SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
Download to read offline
1) ความหมายและประเภทของพอลิเมอร์
2) การเกิดพอลิเมอร์
3) โครงสร้างพอลิเมอร์
4) ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชัน
5) ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์
6) ผลของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์
1) ความหมายและประเภทของพอลิเมอร์
2) การเกิดพอลิเมอร์
3) โครงสร้างพอลิเมอร์
4) ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชัน
5) ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์
6) ผลของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์ (Polymer)
พอลิเมอร์ (Polymer) เป็นสารโมเลกุลใหญ่ที่ประกอบด้วย
หน่วยซ้้าๆ กัน จ้านวนตั้งแต่หลายพันจนถึงหลายล้านหน่วย
เชื่อมต่อกันด้วยพันธะเคมี
หน่วยย่อยที่ซ้้าๆ ที่เป็น
องค์ประกอบของพอลิเมอร์
เรียกว่า มอนอเมอร์
ความหมายของพอลิเมอร์
ประเภทของพอลิเมอร์
เกณฑ์พิจารณาจากแหล่งก้าเนิด
พอลิเมอร์ธรรมชาติ เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
ได้แก่ แป้ง ไกลโคเจน เซลลูโลส กลูโคส
โปรตีน กรดอะมิโน
DNA,RNA นิวคลีโอไทด์
ยางธรรมชาติเส้นใยธรรมชาติ
พอลิเมอร์สังเคราะห์ มนุษย์สังเคราะห์ขึ้น
พลาสติกชนิดต่างๆ ยางสังเคราะห์
เส้นใยสังเคราะห์
ประเภทของพอลิเมอร์
เกณฑ์พิจารณาจากชนิดของมอนอเมอร์
โฮโมพอลิเมอร์ (homopolymer) มอนอเมอร์เพียงชนิดเดียว
แป้ง
พอลิเอทิลีน (PE)
พอลิโพรพิลีน (PP)
โคพอลิเมอร์ (copolymer) มอนอเมอร์ต่างชนิดกัน
โปรตีน
ไนลอน (Nylon 6,6)
1. ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่น (Condensation Polymerization)
มีโมเลกุลอื่นออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วย เช่น H2O NH3 OH HCl
ได้แก่ โปรตีน ไนลอน
ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)
เกิดจากมอนอเมอร์รวมตัวกันทางเคมีได้พอลิเมอร์
มักจะมีโครงสร้างเป็นแบบตาข่ายหรือแบบร่างแห
Protein
Protein
Amino Acid
Amino Acid
OH C C
R O
OH
NH
H
พันธะเปปไทด์
พันธะเปปไทด์
H
NH2 C C
R O
H
ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่น
ตัวอย่าง
2. ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบเติม (Addition Polymerization)
ไม่มีโมเลกุลอื่นออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วย
เปลี่ยนพันธะคู่ระหว่าง อะตอมคาร์บอนให้เป็นพันธะเดี่ยว
ได้แก่ พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน พอลิไวนิลคลอไรด์
เกิดจากมอนอเมอร์ที่เป็นพันธะคู่ระหว่างอะตอมของคาร์บอนรวมตัว
กันเกิดเป็นพอลิเมอร์
Polyethylene
Polyethylene
Ethylene (C2H4)
Ethylene (C2H4)
C C
H H
H H
C C
H H
H H
C C
H H
H H
C C
H H
H H
C C
H H
H H
ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบเติม
ตัวอย่าง
สารตั้งต้นในการสังเคราะห์พอลิเอทิลีน
สารตั้งต้นในการสังเคราะห์พอลิโพรพิลีน
อีเทน (C2H6)
โพรเพน (C3H8)
ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบเติม
ตัวอย่าง
เอทิลีน คลอรีน
ไวนิลคลอไรด์
มอนอเมอร์
มอนอเมอร์
ไวนิลคลอไรด์ ไวนิลคลอไรด์
ไวนิลคลอไรด์
พอลิไวนิลคลอไรด์
พอลิไวนิลคลอไรด์
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
Polyvinyl chloride (PVC)
Polyvinyl chloride (PVC)
พอลิเมอไรเซชันแบบเติม
พอลิเมอไรเซชันแบบเติม
โครงสร้างของพอลิเมอร์
โซ่ยาว
พอลิเอทิลีนและพอลิโพรพิลีน สายโซ่เรียงชิดกันได้มาก จึง
มีความแข็ง ขุ่น และเหนียว มีความหนาแน่น จุดเดือดจุด
หลอมเหลวสูง แข็ง เหนียวและขุ่นกว่าโครงสร้างอื่น
พอลิไวนิลคลอไรด์และพอลิสไตรีนโซ่หลักอยู่ห่างกัน ท้าให้
มีความใสกว่าพอลิเอทิลีน
1) โครงสร้างแบบเส้น (Chain length polymer)
โครงสร้างของพอลิเมอร์
โซ่กิ่ง อาจเป็นโซ่สั้นหรือโซ่ยาวแตกออกไปจากโซ่หลัก
โซ่พอลิเมอร์ไม่สามารถจัดเรียงตัวชิดกันได้ พอลิเมอร์ชนิดนี้จึง
มีความยืดหยุ่น มีความหนาแน่นต่้า จุดหลอมเหลวต่้ากว่า
พอลิเมอร์แบบเส้น
พอลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต่้า (LDPE : Low Density
Polyethylene)
2) โครงสร้างแบบกิ่ง (Branched polymer)
โครงสร้างของพอลิเมอร์
3) โครงสร้างแบบร่างแห (Cross-linking polymer)
ต่อเนื่องกันเป็นร่างแห
เมื่อขึ้นรูปแล้วไม่สามารถหลอมหรือเปลี่ยนรูปร่างได้
เบกาไลต์ และเมลามีน
ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์
พลาสติก
ยาง
เส้นใย
พลาสติก
ยาง
เส้นใย
คือ สารที่สามารถท้าให้
เป็นรูปต่างๆ ได้ด้วยความ
ร้อน ซึ่งพลาสติกจัดเป็น
พอลิเมอร์ชนิดหนึ่ง
ไม่ผุกร่อนง่าย ทนต่อการสึกกร่อน ทนต่อสารเคมี
เป็นฉนวนไฟฟ้า กันน้้าได้
อ่อนตัวได้เมื่อสัมผัสกับความร้อน
เหนียว แข็งแรงทนทาน ยืดหยุ่นได้ น้้าหนักเบา
เทอร์มอพลาสติก
พลาสติกเทอร์โมเซต
อ่อนตัวเมื่อได้รับความร้อน อุณหภูมิลดลงจะแข็งตัว
ท้าให้กลับเป็นรูปร่างเดิมหรือเปลี่ยนรูปร่างได้
มีโครงสร้างแบบเส้นหรือโซ่กิ่ง
เช่น พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน พอลิสไตรีน
เทอร์มอพลาสติก (Thermoplastic)
พลาสติกเทอร์มอเซต (Thermosetting plastic)
ไม่สามารถน้ากลับมาขึ้นรูปใหม่ได้อีก
มีการเชื่อมต่อระหว่างโซ่โมเลกุลแบบร่างแห
อุณหภูมิสูงมากจะแตกและไหม้เป็นเถ้า
ทนต่อความร้อนและความดันได้ดีกว่าเทอร์มอพลาสติก
• มีลักษณะรูพรุน เหมือนฟองน้้า
• มีน้้าหนักเบา มีทั้งชนิดแข็ง แข็ง
ปานกลาง และยืดหยุ่นดี
• อาจท้าจากพลาสติกประเภท เทอร์มอ
พลาสติกหรือพลาสติกเทอร์มอเซตก็ได้
• ที่นิยมมาก คือ พอลิยูรีเทน
พอลิเอทิลีน และพอลิสไตรีน
เนื้อยางประกอบด้วยมอนอเมอร์ มีชื่อว่า
“ไอโซพรีน (isoprene)”
สูตรเคมีของไอโซพรีน คือ C5H8
มีสูตรโครงสร้างดังนี้
C C
H2C CH2
H3C H
น้้ายางสดจากต้นยางมีลักษณะข้นสีขาว
คล้ายน้้านม เมื่อทิ้งไว้จะบูดเน่าได้
เติม แอมโมเนีย (NH3) ลงไปเพื่อเป็นสารกันบูด
และป้องกันการจับตัวของน้้ายาง
เนื้อยางที่ได้เรียกว่า
ยางดิบ
มีความยืดหยุ่นสูง ม้วนขดไปมาเป็นวงและบิดเป็นเกลียว
ข้อดี มีความต้านทานแรงดึงสูง ทนต่อการขัดถู เป็น
ฉนวนที่ดีมากทนน้้า ทนน้้ามันจากพืชและจากสัตว์
ข้อจ้ากัด ไม่ทนต่อน้้ามันเบนซินและตัวท้าละลายอินทรีย์
เมื่อได้รับความร้อนจะเหนียวและอ่อนตัว แต่จะ
แข็งและเปราะที่อุณหภูมิต่้ากว่าอุณหภูมิห้อง
ยางท้าปฏิกิริยากับก้ามะถัน
อุณหภูมิสูงกว่าจุดหลอมเหลวของก้ามะถัน
ท้าให้ยางมีสภาพคงตัวในอุณหภูมิต่างๆ ทน
ต่อความร้อน แสง และละลายในตัวท้า
ละลายยากขึ้น
วัลคาไนเซชัน
ยางสังเคราะห์
ยาง IR (Isoprene rubber)
จุดเด่น คือ มีสิ่งเจือปนน้อย คุณภาพสม่้าเสมอทั้งก้อน
ยางที่มีโครงสร้างเหมือนยางธรรมชาติ
นิยมน้ามาท้าจุกนมยาง และอุปกรณ์ทางการแพทย์
1.
ยางสังเคราะห์
ยางเอสบีอาร์ (SBR)หรือยางสไตรีนบิวทาไดอีน
โคพอลิเมอร์ที่ได้จากปฏิกิริยาระหว่าง
สไตรีนกับบิวทาไดอีน
เป็นส่วนผสมในการผลิตยางรถยนต์
2.
สมบัติเฉพาะ
• ไม่ว่องไวในการท้าปฏิกิริยาเคมี ท้าให้สลายตัวยาก
• ทนต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ
ซิลิโคน ประกอบด้วยซิลิกอน (Si) และออกซิเจน (O)
เส้นใยธรรมชาติ (Natural fiber)
เส้นใยธรรมชาติ (Natural fiber)
1) เส้นใยจากพืช คือ เส้นใยเซลลูโลส ซึ่งมีอยู่ในส่วนต่างๆ
ของพืช ได้แก่ เส้นใยจากเปลือกไม้ ใบไม้ เยื่อหุ้มเมล็ด
1) เส้นใยจากพืช คือ เส้นใยเซลลูโลส ซึ่งมีอยู่ในส่วนต่างๆ
ของพืช ได้แก่ เส้นใยจากเปลือกไม้ ใบไม้ เยื่อหุ้มเมล็ด
2) เส้นใยจากสัตว์ คือ เส้นใยโปรตีนจากขนสัตว์ เช่น
ขนแกะ ขนแพะ ขนกระต่าย
2) เส้นใยจากสัตว์ คือ เส้นใยโปรตีนจากขนสัตว์ เช่น
ขนแกะ ขนแพะ ขนกระต่าย
3) เส้นใยจากสินแร่ ได้แก่ ใยหิน เป็นเส้นใยที่ทนต่อ
สารเคมี ทนไฟและความร้อนสูง
3) เส้นใยจากสินแร่ ได้แก่ ใยหิน เป็นเส้นใยที่ทนต่อ
สารเคมี ทนไฟและความร้อนสูง
เส้นใยสังเคราะห์ (Synthetic fiber)
เส้นใยสังเคราะห์ (Synthetic fiber)
เส้นใยสังเคราะห์ เป็นเส้นใยที่ได้จากพอลิเมอร์
สังเคราะห์ ประกอบด้วยโมเลกุลที่มีการเรียงตัวค่อนข้าง
เป็นระเบียบ
ไนลอน (Nylon)
ไนลอน (Nylon)
ข้อดีและข้อเสียของเส้นใยธรรมชาติและเส้นใยสังเคราะห์
1) ผ้าที่ท้าจากเส้นใยธรรมชาติ
ระบายความชื้นและความร้อนออกจากตัวผู้สวมใส่ได้อย่าง
รวดเร็ว
ไม่ทนต่อเชื้อรา สิ่งสกปรกเกาะติดง่าย ซักออกยาก ยับง่าย
2) ผ้าที่ท้าจากเส้นใยสังเคราะห์
ดูดซับน้้าได้น้อยและไม่ระบายความร้อน จึงสวมใส่ไม่
สบาย แต่มักจะซักแห้งเร็ว ไม่ยับง่าย ผลิตได้ครั้งละมากๆ
PET = poly(ethylene terephthalate)
ขวดน้ำดื่ม (ชนิดใส), ขวดน้ำอัดลม, ขวดน้ำมันพืช,
แผ่นใสชนิดถ่ำยเอกสำร, เส้นใยพอลิเอสเทอร์
HDPE = high density polyethylene
(พอลิเอทิลีนชนิดควำมหนำแน่นสูง)
ถุงร้อน (แบบขุ่น), ถุงหูหิว, ขวดน้ำดื่ม (แบบขุ่น),
ขวดนม, เชือก, แห, อวน, แกลลอนน้ำมันเครื่อง
PVC = poly(vinyl chloride)
(พีวีซี, พอลิไวนิลคลอไรด์)
ท่อน้ำ, ฉนวนหุ้มสำยไฟ, ผ้ำพลำสติก, หนังเทียม, แผ่นใสชนิดเขียน เป็นต้น
LDPE = low density polyethylene
(พอลิเอทิลีนชนิดควำมหนำแน่นต่้ำ)
ใช้ท้ำถุงเย็น, ถุงซิป
PP = polypropylene (พอลิโพรพิลีน)
ถุงร้อนแบบใส, เปลือกหม้อแบตเตอรี, ภำชนะพลำสติกทั่วไป
หรือที่ใช้กับเตำไมโครเวฟ, เชือก, แห, อวน เป็นต้น
PS = polystyrene (พอลิสไตรีน)
มีลักษณะใส แข็ง และเปรำะ
ใช้ท้ำตลับเทป, ไม้บรรทัด และภำชนะใส่ขนม
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์

More Related Content

What's hot

โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสารdnavaroj
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดNapaphat Bassnowy
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรม
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 

พอลิเมอร์