 1 , 5 ) ข. ( 1 , - 5 ) ค. (- 1 , - 5 ) ง. (- 1 , 5 ) 13. พิกัดของจุด C′ อยูที่พิกัดใด ก. ( 4 , 9 ) ข. ( - 4 , - 9 ) ค. ( - 4 , 9 ) ง. ( 4 , - 9 ) 14. 14. ถาลากเสนตอเชื่อมจุด AA′, BB′ และ CC′ แลว เสนตรงที่เชื่อมกันทั้งสามเสนจะขนานกันหรือไม ก. ไมขนาน ข. ขนาน ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ผิดทั้ง ก และ ข 18 15. ถาหมุนจุด ( 4 , 5 ) ไปตามเข็มนาฬิกา 90° รอบจุด กําเนิด จะไปอยูที่พิกัดใด ก. ( - 4 , - 5 ) ข. ( 4 , - 5 ) ค. ( - 5 , 4 ) ง. ( 5 , - 4 ) 16. ถาหมุนจุด ( - 3 , 4 ) ทวนเข็มนาฬิกา 90° รอบจุด กําเนิด จะไปอยูที่พิกัดใด ก. ( 4 , - 3 ) ข. ( - 4 , 3 ) ค. (- 4 , - 3 ) ง. ( 4 , 3 ) 17. ถาหมุนเสนตรง AB ที่มี A ( 2, 5 ) และ B ( 5, 2 ) ไป 180° รอบจุดกําเนิด จะไปอยูที่พิกัดใด ก. A′( 2,−5) และ B′( −5,2 ) ข. A′( 2,−5) และ B′( 5,−2 ) ค. A′( −2,−5) และ B′( −5,−2 ) ง. A′( −2,5) และ B′( 5,−2 ) กําหนดใหสามเหลี่ยม ABC มี A ( 2, - 2 ), B ( -1, -3 ) และ C ( - 3, - 4 ) หมุดรอบจุดกําเนิดทวนเข็มนาฬิกา 90° ไดรูปสามเหลี่ยม A′B′C′ จงตอบคําถามขอ 18 - 21 18. พิกัดของจุด A′ อยูที่พิกัดใด ก. ( - 2 , 2 ) ข. ( 2 , - 2 ) ค. ( 2 , 2 ) ง. ( - 2 , - 2 ) 19. พิกัดของจุด B′ อยูที่พิกัดใด ก. ( - 3 , - 1 ) ข. ( 3 , - 1 ) ค. ( - 3 , 1 ) ง. ( 3 , 1 ) หนา 20. พิกัดของจุด C′ อยูที่พิกัดใด
  • 22. การแปลงทางเรขาคณิต หนา ก. ( 4 , 3 ) ค. A′( −2,2 ) และ B′( −4 ,3) ข. ( 4 , - 3 ) ง. A′( 2,−2 ) และ B′( −4 ,3) ค. ( - 4 , 3 ) 23. พิกัดของ A′′B′′ อยูที่ใด ง. ( - 4 , - 3 ) ก. A′′( −2,−2 ) และ B′′( −4 ,3) 21. ถาลากเสนตรง AO และ A′O เสนตรงสองเสนนี้ทํา ข. A′′( −2,2 ) และ B′′( 4 ,−3) มุมกันเปนมุมชนิดใด ค. A′′( 2,−2 ) และ B′′( 4 ,3) ก. มุมแหลม ง. A′′( 2,2 ) และ B′′( 4 ,3) ข. มุมฉาก 24. ระยะหางของ AA′ ยาวกี่หนวย ค. มุมปาน ก. 2 หนวย ง. มุมตรง ข. 3 หนวย กําหนดให AB มี A ( -2, -2 ) และ B ( -3, -4 ) หมุน ค. 4 หนวย รอบจุดกําเนิดทวนเข็มนาฬิกา 90° ไดเสนตรง A′B′ ง. 5 หนวย แลวสะทอนโดยมี y เปนเสนสะทอน ไดเสนตรง A′′B′′ 25. ระยะหางของ A′A′′ ยาวกี่หนวย จงตอบคําถามขอ 22 - 25 ก. . 2 หนวย 22. พิกัดของ A′B′ อยูที่ใด ข. 3 หนวย ก. A′( 2,−2 ) และ B′( 4 ,−3) ค. 4 หนวย ข. A′( −2,−2 ) และ B′( 4 ,3) ง. 5 หนวย ตังใจ อานใหเขาใจ แลวลงมือทํา ้ ขอใหทําไดทุกคนนะจะ 19
  • 23. การแปลงทางเรขาคณิต หนา 20 เฉลย แบบฝกทักษะความเขาใจที่ 1 1. จุดยอดของรูป ∆ ABC คือ A (-4.,-2 ) B ( -1, 3 ) และ C ( 3, -4 ) จงสรางรูป ∆ ABC แลววาดรูปสามเหลี่ยม ที่เกิดจากการเลื่อนขนานไปทางขวา 5 หนวย และขึ้นบน 3 หนวย y 2. รูปสี่เหลี่ยม RSTU มีจุดยอด R ( -3, -1 ), S ( -4, 1 ) , T ( 2, 4 ) และ U ( 3, 2 ) จงสรางรูปสี่เหลี่ยม RSTU แลว วาดรูปที่เกิดจากการเลื่อนขนานดวย ( - 2, 4 ) y x 3. รูปสามเหลี่ยม PQR มีจุด P ( -4, 5 ) เมื่อเลื่อนขนานได P′ มีคาพิกัดเปน ( 2, 7 ) จงอธิบายการเลื่อนขนานโดย ใชคูพิกัดนี้ จุด P′ เกิดจากการเลื่อนขนานไปทางขวา 6 หนวย และขึ้นบน 2 หนวย
  • 24. การแปลงทางเรขาคณิต แบบฝกทักษะความเขาใจที่ 2 1. เขียนรูปสามเหลี่ยม DOG ซึงมีจุดยอด D ( 3, 3 ) , O ( 0, 0 ) และ G ( 5, -2 ) ่ 2.1 สะทอนรูป ∆ DOG ขามแกน X 2.2 สะทอนรูป ∆ DOG ขามแกน Y 2. จงสรางรูป ∆ ABC ใหมีจุดยอด A ( 3, 2 ) B (5, 8 ) และ C ( 9, 4 ) 2.1 สะทอนรูป ∆ ABC ขามแกน X 2.2 สะทอนรูป ∆ ABC ขามแกน Y รูปสะทอนขามแกน y หนา 21
  • 25. การแปลงทางเรขาคณิต 3. วาดรูป ∆ ABC ทีจุดยอด A ( -7 , 5 ) , ( -4 , 8 ) และ C ( -2 , 3 ) ่ 1.3 หาพิกดของจุดยอดภายหลังการสะทอนขามแกน Y ั 1.4 เขียนรูป ∆ A′B′C′ 4. เขียนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน MNOP ซึงมีจุดยอด M ( -4, 2 ) , N ( 1, 2 ) , O ( 0, 0 ) และ P ( -5, 0 ) ่ 22. หาพิกดของจุดยอดภายหลังการสะทอนขามแกน X ั 2.2 เขียนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน M′N′O′P′ หนา 22
  • 26. การแปลงทางเรขาคณิต หนา ทดสอบความเขาใจที่ 1 เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต คําสั่ง จงตอบคําถามตอไปนี้ 3. จงพิจารณาวาขอความแตละขอตอไปนี้แทนการเลื่อนขนาน การสะทอน หรือการหมุน หรือไมใชทั้งสามอยาง 3.1 รถไฟที่แลนตรงไป……………………การเลื่อนขนาน 3.2 รูปเงาของพระที่นั่งพุทไธสวรรยในสระ………………การสะทอน 3.3 เข็มนาฬิกาที่กําลังเดิน…………………………การหมุน 3.4 กรรไกรหนีบหมากที่กางออกและหุบเขา………………การหมุน. 3.5 การเชิดหนังตะลุง……………………..การสะทอน 3.6 ลูกบอลกลิ้งลงมาจากเนินเขา………………………การเลื่อนขนาน 1.7 เด็กบนไมลื่น…………………การเลื่อนขนาน 1.8 ชิงชาสวรรค…………………………..การหมุน 4. ใหพจารณาวาภาพตอไปนี้เปนการเลื่อนขนาน การสะทอน หรือการหมุน ิ 2.1 ………………การเลื่อนขนาน 2.2 ……………….การหมุน 2.6 …………………การสะทอน 2.7 ………………การหมุนรอบจุด 1 จุด 2.8 ………………การเลื่อนขนาน 23
  • 27. การแปลงทางเรขาคณิต หนา 3. กําหนดรูปสามเหลี่ยม ABC มีจุดยอด A ( 2, 1 ), B ( 3, 5 ) และ C ( 0, 3 ) 1.4 จงเขียนภาพที่เกิดจากการเลื่อนขนานรูปสามเหลี่ยม ABC ภายใตการเลื่อนขนาน ( -5, 2 ) 1.5 จงเขียนภาพที่เกิดจากการสะทอนภาพในขอ 3.1 ขามแกน X 1.6 จงเขียนภาพที่เกิดจากการหมุนรูปในขอ 3.2 รอบจุดกําเนิด เปนมุมขนาด 90 องศา รูปการเลื่อนขนาน รูปตนแบบ รูปการหมุน รูปการสะทอน ทดสอบความเขาใจที่ 2 เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต 1. 6. 11. 16. 21. ค ค ก ค ข 2. 7. 12. 17. 22. ง ข ก ค ก 3. 8. 13. 18. 23. ก ก ก ข ง 4. 9. 14. 19. 24. ก ข ข ข ค 5. 10. 15. 20. 25. ข ง ง ข ค 24
  • 28. การแปลงทางเรขาคณิต หนา บรรณานุกรม ชุดปฏิรูปการเรียนรู หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 : สํานักพิมพประสานมิตร กนกวลี และคณะ สื่อการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร : บริษัทอักษรเจริญทัศน อจท. สุพจน ภิญโญภัสสร : ศูนยหนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 25