SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
บทที่ 3
พันธะเคมี
แรงยึดเหนี่ยว
ภายในโมเลกุล
โดยปกติแล้วในธรรมชาติ อะตอมของธาตุต่าง ๆ จะไม่
อยู่อย่างโดดเดี่ยว แต่จะรวมกันเป็นกลุ่มอะตอมหรือเป็น
โมเลกุลของสารประกอบ เช่น HCl , NH3 เป็นต้น การที่
อะตอมเหล่านี้รวมอยู่ด้วยกันได้อย่างเสถียรภาพนั้น เพราะมี
แรงยึดเหนี่ยวอะตอมเหล่านั้น แรงยึดเหนี่ยวนี้เรียกว่า
พันธะเคมี (chemical bond)
กิลเบิร์ต ลิวอิส (Gilbert Newton Lewis)
เสนอว่า อะตอมรวมตัวกัน เพื่อทาให้เกิดการจัดอิเล็กตรอนที่
มีเสถียรภาพเพิ่มขึ้น โดยเสถียรภาพมีค่ามากที่สุดเมื่อ
อะตอมมีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนในธาตุ
เฉื่อย เมื่ออะตอมรวมกันเกิดเป็นพันธะเคมี อิเล็กตรอน
ระดับนอกหรือที่เรียกว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่านั้นที่
เกี่ยวข้องกับการเกิดพันธะเคมี
นักเคมีใช้สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิส ในการนับจานวน
เวเลนซ์อิเล็กตรอนระหว่างปฏิกิริยา และเพื่อให้แน่ใจว่า
จานวนอิเล็กตรอนมีค่าคงที่ สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิส
ประกอบด้วยสัญลักษณ์ ธาตุ และจุด 1 จุด แทน 1 เวเลนซ์
อิเล็กตรอนของอะตอมธาตุนั้น เช่น โลหะในหมู่ I Aซึ่งมี
เวเลนซ์ อิเล็กตรอน 1 ตัว จะมีสัญลักษณ์ ดังนี้
𝐿𝑖●
, 𝑁𝑎●
, 𝐾●
, 𝑅𝑏●
, 𝐶𝑠●
ตารางที่ 2 แสดงสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสของ
ธาตุเรพรีเซนเททิฟในคาบที่ 2 และ 3
การจัดอิเล็กตรอนและตาแหน่งในตารางธาตุ สามารถ
นามาทานายชนิดพันธะที่เกิดขึ้น
พันธะไอออนิก ( Ionic bond )
เป็นพันธะที่เกิดจากการที่อะตอมหนึ่งเป็นฝ่ ายให้
อิเล็กตรอนระดับนอก และอีกอะตอมหนึ่งเป็นฝ่ ายรับ
อิเล็กตรอนเข้ามาสู่ระดับนอก แล้วทาให้อะตอมทั้งสองฝ่ าย
อยู่ในสภาพเสถียร (ครบ 8 ตามกฎออกเตต) เช่น ธาตุในหมู่
1A ซึ่งมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 ถ้าเอาอิเล็กตรอนตัวนี้
ออกไปเสีย อิเล็กตรอนในระดับถัดเข้าไปจะมีจานวน
เท่ากับ 8
อะตอมที่มีอิเล็กตรอนระดับนอกจานวนน้อย มีพลังงาน
การแตกตัวเป็นไอออนต่า และมีสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนต่า
มีแนวโน้มที่จะเสียอิเล็กตรอนระดับนอกไปแล้วกลายเป็น
ไอออนบวก ส่วนธาตุที่มีอิเล็กตรอนระดับนอกมากมี
พลังงานการแตกตัวเป็นไอออนสูง มีสัมพรรคภาพ
อิเล็กตรอนสูง มีแนวโน้มจะรับอิเล็กตรอนได้ง่ายและ
กลายเป็นไอออนลบ
สารประกอบไอออนิก
เป็นสารประกอบที่ประกอบด้วยไอออนที่มาอยู่รวมกันยึด
เหนี่ยวกันด้วยพันธะไอออนิกคือแรงดึงดูดทางไฟฟ้า
ระหว่างไอออนที่มีประจุตรงข้ามกัน การที่ไอออนรวมกันอยู่
เป็นกลุ่มทาให้สารประกอบไอออนิกมีสมบัติ ดังนี้
1. การละลาย สารประกอบไอออนิก ส่วนมากละลายน้าได้
ไม่ละลายในตัวทา ละลายที่เป็นสารอินทรีย์อื่น ๆ จาก
ความสามารถละลายน้า ได้ จะพบสารประกอบไอออนิก
ละลายอยู่ในน้า ทะเลและมหาสมุทร เช่น NaCl เป็นต้น
2. การนาไฟฟ้า สารประกอบไอออนิกในสภาพของแข็ง มี
การนา ไฟฟ้าต่า มาก เพราะไอออนเกาะกันแน่นใน
โครงสร้างของผลึก จึงไม่สามารถเคลื่อนที่อย่างอิสระได้ แต่
เมื่อละลายน้า เป็นสารละลาย หรืออยู่ในสภาวะหลอมเหลว
จะนาไฟฟ้าได้ดี เช่น การทาอิเล็กโทรไลซิสเกลือชนิดต่าง ๆ
3. ความแข็ง สารประกอบไอออนิกโดยทั่วไปเป็นของแข็ง
ภายในผลึกประกอบด้วยแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนที่เกิด
จากไฟฟ้าสถิตที่แข็งแรงมากจากการทดลองโดยใช้รังสีเอ็กซ์
4. จุดเดือดและจุดหลอมเหลว สารประกอบไอออนิกมี
แนวโน้มที่จะมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง เนื่องจากมี
พันธะไอออนิกที่แข็งแรง และมีแรงดึงดูดระหว่างไอออน
บวกและไอออนลบทุกทิศทาง
พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond)
เป็นพันธะที่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมสร้างแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างกัน นาเอาอิเล็กตรอนระดับนอกที่มีจานวนเท่ากันมา
ใช้ร่วมกัน (Share) อาจจะเป็น 1 คู่ เกิดพันธะเดี่ยว
(Single bond) 2 คู่ เกิดพันธะคู่ (Double
bond) หรือ 3 คู่ เกิดพันธะสาม (triple bond)
สารประกอบที่เกิดขึ้นจากการเกิดพันธะโคเวเลนต์ เรียกว่า
สารประกอบโคเวเลนต์
ในปี ค.ศ. 1916 กิลเบิร์ต ลิวอิส (Gilbert Lewis) ได้
เสนอแนวคิดว่า พันธะโคเวเลนต์เป็นเรื่องของการใช้
อิเล็กตรอนร่วมกันระหว่าง 2 อะตอมที่เข้าทา ปฏิกิริยากัน
ขณะเดียวกันก็มีการเปลี่ยนแปลงจานวนอิเล็กตรอนรอบ
นอกสุด ให้มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนครบ 8 ตัว แบบแก๊ส
เฉื่อย ซึ่งเป็นไปตามกฎออกเตต ตัวอย่างเช่น ฟลูออรีน มี
อิเล็กตรอน ระดับนอก 7 ตัว ต้องการอีก 1 ตัว จะครบ 8
กฎออกเตต (Octet rule)
ลิวอิส ได้เสนอกฎออกเตต ซึ่งกฎนี้กล่าวว่า อะตอมต่าง ๆ
นอกจากไฮโดรเจนมีแนวโน้มจะสร้างพันธะ เพื่อให้มี
อิเล็กตรอนระดับนอกครบแปด อะตอมจะสร้างพันธะ
โคเวเลนต์ เมื่อมีอิเล็กตรอนระดับนอกไม่ครบ 8 อิเล็กตรอน
เรียกว่า ไม่ครบออกเตต
ข้อยกเว้นของกฎออกเตต
1. กรณีโมเลกุลที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนเกินแปด ธาตุบาง
ธาตุในคาบที่ 3 เช่น ฟอสฟอรัส (P) หรือกามะถัน (S)
สามารถมีอิเล็กตรอนระดับนอกได้เกิน 8 ตัว
2. กรณีของโมเลกุลที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนไม่ครบแปด
ในสารประกอบบางชนิด อะตอมกลางของโมเลกุลที่เสถียรมี
อิเล็กตรอนไม่ครบ 8 อิเล็กตรอน เช่น โบรอนไตรฟลูออไรด์
(𝑩𝑭 𝟑)
เรโซแนนซ์
การใช้โครงสร้างลิวอิสตั้งแต่ 2 โครงสร้างขึ้นไปแทน
โมเลกุลใดโมเลกุลหนึ่งที่ไม่สามารถเขียนโครงสร้างที่แท้จริง
ออกมาเป็นสูตรได้อย่างชัดเจน เช่น เบนซีน
สภาพขั้วของโมเลกุล
(Polarity of molecule)
โมเลกุลที่เป็นกลางซึ่งมีการกระจายของอิเล็กตรอนไม่
สม่าเสมอ ทาให้โมเลกุลมีขั้วบวกและขั้วลบ ซึ่งเรียกว่า เป็น
ขั้วคู่ (dipole) เนื่องจากมีขั้วบวก (ประจุบวกบางส่วน)
และขั้วลบ(ประจุลบบางส่วน)
ทฤษฎีไฮบริดออร์บิทัล
(Hybrid obital theory)
เมื่ออะตอม 2 อะตอมเข้าใกล้กัน อิทธิพลของนิวเคลียสของ
อะตอมทั้งสองจะทาให้พฤติกรรมของอิเล็กตรอนในแต่ละ
อะตอมเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นออร์บิทัลอะตอมที่เกิดพันธะจะ
แตกต่างไปจากออร์บิทัลอะตอมในอะตอมเดี่ยว เวเลนซ์ออร์
บิทัลที่พลังงานใกล้เคียงกันของอะตอมเดียวกันจะเข้ามารวมกัน
เกิดเป็นออร์บิทัลอะตอมใหม่ ซึ่งมีรูปร่าง ทิศทาง และพลังงาน
เปลี่ยนไปจากเดิม
ทฤษฎีออร์บิทัลโมเลกุล
(Molecular orbital theory : MO theory)
ทฤษฎีพันธะเวเลนซ์และทฤษฎีไฮบริดออร์บิทัลอธิบายว่า
พันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุลเกิดจากการซ้อนกันของออร์บิทัล
อะตอมหรือไฮบริดออร์บิทัล อิเล็กตรอนในโมเลกุลจึงอยู่ใน
ออร์บิทัลอะตอมหรือไฮบริดออร์บิทัลของแต่ละอะตอม เช่น
ใน CH4 โมเลกุล พันธะเกิดจาก 1s ออร์บิทัลของ H
อะตอมและ sp3 4 ออร์บิทัล ของ C อะตอม
สารประกอบโคเวเลนต์ มีสมบัติดังนี้
1. มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่า เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างโมเลกุลมีค่าน้อย
2. ไม่นาไฟฟ้าทั้งสภาพแก๊ส ของเหลว และของแข็ง
3. ไม่ละลายในตัวทาละลายมีขั้ว เช่น น้า แต่ละลายในตัวทา
ละลายไม่มีขั้ว เช่น เบนซิน
4. ปฏิกิริยาของสารประกอบโคเวเลนต์ เป็นปฏิกิริยาที่เกิดช้า
เพราะต้องทา ลายพันธะเดิมก่อนแล้วเกิดพันธะใหม่
พันธะโลหะ (Metallic bond)
แรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกซึ่งเรียงชิดกันกับ
อิเล็กตรอนที่อยู่โดยรอบ หรือเป็นแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดจาก
อะตอมในก้อน โลหะใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนทั้งหมดร่วมกัน
อิเล็กตรอนอิสระเกิดขึ้นได้ เพราะโลหะมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน
น้อย และมีพลังงานไอออไนเซชันต่า จึงทาให้เกิดกลุ่มของ
อิเล็กตรอน และไอออนบวกได้ง่าย
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
(Intermolecular Forces)
แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล นอกจากอยู่ในรูปของพันธะ
ไอออนิกและพันธะโคเวเลนต์แล้วยังมีแรงยึดเหนี่ยวที่สาคัญ
ระหว่างอะตอมและระหว่างโมเลกุล คือ แรงแวนเดอร์วาล
(van der waal forces) และพันธะไฮโดรเจน
(hydrogen bond)
แรงแวนเดอร์วาล
(van der waal forces)
เป็นแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลไม่มีขั้วซึ่งเป็นผลมาจาก
การมีสภาพขั้วขณะหนึ่ง ซึ่งภายในอะตอมหรือโมเลกุลมี
กลุ่มอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ตลอดเวลา ซึ่งแบ่งเป็น
แรงลอนดอน (London dispersion forces)
แรงดึงดูดระหว่างขั้ว(Dipole-dipole forces)
พันธะไฮโดรเจน
(Hydrogen bond)
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่เกิดจากไฮโดรเจนอะตอม
สร้างพันธะโคเวเลนต์ กับอะตอมที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี
สูงๆและมีขนาดเล็ก ได้แก่ F , O และ N
เลขออกซิเดชัน
(Oxidation number)
ตัวเลขที่แสดงจานวนอิเล็กตรอนในระดับนอกของธาตุที่
ใช้ในการสร้างพันธะเคมีโดยอะตอมที่ให้อิเล็กตรอนจะมีเลข
ออกซิเดชันเป็นบวก อะตอมที่รับอิเล็กตรอนจะมีเลข
ออกซิเดชันเป็นลบ เช่น โซเดียมคลอไรด์ (NaCl)
ประกอบด้วยโซเดียมไอออน (𝑵𝒂+
) และคลอไรด์
ไอออน (𝑪𝒍−
)
การเขียนสูตรสารประกอบ
สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของธาตุ หรือหมู่ธาตุ
ตั้งแต่ 2 ธาตุขึ้นไป ซึ่งอาจจะอยู่ในลักษณะของไอออน หรือ
อะตอมก็ได้ ในการเขียนสูตรจึงมีกฎเกณฑ์ดังนี้
1. โลหะ กับอโลหะ ให้เขียนสัญลักษณ์โลหะก่อน แล้วเขียน
อโลหะตามหลัง เช่น
K + Cl KCl
Ba + O BaO
2.ถ้าเป็นไอออน กับไอออน ต้องเขียนไอออนบวกก่อน แล้ว
ตามด้วยไอออนลบ เช่น
𝑵𝑯 𝟒
+
กับ 𝑺𝑶 𝟒
−
เขียนได้เป็น (𝑵𝑯 𝟒) 𝟐 𝑺𝑶 𝟒
การเรียกชื่อสารประกอบ
1. สารประกอบระหว่างโลหะกับอโลหะ ให้เรียกชื่อโลหะธาตุ
แรก หรือไอออนบวก เต็ม ๆ แล้วตามด้วยอโลหะ หรือ
ไอออนลบ แล้วเปลี่ยนท้ายเสียงเป็นไอด์ (ide) เช่น
Na (Sodium) กับ Cl (Chlorine) เขียนสูตร
NaCl อ่านเป็น Sodium chloride
Ba (Barium) กับ S (Sulfur) เขียนสูตร BaS
อ่านเป็น Barium sulfide
บางธาตุมีการตัด / เติม พยางค์ท้ายก่อนเปลี่ยนท้ายเสียงเป็น
ไอด์ เช่น
H (Hydrogen) เป็น Hydride
N (Nitrogen) เป็น Nitride
O (Oxygen) เป็น Oxide
P (Phosphorus) เป็น Phosphide
2.สารประกอบระหว่างอโลหะ กับอโลหะ สารประกอบชนิด
นี้แม้จะมีองค์ประกอบเหมือนกัน แต่บางทีมีสารได้มากกว่า
1 สาร เช่น SO2 กับ SO3 หรือ CO กับ CO2 การ
เรียกชื่อต้องบอกจานวนอะตอมของแต่ละธาตุ เป็นภาษา
กรีก คือ 1 (mono), 2 (di), 3 (tri), 4 (treta),
5 (penta), 6 (hexa), 7 (hepta), 8 (octa),
9 (nona),10 (deca) ยกเว้นธาตุแรกมี 1 อะตอมไม่
ต้องบอก เช่น
𝑺𝑶 𝟐 อ่านว่า Sulfur dioxide
𝑺𝑶 𝟑 อ่านว่า Sulfur trioxide
CO อ่านว่า Cabon monoxide
𝑪𝑶 𝟐 อ่านว่า Cabon dioxide
𝑷 𝟐 𝑶 𝟓 อ่านว่า Diphosphorus pentaoxide
3. สารประกอบที่มีไอออนบวก กับไอออนลบที่ไม่ใช่
อะตอมเดี่ยว แต่เป็นไอออนที่ประกอบด้วยหมู่อะตอม
เช่น Sulphateion SO42- มี S ถ้ามีธาตุอื่นมา
รวมตัวกับไอออนนี้ ก็เรียกธาตุนั้นนาหน้า เช่น
4. สารประกอบที่ไอออนบวกมีค่าเลขออกซิเดชันหลายค่า
การเรียกชื่อสารประกอบต้องระบุเลขออกซิเดชันด้วย โดย
เขียนเลขโรมันไว้หลังชื่อธาตุนั้น เช่น
𝑭𝒆𝑪𝒍 𝟐 อ่านได้ว่า Iron (II) chloride
𝑴𝒏𝑶 𝟐 อ่านได้ว่า Manganese (IV) oxide

More Related Content

What's hot

เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันเลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันzhezazzz
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์Pat Jitta
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์Maruko Supertinger
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนDr.Woravith Chansuvarn
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์jirat266
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุTutor Ferry
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันKatewaree Yosyingyong
 

What's hot (20)

เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันเลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชัน
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 

Similar to พันธะเคมี

พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1areerd
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1kasidid20309
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matteradriamycin
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matteradriamycin
 
พันธะเคมี1
พันธะเคมี1พันธะเคมี1
พันธะเคมี1She's Bee
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมีTharit Khumon
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryporpia
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bondShe's Bee
 
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdfหน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdfNutnutNutnut3
 
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมWuttipong Tubkrathok
 

Similar to พันธะเคมี (20)

พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
 
Study 1
Study 1Study 1
Study 1
 
Punmanee study 1
Punmanee study 1Punmanee study 1
Punmanee study 1
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี1
พันธะเคมี1พันธะเคมี1
พันธะเคมี1
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
Chap 5 chemical bonding
Chap 5 chemical bondingChap 5 chemical bonding
Chap 5 chemical bonding
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bond
 
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdfหน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
 
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 

More from nn ning

จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีnn ning
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมีnn ning
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายnn ning
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์nn ning
 
กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือnn ning
 
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
 โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิกnn ning
 

More from nn ning (6)

จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือ
 
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
 โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
 

พันธะเคมี