SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและโมเลกุลของสาร
- แรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนหรืออะตอมของธาตุให้อยู่รวมกันเป็นโครงผลึก
หรือโมเลกุล เรียกว่าพันธะเคมี
- พันธะเคมีแบ่งออกเป็นพันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ และพันธะโลหะ
1. อธิบายการเกิดสารประกอบโคเวเลนต์ได้
2. บอกความหมายของอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะและอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว พร้อมระบุ
ชนิดของพันธะในสารประกอบโคเวเลนต์ได้
3. ระบุโมเลกุลโคเวเลนต์ที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนไม่เป็นไปตามกฏออกเตตได้
ตัวชี้วัด
จุดประสงค์การเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐาน
เรื่อง การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ และโมเลกุลที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) คือพันธะเคมีภายในโมเลกุลลักษณะหนึ่งซึ่งเกิดจาก
อะตอมของ สองอะตอมใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนหนึ่งคู่หรือมากกว่าร่วมกัน ทาให้เกิดแรงดึงดูดที่รวม
อะตอมเป็นโมเลกุลขึ้น พันธะโคเวเลนต์มักเกิดขึ้นระหว่างอะตอมที่มีค่า อิเล็กโตรเนกาติวิตี (EN)
ใกล้เคียงกันและมีค่าพลังงานไอออไนเซชัน (IE) สูงทั้งคู่ ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นพันธะเคมีที่ยึดระหว่าง
ธาตุอโลหะกับอโลหะ ซึ่งตัวอย่างการนาอิเล็กตรอนมาใช้ร่วมกันของธาตุไฮโดรเจนแสดงดังรูปที่ 1.1
H H
รูป 1.1 แสดงการเกิดโมกุลของแก๊สไฮโดรเจน (H2)
ใบความรู้
อะตอมของธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม
เริ่มเคลื่อนที่เข้าหากัน
นากลุ่มหมอกอิเล็กตรอน
มาใช้ร่วมกัน
อะตอมใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน
เกิดแรงยึดเหนี่ยวที่เรียกว่า
พันธะโคเวเลนต์
จากการรวมกันของธาตุไฮโดรเจนสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงพลังงานได้ดังนี้
- เมื่ออะตอมของไฮโดรเจนสองอะตอมอยู่ห่างกัน อะตอมของไฮโดรเจนทั้งคู่จะมี
พลังงานศักย์ค่าหนึ่ง
- เมื่ออะตอมเคลื่อนที่เข้าใกล้กันจะเกิดแรงดึงดูดระหว่างอิเล็กตรอนกับโปรตอน
- ขณะเดียวกันก็จะเกิดแรงผลักระหว่างโปรตอนกับโปรตอนและระหว่างอิเล็กตรอน
กับอิเล็กตรอนด้วย
แรงดึงดูดและแรงผลักดังกล่าวจะทาให้พลังงานศักย์ลดลง เมื่ออะตอมทั้งสองเข้าใกล้กัน
มากขึ้นอีก พลังงานศักย์จะลดลงเรื่อยๆ จนกระทั่งนิวเคลียสของอะตอมทั้งสองอยู่ห่างกันเป็นระยะ
74 พิโกเมตร ผลรวมของแรงดึงดูดและแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของไฮโดรเจนทั้งสองอะตอม
ลดลงมากที่สุด ซึ่งมีค่าน้อยกว่าพลังงานเริ่มต้น 436 กิโลจูลต่อโมล ไฮโดรเจนทั้งสองอะตอมจะใช้
อิเล็กตรอนร่วมกันเกิดเป็นโมเลกุลที่เสถียรมาก ถ้าอะตอมทั้งสองเข้าใกล้กันมากกว่านี้ แรงผลัก
ระหว่างนิวเคลียสและระหว่างอิเล็กตรอนจะเพิ่มขึ้นทาให้พลังงานศักย์ของโมเลกุล สูงขึ้นอย่าง
รวดเร็วจนอะตอมทั้งสองอยู่ร่วมกันเป็นโมเลกุลไม่ได้ การเปลี่ยนแปลงพลังงานแสดงดังรูปที่ 1.2
รูป 1.2 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดโมเลกุลไฮโดรเจน
(ที่มา : http://www.vcharkarn.com)
พลังงานศักย์ (kJ/mol)
ชนิดของพันธะโคเวเลนต์
ธาตุหมู่ VIIIA หรือหมู่ 18 ที่เรียกกันว่าแก๊สเฉื่อย เป็นธาตุที่มีเสถียรภาพสูง ธาตุเหล่านี้
มีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 ดัวยหลักการนี้ กิลเบิร์ต นิวตัน ลิวอิส (Gilbert Newton Lewis) นักเคมี
ชาวอเมริกัน จึงตั้งกฏออกเตต (Octat rule) ขึ้น โดยกล่าวว่า “ อะตอมของธาตุต่างๆ ที่มี
เวเลนต์อิเล็กตรอนไม่เท่ากับ 8 มีแนวโน้มที่จะปรับตัวให้มีเสถียรภาพมากขึ้นโดยรวมตัวกันเองหรือ
รวมตัวกับอะตอมของธาตุอื่นในสัดส่วนที่ทาให้แต่ละอะตอมมีเวเลนส์อิเล็กตรอน ครบ 8 หรือมี
จานวนอิเล็กตรอนเท่ากับแก๊สเฉื่อย (H ครบ 2 เหมือน He)”
1. สูตรแบบจุด (Electron dot formula) การเขียนสูตรแบบจุดของลิวอิสจะใช้จุด (dot)
แทนจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนโดยให้ 1 จุด แทน 1 เวเลนซ์อิเล็กตรอน และใช้ 2 จุด 4 จุด หรือ
6 จุด เขียนไว้ระหว่างสัญลักษณ์ของธาตุแทนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 1 คู่ 2 คู่ หรือ 3 คู่ เพราะอะตอม
อาจใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่ 2 คู่ หรือ 3 คู่ก็ได้
2. สูตรแบบเส้น (Graphic formula) การเขียนสูตรแบบนี้จะใช้เส้น ( - ) 1 เส้น แทน
อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 1 คู่ โดยมาจากอะตอมละ 1 อิเล็กตรอน 2 เส้น ( = ) แทน อิเล็กตรอนคู่ร่วม
พันธะ 2 คู่ โดยมาจากอะตอมละ 2 อิเล็กตรอน 3 เส้น (  ) แทนอิเล็กตรอนคู่ ร่วมพันธะ 3 คู่ โดย
มาจากอะตอมละ 3 อิเล็กตรอน และ  แทนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 1 คู่ โดยมาจากอะตอมใด
อะตอมหนึ่งแต่เพียงอะตอมเดียว ให้เขียนเส้นแต่ละชนิดไว้ระหว่างสัญลักษณ์ของธาตุแทนพันธะ
โคเวเลนต์ ส่วนเวเลนซ์อิเล็กตรอนอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะจะเขียนหรือไม่เขียนก็ได้
เมื่อธาตุมารวมกันเราสามารถเขียนสูตรโครงสร้าง
ของสารโคเวเลนซ์ได้ 2 แบบ คือ
ตัวอย่างที่ 1 การรวมตัวของธาตุไนโตรเจน กับฟลูออรีน
H + F H F
จากตัวอย่างสามารถอธิบายได้ดังนี้
ไฮโดรเจนมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 1 ต้องการอีก 1 อิเล็กตรอนจึงจะครบ 2 เหมือนฮีเลียม ส่วน
ฟลูออรีนมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7 ต้องการอีก 1 อิเล็กตรอนจึงจะครบ 8 แต่ธาตุ ทั้งสองมี
พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 สูง แสดงว่าเสียอิเล็กตรอนได้ยาก จึงไม่มีอะตอมใดให้อิเล็กตรอน
ธาตุทั้งสองจึงใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่ เกิดเป็นพันธะโคเวเลนต์ชนิด พันธะเดี่ยว อิเล็กตรอนคู่ที่ใช้
ร่วมกันนี้เรียกว่า อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ ส่วนอิเล็กตรอน ที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการเกิดพันธะ
จะเรียกว่า อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน หรือ
อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ
อิเล็กตรอนที่ไม่ได้ร่วมพันธะหรือ
อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
จากตัวอย่างการเกิดโมเลกุลของไฮโดรเจนฟลูออไรด์ช่วยให้ทราบว่าการเกิดพันธะเคมี
จะเกี่ยวข้องกับเวเลนซ์อิเล็กตรอนของแต่ละอะตอม สาหรับอะตอมที่เกิดพันธะนั้นนักเคมี นิยมใช้
การเขียนสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิส โดยประกอบด้วยสัญลักษณ์ของธาตุหนึ่งแทนนิวเคลียส กับ
อิเล็กตรอนในชั้นถัดจากเวเลนซ์อิเล็กตรอนเข้าไป และจุดรอบสัญลักษณ์ซึ่งแทนจานวนเวเลนซ์
อิเล็กตรอนของธาตุนั้นๆ ในกรณีของธาตุกลุ่มย่อย A (หมู่ IA ถึง VIIIA) ซึ่งมีจานวนเวเลนซ์
อิเล็กตรอนเท่ากับเลขหมู่ จึงเขียนสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสแสดงได้ ดังตัวอย่าง
ตาราง 1.1 ตัวอย่างการเขียนสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิส
IA IIA IIIA IVA VA VIA VIIA VIIIA
Li Be B C N O F Ne
Na Mg Al Si P S Cl Ar
O2
CO2
C2H4
อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ
มี 2 คู่ เรียกว่า พันธะคู่
เขียนเส้น 2 เส้น
แทนพันธะคู่
เขียนเส้น 1 เส้น
แทนพันธะเดี่ยว
อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ
มี 1 คู่ เรียกว่า พันธะเดี่ยว
C2H2
N2
อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ
มี 3 คู่ เรียกว่า พันธะสาม
เขียนเส้น 3 เส้น
แทนพันธะสาม
ตาราง 1.2 โครงสร้างลิวอิสของโมเลกุลโคเวเลนต์บางชนิด
สาร โครงสร้างลิวอิส
ไฮโดรเจน
คลอรีน
คาร์บอนไดออกไซด์
เอทิลีน
อะเซทิลีน
สารโคเวเลนต์บางชนิดประกอบด้วยพันธะโคเวเลนต์ที่อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะมาจาก
อะตอมใดอะตอมหนึ่งเท่านั้น พันธะที่เกิดขึ้นในลักษณะเช่นนี้เรียกว่า พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์
ตัวอย่าง พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ในไอออน NH4
+
NH3 .ใช้อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 1 คู่ สร้างพันธะกับ
H+
ซึ่งไม่มีอิเล็กตรอน
เกิดพันธะใหม่ระหว่าง NH3 กับ H+
ซึ่งเป็น พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์
อย่างไรก็ตามเมื่อศึกษาเพิ่มเติมต่อไปจะพบว่าพันธะ
ระหว่าง N กับ H ทั้ง 4 พันธะในไอออน NH4
+
นี้มีลักษณะไม่แตกต่างกัน
ตัวอย่างที่ 2 พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ในโมเลกุล NH3 และ BF3
โมเลกุลที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
ในโมเลกุลโคเวเลนต์ที่ได้ศึกษามาแล้วส่วนใหญ่อะตอมกลางจะมีจานวนอิเล็กตรอน
ล้อมรอบ เป็นไปตามกฎออกเตต แต่มีบางโมเลกุลที่จานวนอิเล็กตรอนรอบอะตอมกลางน้อยกว่า 8
อิเล็กตรอน เช่น ในโมเลกุลเบริลเลียมคลอไรด์ BeCl2 หรือในโมเลกุลโบรอนไตรฟลูออไรด์ BF3
ซึ่งโครงสร้างลิวอิสของสารทั้งสองแสดงดังนี้
มีอิเล็กตรอนรอบเบริลเลียมเพียง
4 อิเล็กตรอน
มีอิเล็กตรอนรอบโบรอน
เพียง 6 อิเล็กตรอน
โมเลกุลโคเวเลนต์หลายชนิด ที่มีอิเล็กตรอนรอบอะตอมกลางมากกว่า 8 เช่น ฟอสฟอรัส
เพนตะคลอไรด์ (PCl5) อะตอมฟอสฟอรัสใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนทั้ง 5 อิเล็กตรอนสร้างพันธะกับ
คลอรีน 5 พันธะ จึงมีอิเล็กตรอนล้อมรอบ 10 อิเล็กตรอน ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ (SF6) อะตอม
กามะถัน ใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนทั้ง 6 อิเล็กตรอนสร้างพันธะกับฟลูออรีน 6 พันธะ จึงมีอิเล็กตรอน
ล้อมรอบ 12 อิเล็กตรอนเช่นเดียวกับอะตอมของซีนอนในซีนอนเตตระฟลูออไรด์ (XeF4) แสดงให้ดู
ดังตัวอย่าง
ตัวอย่างที่ 3 โมเลกุลโคเวเลนต์ที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ ซีนอนเตตระฟลูออไรด์
ในสารประกอบออกไซด์ของไนโตรเจน เช่น ไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) ไนโตรเจนได
ออกไซด์ (NO2) ไดไนโตรเจนมอนอกไซด์ (N2O) อะตอมของไนโตรเจน สามารถเขียนโครงสร้าง
ลิวอิสได้ดังตัวอย่าง
ไนโตรเจนมีอิเล็กตรอน
เพียง 7 อิเล็กตรอน
ไนโตรเจนมีอิเล็กตรอน
เพียง 7 อิเล็กตรอน
ไนโตรเจนมีอิเล็กตรอน
ครบ 8 อิเล็กตรอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมีเพิ่มเติม ว 30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 ใช้ทดสอบความรู้ของนักเรียนหลังเรียน
เรื่อง การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ และโมเลกุลที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
จานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดและทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ
1. จากข้อความต่อไปนี้
1. ธาตุที่สร้างพันธะโคเวเลนต์เป็นธาตุอโลหะ
กับโลหะ
2. พันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะที่เกิดจากการใช้
อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ๆ
3. พันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะที่เกิดจากธาตุ
ที่มีค่าพลังงานไอออไนเซชันสูงทั้งคู่
4. ในการเกิดพันธะโคเวเลนต์ธาตุต่างๆต้องมี
เวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 ตามกฎออกเตต
เสมอ
ข้อความใดถูกต้อง
ก. 1, 2 ข. 2, 3
ค. 1, 3, 4 ง. 2 เท่านั้น
2. กาหนดการจัดอิเล็กตรอนของธาตุให้ดังนี้ A2,8,1
B 2,8,8,1 C 2,8,7 D 2,8,18, 8 ธาตุคู่ใดรวมกัน
เกิดเป็นสารประกอบโคเวเลนต์ได้
ก. Cกับ D ข. Aกับ D
ค. B กับ C ง. B กับ D
3. สารประกอบในข้อใดต่อไปนี้เป็นสารประกอบ
โคเวเลนต์ทั้งหมด
ก. CO2, CS2 , Rb2O
ข. CCl4, BeCl2 , N2O5
ค. Ca2CO3 , (NH4)2SO4 , CaS
ง. Na2O , N2O3 , CIF
4. ข้อใดที่อะตอมกลางมีจานวนอิเล็กตรอนคู่
โดดเดี่ยวเท่ากัน
ก. PCl3 , BF3
ข. H2O , ClF3
ค. H2S , NH3
ง. SO2 , XeF2
แบบทดสอบหลังเรียน
5. ข้อมูลในตารางต่อไปนี้ข้อใดผิด
ข้อ โมเลกุล อะตอม
กลาง
จานวน
อิเล็กตรอน
คู่ร่วม
พันธะ
จานวน
อิเล็กตรอนคู่
โดดเดี่ยวรอบ
อะตอมกลาง
ก H2O O 2 2
ข NH3 N 3 1
ค CH4 C 4 0
ง H2S H 2 2
6.โมเลกุลใดมีพันธะคู่
ก.C2H5OH
ข. N2
ค. Cl2
ง. CH2O
7. สารใดในโมเลกุลมีพันธะโคเวเลนซ์ชนิดพันธะ
เดี่ยวทั้งหมด
ก. SO2
ข. HCl
ค. CO2
ง. CH2O
8.โมเลกุลใดที่การรวมตัวเป็นไปตามกฎออกเตต
ก. SF6
ข. NO2
ค. CO2
ง. BeCl2
9. พิจารณาสารต่อไปนี้
H2S NH3 BF3 PBr5 HF
(I) (II) (III) (IV) (V)
ข้อสรุปเกี่ยวกับสารเหล่านี้ข้อใดถูก
ก. สาร (I) (III) และ (IV) เท่านั้น
เป็นสารประกอบโคเวเลนต์
ข. สาร (II) (III) (IV) และ (V) เท่านั้น
เป็นสารประกอบโคเวเลนต์
ค. สาร (I) และ (II) เท่านั้นที่อะตอมต่างๆ
มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็นไปตามกฎ
ออกเตต
ง. สาร (III) และ (IV) เท่านั้นที่อะตอม
ต่างๆ มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนไม่เป็นไป
ตามกฎออกเตต
10. ข้อใดประกอบด้วยโมเลกุลที่เป็นไปตามกฎ
ออกเตตทั้งหมด
ก. CCl4, BeCl2 , N2O5
ข. PCl3 , BF3, PCl5
ค. CO2 , SF6, PCl5
ง. CO2 , H2O, NCl3
เรื่อง การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ และโมเลกุลที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
ตัวเลือก
หัวข้อ
ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ชื่อ ................................. นามสกุล .................................... ชั้น ............ เลขที่ ..........
คะแนนเต็ม 10
คะแนนที่สอบได้
ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ตรวจ
(.............................................................)
วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ.
..............
กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ และโมเลกุล ที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
1) ข.
2) ก.
3) ข.
4) ข.
5) ง.
6) ง.
7) ข.
8) ค.
9) ง.
10) ง.
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว, 2553
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553
สุทัศน์ ไตรสถิตวร. เคมี ม.4 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์
โปรเกสซีฟ จากัด 2553.
สุวิทย์ มูลคา. กลยุทธการสอนคิดวิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจากัด
ภาพพิมพ์, 2549
สุวิทย์ มูลคาและสุนันทา สุนทรประเสริฐ. การพัฒนาผลงานทางวิชาการ สู่การเลื่อนวิทยฐานะ.
กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจากัด ภาพพิมพ์, 2550
รูปภาพโมเลกุลของสารที่ไม่เป็นไปตามกฏออกเตต (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 20 ตุลาคม 2555)
จาก http://www.vcharkarn.com
กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดโมเลกุลไฮโดรเจน (ออนไลน์)
(อ้างเมื่อ 20 ตุลาคม 2555) จาก http://www.vcharkarn.com
บรรณานุกรม

More Related Content

What's hot

แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่ายแผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่ายAum Orrawan
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอมBELL N JOYE
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างMaruko Supertinger
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงSunanthaIamprasert
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนThepsatri Rajabhat University
 
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557เทวัญ ภูพานทอง
 
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์thanakit553
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสJariya Jaiyot
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่ายแผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่าย
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้าง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
 
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
 
Mou
MouMou
Mou
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 

Similar to Study 1

Similar to Study 1 (20)

Punmanee study 6
Punmanee study 6Punmanee study 6
Punmanee study 6
 
พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bond
 
Punmanee study 8
Punmanee study 8Punmanee study 8
Punmanee study 8
 
Chemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfChemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdf
 
Punmanee study 10
Punmanee study 10Punmanee study 10
Punmanee study 10
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
 พันธะเคมี พันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
Chemical bonding1
Chemical bonding1Chemical bonding1
Chemical bonding1
 
Punmanee study 2
Punmanee study 2Punmanee study 2
Punmanee study 2
 
Organicpds
OrganicpdsOrganicpds
Organicpds
 
Chap 5 chemical bonding
Chap 5 chemical bondingChap 5 chemical bonding
Chap 5 chemical bonding
 

Study 1

  • 1. ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและโมเลกุลของสาร - แรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนหรืออะตอมของธาตุให้อยู่รวมกันเป็นโครงผลึก หรือโมเลกุล เรียกว่าพันธะเคมี - พันธะเคมีแบ่งออกเป็นพันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ และพันธะโลหะ 1. อธิบายการเกิดสารประกอบโคเวเลนต์ได้ 2. บอกความหมายของอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะและอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว พร้อมระบุ ชนิดของพันธะในสารประกอบโคเวเลนต์ได้ 3. ระบุโมเลกุลโคเวเลนต์ที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนไม่เป็นไปตามกฏออกเตตได้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐาน
  • 2. เรื่อง การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ และโมเลกุลที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) คือพันธะเคมีภายในโมเลกุลลักษณะหนึ่งซึ่งเกิดจาก อะตอมของ สองอะตอมใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนหนึ่งคู่หรือมากกว่าร่วมกัน ทาให้เกิดแรงดึงดูดที่รวม อะตอมเป็นโมเลกุลขึ้น พันธะโคเวเลนต์มักเกิดขึ้นระหว่างอะตอมที่มีค่า อิเล็กโตรเนกาติวิตี (EN) ใกล้เคียงกันและมีค่าพลังงานไอออไนเซชัน (IE) สูงทั้งคู่ ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นพันธะเคมีที่ยึดระหว่าง ธาตุอโลหะกับอโลหะ ซึ่งตัวอย่างการนาอิเล็กตรอนมาใช้ร่วมกันของธาตุไฮโดรเจนแสดงดังรูปที่ 1.1 H H รูป 1.1 แสดงการเกิดโมกุลของแก๊สไฮโดรเจน (H2) ใบความรู้ อะตอมของธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม เริ่มเคลื่อนที่เข้าหากัน นากลุ่มหมอกอิเล็กตรอน มาใช้ร่วมกัน อะตอมใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน เกิดแรงยึดเหนี่ยวที่เรียกว่า พันธะโคเวเลนต์
  • 3. จากการรวมกันของธาตุไฮโดรเจนสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงพลังงานได้ดังนี้ - เมื่ออะตอมของไฮโดรเจนสองอะตอมอยู่ห่างกัน อะตอมของไฮโดรเจนทั้งคู่จะมี พลังงานศักย์ค่าหนึ่ง - เมื่ออะตอมเคลื่อนที่เข้าใกล้กันจะเกิดแรงดึงดูดระหว่างอิเล็กตรอนกับโปรตอน - ขณะเดียวกันก็จะเกิดแรงผลักระหว่างโปรตอนกับโปรตอนและระหว่างอิเล็กตรอน กับอิเล็กตรอนด้วย แรงดึงดูดและแรงผลักดังกล่าวจะทาให้พลังงานศักย์ลดลง เมื่ออะตอมทั้งสองเข้าใกล้กัน มากขึ้นอีก พลังงานศักย์จะลดลงเรื่อยๆ จนกระทั่งนิวเคลียสของอะตอมทั้งสองอยู่ห่างกันเป็นระยะ 74 พิโกเมตร ผลรวมของแรงดึงดูดและแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของไฮโดรเจนทั้งสองอะตอม ลดลงมากที่สุด ซึ่งมีค่าน้อยกว่าพลังงานเริ่มต้น 436 กิโลจูลต่อโมล ไฮโดรเจนทั้งสองอะตอมจะใช้ อิเล็กตรอนร่วมกันเกิดเป็นโมเลกุลที่เสถียรมาก ถ้าอะตอมทั้งสองเข้าใกล้กันมากกว่านี้ แรงผลัก ระหว่างนิวเคลียสและระหว่างอิเล็กตรอนจะเพิ่มขึ้นทาให้พลังงานศักย์ของโมเลกุล สูงขึ้นอย่าง รวดเร็วจนอะตอมทั้งสองอยู่ร่วมกันเป็นโมเลกุลไม่ได้ การเปลี่ยนแปลงพลังงานแสดงดังรูปที่ 1.2 รูป 1.2 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดโมเลกุลไฮโดรเจน (ที่มา : http://www.vcharkarn.com) พลังงานศักย์ (kJ/mol)
  • 4. ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ ธาตุหมู่ VIIIA หรือหมู่ 18 ที่เรียกกันว่าแก๊สเฉื่อย เป็นธาตุที่มีเสถียรภาพสูง ธาตุเหล่านี้ มีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 ดัวยหลักการนี้ กิลเบิร์ต นิวตัน ลิวอิส (Gilbert Newton Lewis) นักเคมี ชาวอเมริกัน จึงตั้งกฏออกเตต (Octat rule) ขึ้น โดยกล่าวว่า “ อะตอมของธาตุต่างๆ ที่มี เวเลนต์อิเล็กตรอนไม่เท่ากับ 8 มีแนวโน้มที่จะปรับตัวให้มีเสถียรภาพมากขึ้นโดยรวมตัวกันเองหรือ รวมตัวกับอะตอมของธาตุอื่นในสัดส่วนที่ทาให้แต่ละอะตอมมีเวเลนส์อิเล็กตรอน ครบ 8 หรือมี จานวนอิเล็กตรอนเท่ากับแก๊สเฉื่อย (H ครบ 2 เหมือน He)” 1. สูตรแบบจุด (Electron dot formula) การเขียนสูตรแบบจุดของลิวอิสจะใช้จุด (dot) แทนจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนโดยให้ 1 จุด แทน 1 เวเลนซ์อิเล็กตรอน และใช้ 2 จุด 4 จุด หรือ 6 จุด เขียนไว้ระหว่างสัญลักษณ์ของธาตุแทนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 1 คู่ 2 คู่ หรือ 3 คู่ เพราะอะตอม อาจใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่ 2 คู่ หรือ 3 คู่ก็ได้ 2. สูตรแบบเส้น (Graphic formula) การเขียนสูตรแบบนี้จะใช้เส้น ( - ) 1 เส้น แทน อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 1 คู่ โดยมาจากอะตอมละ 1 อิเล็กตรอน 2 เส้น ( = ) แทน อิเล็กตรอนคู่ร่วม พันธะ 2 คู่ โดยมาจากอะตอมละ 2 อิเล็กตรอน 3 เส้น (  ) แทนอิเล็กตรอนคู่ ร่วมพันธะ 3 คู่ โดย มาจากอะตอมละ 3 อิเล็กตรอน และ  แทนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 1 คู่ โดยมาจากอะตอมใด อะตอมหนึ่งแต่เพียงอะตอมเดียว ให้เขียนเส้นแต่ละชนิดไว้ระหว่างสัญลักษณ์ของธาตุแทนพันธะ โคเวเลนต์ ส่วนเวเลนซ์อิเล็กตรอนอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะจะเขียนหรือไม่เขียนก็ได้ เมื่อธาตุมารวมกันเราสามารถเขียนสูตรโครงสร้าง ของสารโคเวเลนซ์ได้ 2 แบบ คือ
  • 5. ตัวอย่างที่ 1 การรวมตัวของธาตุไนโตรเจน กับฟลูออรีน H + F H F จากตัวอย่างสามารถอธิบายได้ดังนี้ ไฮโดรเจนมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 1 ต้องการอีก 1 อิเล็กตรอนจึงจะครบ 2 เหมือนฮีเลียม ส่วน ฟลูออรีนมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7 ต้องการอีก 1 อิเล็กตรอนจึงจะครบ 8 แต่ธาตุ ทั้งสองมี พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 สูง แสดงว่าเสียอิเล็กตรอนได้ยาก จึงไม่มีอะตอมใดให้อิเล็กตรอน ธาตุทั้งสองจึงใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่ เกิดเป็นพันธะโคเวเลนต์ชนิด พันธะเดี่ยว อิเล็กตรอนคู่ที่ใช้ ร่วมกันนี้เรียกว่า อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ ส่วนอิเล็กตรอน ที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการเกิดพันธะ จะเรียกว่า อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน หรือ อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ อิเล็กตรอนที่ไม่ได้ร่วมพันธะหรือ อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
  • 6. จากตัวอย่างการเกิดโมเลกุลของไฮโดรเจนฟลูออไรด์ช่วยให้ทราบว่าการเกิดพันธะเคมี จะเกี่ยวข้องกับเวเลนซ์อิเล็กตรอนของแต่ละอะตอม สาหรับอะตอมที่เกิดพันธะนั้นนักเคมี นิยมใช้ การเขียนสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิส โดยประกอบด้วยสัญลักษณ์ของธาตุหนึ่งแทนนิวเคลียส กับ อิเล็กตรอนในชั้นถัดจากเวเลนซ์อิเล็กตรอนเข้าไป และจุดรอบสัญลักษณ์ซึ่งแทนจานวนเวเลนซ์ อิเล็กตรอนของธาตุนั้นๆ ในกรณีของธาตุกลุ่มย่อย A (หมู่ IA ถึง VIIIA) ซึ่งมีจานวนเวเลนซ์ อิเล็กตรอนเท่ากับเลขหมู่ จึงเขียนสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสแสดงได้ ดังตัวอย่าง ตาราง 1.1 ตัวอย่างการเขียนสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิส IA IIA IIIA IVA VA VIA VIIA VIIIA Li Be B C N O F Ne Na Mg Al Si P S Cl Ar
  • 7. O2 CO2 C2H4 อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ มี 2 คู่ เรียกว่า พันธะคู่ เขียนเส้น 2 เส้น แทนพันธะคู่ เขียนเส้น 1 เส้น แทนพันธะเดี่ยว อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ มี 1 คู่ เรียกว่า พันธะเดี่ยว C2H2 N2 อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ มี 3 คู่ เรียกว่า พันธะสาม เขียนเส้น 3 เส้น แทนพันธะสาม
  • 8. ตาราง 1.2 โครงสร้างลิวอิสของโมเลกุลโคเวเลนต์บางชนิด สาร โครงสร้างลิวอิส ไฮโดรเจน คลอรีน คาร์บอนไดออกไซด์ เอทิลีน อะเซทิลีน สารโคเวเลนต์บางชนิดประกอบด้วยพันธะโคเวเลนต์ที่อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะมาจาก อะตอมใดอะตอมหนึ่งเท่านั้น พันธะที่เกิดขึ้นในลักษณะเช่นนี้เรียกว่า พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ ตัวอย่าง พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ในไอออน NH4 + NH3 .ใช้อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 1 คู่ สร้างพันธะกับ H+ ซึ่งไม่มีอิเล็กตรอน เกิดพันธะใหม่ระหว่าง NH3 กับ H+ ซึ่งเป็น พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ อย่างไรก็ตามเมื่อศึกษาเพิ่มเติมต่อไปจะพบว่าพันธะ ระหว่าง N กับ H ทั้ง 4 พันธะในไอออน NH4 + นี้มีลักษณะไม่แตกต่างกัน
  • 9. ตัวอย่างที่ 2 พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ในโมเลกุล NH3 และ BF3 โมเลกุลที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต ในโมเลกุลโคเวเลนต์ที่ได้ศึกษามาแล้วส่วนใหญ่อะตอมกลางจะมีจานวนอิเล็กตรอน ล้อมรอบ เป็นไปตามกฎออกเตต แต่มีบางโมเลกุลที่จานวนอิเล็กตรอนรอบอะตอมกลางน้อยกว่า 8 อิเล็กตรอน เช่น ในโมเลกุลเบริลเลียมคลอไรด์ BeCl2 หรือในโมเลกุลโบรอนไตรฟลูออไรด์ BF3 ซึ่งโครงสร้างลิวอิสของสารทั้งสองแสดงดังนี้ มีอิเล็กตรอนรอบเบริลเลียมเพียง 4 อิเล็กตรอน มีอิเล็กตรอนรอบโบรอน เพียง 6 อิเล็กตรอน
  • 10. โมเลกุลโคเวเลนต์หลายชนิด ที่มีอิเล็กตรอนรอบอะตอมกลางมากกว่า 8 เช่น ฟอสฟอรัส เพนตะคลอไรด์ (PCl5) อะตอมฟอสฟอรัสใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนทั้ง 5 อิเล็กตรอนสร้างพันธะกับ คลอรีน 5 พันธะ จึงมีอิเล็กตรอนล้อมรอบ 10 อิเล็กตรอน ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ (SF6) อะตอม กามะถัน ใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนทั้ง 6 อิเล็กตรอนสร้างพันธะกับฟลูออรีน 6 พันธะ จึงมีอิเล็กตรอน ล้อมรอบ 12 อิเล็กตรอนเช่นเดียวกับอะตอมของซีนอนในซีนอนเตตระฟลูออไรด์ (XeF4) แสดงให้ดู ดังตัวอย่าง ตัวอย่างที่ 3 โมเลกุลโคเวเลนต์ที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ ซีนอนเตตระฟลูออไรด์
  • 11. ในสารประกอบออกไซด์ของไนโตรเจน เช่น ไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) ไนโตรเจนได ออกไซด์ (NO2) ไดไนโตรเจนมอนอกไซด์ (N2O) อะตอมของไนโตรเจน สามารถเขียนโครงสร้าง ลิวอิสได้ดังตัวอย่าง ไนโตรเจนมีอิเล็กตรอน เพียง 7 อิเล็กตรอน ไนโตรเจนมีอิเล็กตรอน เพียง 7 อิเล็กตรอน ไนโตรเจนมีอิเล็กตรอน ครบ 8 อิเล็กตรอน
  • 12. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมีเพิ่มเติม ว 30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 คาชี้แจง 1. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 ใช้ทดสอบความรู้ของนักเรียนหลังเรียน เรื่อง การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ และโมเลกุลที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต จานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดและทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. จากข้อความต่อไปนี้ 1. ธาตุที่สร้างพันธะโคเวเลนต์เป็นธาตุอโลหะ กับโลหะ 2. พันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะที่เกิดจากการใช้ อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ๆ 3. พันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะที่เกิดจากธาตุ ที่มีค่าพลังงานไอออไนเซชันสูงทั้งคู่ 4. ในการเกิดพันธะโคเวเลนต์ธาตุต่างๆต้องมี เวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 ตามกฎออกเตต เสมอ ข้อความใดถูกต้อง ก. 1, 2 ข. 2, 3 ค. 1, 3, 4 ง. 2 เท่านั้น 2. กาหนดการจัดอิเล็กตรอนของธาตุให้ดังนี้ A2,8,1 B 2,8,8,1 C 2,8,7 D 2,8,18, 8 ธาตุคู่ใดรวมกัน เกิดเป็นสารประกอบโคเวเลนต์ได้ ก. Cกับ D ข. Aกับ D ค. B กับ C ง. B กับ D 3. สารประกอบในข้อใดต่อไปนี้เป็นสารประกอบ โคเวเลนต์ทั้งหมด ก. CO2, CS2 , Rb2O ข. CCl4, BeCl2 , N2O5 ค. Ca2CO3 , (NH4)2SO4 , CaS ง. Na2O , N2O3 , CIF 4. ข้อใดที่อะตอมกลางมีจานวนอิเล็กตรอนคู่ โดดเดี่ยวเท่ากัน ก. PCl3 , BF3 ข. H2O , ClF3 ค. H2S , NH3 ง. SO2 , XeF2 แบบทดสอบหลังเรียน
  • 13. 5. ข้อมูลในตารางต่อไปนี้ข้อใดผิด ข้อ โมเลกุล อะตอม กลาง จานวน อิเล็กตรอน คู่ร่วม พันธะ จานวน อิเล็กตรอนคู่ โดดเดี่ยวรอบ อะตอมกลาง ก H2O O 2 2 ข NH3 N 3 1 ค CH4 C 4 0 ง H2S H 2 2 6.โมเลกุลใดมีพันธะคู่ ก.C2H5OH ข. N2 ค. Cl2 ง. CH2O 7. สารใดในโมเลกุลมีพันธะโคเวเลนซ์ชนิดพันธะ เดี่ยวทั้งหมด ก. SO2 ข. HCl ค. CO2 ง. CH2O 8.โมเลกุลใดที่การรวมตัวเป็นไปตามกฎออกเตต ก. SF6 ข. NO2 ค. CO2 ง. BeCl2 9. พิจารณาสารต่อไปนี้ H2S NH3 BF3 PBr5 HF (I) (II) (III) (IV) (V) ข้อสรุปเกี่ยวกับสารเหล่านี้ข้อใดถูก ก. สาร (I) (III) และ (IV) เท่านั้น เป็นสารประกอบโคเวเลนต์ ข. สาร (II) (III) (IV) และ (V) เท่านั้น เป็นสารประกอบโคเวเลนต์ ค. สาร (I) และ (II) เท่านั้นที่อะตอมต่างๆ มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็นไปตามกฎ ออกเตต ง. สาร (III) และ (IV) เท่านั้นที่อะตอม ต่างๆ มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนไม่เป็นไป ตามกฎออกเตต 10. ข้อใดประกอบด้วยโมเลกุลที่เป็นไปตามกฎ ออกเตตทั้งหมด ก. CCl4, BeCl2 , N2O5 ข. PCl3 , BF3, PCl5 ค. CO2 , SF6, PCl5 ง. CO2 , H2O, NCl3
  • 14. เรื่อง การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ และโมเลกุลที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต ตัวเลือก หัวข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ชื่อ ................................. นามสกุล .................................... ชั้น ............ เลขที่ .......... คะแนนเต็ม 10 คะแนนที่สอบได้ ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ตรวจ (.............................................................) วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ. .............. กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน
  • 15. เรื่อง การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ และโมเลกุล ที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต 1) ข. 2) ก. 3) ข. 4) ข. 5) ง. 6) ง. 7) ข. 8) ค. 9) ง. 10) ง. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
  • 16. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553 สุทัศน์ ไตรสถิตวร. เคมี ม.4 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์ โปรเกสซีฟ จากัด 2553. สุวิทย์ มูลคา. กลยุทธการสอนคิดวิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจากัด ภาพพิมพ์, 2549 สุวิทย์ มูลคาและสุนันทา สุนทรประเสริฐ. การพัฒนาผลงานทางวิชาการ สู่การเลื่อนวิทยฐานะ. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจากัด ภาพพิมพ์, 2550 รูปภาพโมเลกุลของสารที่ไม่เป็นไปตามกฏออกเตต (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 20 ตุลาคม 2555) จาก http://www.vcharkarn.com กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดโมเลกุลไฮโดรเจน (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 20 ตุลาคม 2555) จาก http://www.vcharkarn.com บรรณานุกรม