SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
1
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์ กุลฑานันท์
ยุคเริ่มต ้นเป็นครูของครู
อาจารย์นิรันดร์มาบรรจุเป็นอาจารย์วิทยาลัยครูบุรีรัมย์ เมื่อ พ.ศ.2525 โดยมาสอนวิชาพื้นฐานคือ การใช ้ห ้องสมุด
ซึ่งนักศึกษาครูทุกสาขาต ้องเรียน ทาให ้รู้จักกับนักศึกษาหลายสาขาที่มีความคิดก ้าวหน้า โดยเฉพาะนักศึกษาครุทายาท
ผู้นานักศึกษาในองค์การนักศึกษา
นักกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนา โดยองค์การนักศึกษาและชมรมต่างๆได ้เชิญอาจารย์เป็นที่ปรึกษา นอกจากสอน
นศ.สาขาบรรณารักษศาสตร์แล ้ว ยังสอนนศ.สาขาสังคมศึกษา วิชาการเมืองการปกครอง และสอนนศ.สาขาพัฒนาชุมชน
วิชามานุษยวิทยาประยุกต์ ซึ่งอาจารย์มักพานักศึกษาลงไปสัมผัสการทางานในชุมชนเสมอ
โดยผ่านการออกค่ายอาสาพัฒนา ค่ายอนุรักษ์สิ่งแวดล ้อม โดยสนับสนุนให ้ผู้นานักศึกษาไปร่วมประชุมสัมมนากับผู้นานักศึก
ษาต่างสถาบันเป็นการเปิดโลกทัศน์ให ้นักศึกษา และส่งนักศึกษาไปร่วมงานค่าย
งานอบรมของเอ็นจีโอในหมู่บ ้าน ทาให ้นักศึกษาเรียนรู้การทางานของนักพัฒนาในพื้นที่ชุมชน ทาให ้นักศึกษาเมื่อจบการศึก
ษาได ้เข ้าทางานในองค์กรพัฒนาทั้งภาคเอกชนและรัฐหลายคน หลายคนเป็นข ้าราชการครูก็เป็นครูนักพัฒนา หลายคนนาปร
ะสบการณ์ที่ได ้สมับเรียนไปใช ้ในการทางานของตนจนเจริญก ้าวหน้า นักศึกษาเหล่านี้ได ้เรียนรู้การดารงชีวิตอย่างพอเพียงขอ
ง อ.นิรันดร์ พออยู่ พอกิน ไม่ฟุ่ มเฟือย เงินเดือนมักนามาใช ้ในการทากิจกรรมกับนักศึกษา
และทางานพัฒนาในหมู่บ ้าน ในช่วงแรกอาจารย์ปั่นจักรยานมาทางานที่ห ้องสมุดของวิทยาลัย และพักอยู่หอพักนักศึกษาชาย
ช่วยดูแลนักศึกษา หลังจากนั้น 3-4 ปี ถึงได ้ขับมอเตอร์ไซด์แบบวิบาก มาทางานและใช ้ลงทางานพัฒนาในหมู่บ ้าน
และลงไปร่วมค่ายอาสาพัฒนากับนักศึกษา เป็นอยู่เช่นนี้นับสิบปีถึงได ้ออกรถปิกอัพมาใช ้งาน ทั้งลงหมู่บ ้าน ขับมาทางาน
และไป ประชุมกับเครือข่ายต่างจังหวัดในช่วงปี 2539
ซึ่งเป็นช่วงที่อาจารย์เข ้ามาทางานกับองค์กรกลางเต็มตัว ในการรณรงค์และตรวจสอบการเลือกตั้งทั่วไป
ยุคเริ่มต ้นทางานกับ สสส.
อาจารย์นิรันดร์ เป็นชื่อที่ชาวบ ้าน และพี่น้องในภาคประชาสังคม องค์กรพัฒนาเอกชน(Non-government
Organizations-NGO) และองค์กรชาวบ ้าน เรียกอ.นิรันดร์ มาโดยตลอดระยะเวลา 34 ปี
ที่อาจารย์คลุกคลีอยู่กับชาวบ ้าน เอ็นจีโอและภาคประชาสังคม ตั้งแต่เริ่มมาบรรจุรับราชการเป็นอาจารย์ที่วิทยาลัยครูบุรีรัมย์
เมื่อปี พ.ศ. 2525 อาจารย์เริ่มงานสอนนักศึกษาวิทยาลัยครู พร ้อมกับการทางานเพื่อสังคม
โดยพานักศึกษาออกค่ายอาสาพัฒนาชนบท และเป็นวิทยากรให ้กับ โครงการส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของประชาชน ภาคอีสานเขต
2 (สสส.อ.2บุรีรัมย์) ของสมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน(สสส.) ในการให ้ความรู้เกี่ยวกับสิทธิชุมชน การกระจายอานาจ
กฎหมายเบื้องต ้น แก่ชาวบ ้านในชนบทครอบคลุมทั้งจังหวัดบุรีรัมย์ การได ้ร่วมงานกับชาวบ ้านจนรู้จักกันฉันญาติมิตร
ไปมาหาสู่ ไปร่วมงานบุญของชุมชนชาวบ ้านตลอดระยะเวลา 30 กว่าปี อาจารย์จึงถือเป็นชาวบุรีรัมย์ผู้ที่เข ้าใจสภาพปัญหา
ความเป็นอยู่ของพี่น้องชาวบ ้านเป็ นอย่างดี
การทางานอบรมชาวบ ้านเกี่ยวกับสิทธิชุมชน สิทธิประชาชนตามรัฐธรรมนูญ
เป็นเรื่องยากสาหรับชาวบ ้านในสมัยนั้น การอบรมอาจจะต ้องมีการยกตัวอย่างคดี
หรือข่าวที่ชุมชนขัดแย ้งกับรัฐมาประกอบการบรรยาย แต่ที่ชาวบ ้านสนใจก็คือความรู้เกี่ยวกับกฎหมายเบื้องต ้นสาหรับประชาช
น เช่น การไปประกันผู้ต ้องหา วิธีการไปติดต่อราชการที่อาเภอ ที่ศาล เป็นต ้น การจัดเวทีอบรมก็ใช ้ที่
ศาลากลางบ ้าน ศาลาที่วัด หรือหอประชุมโรงเรียน ซึ่งก็ได ้รับความสนใจจากชาวบ ้านด ้วยดี การร่วมทางานกับ สสส.มาร่วม
30 ปี ในการรณรงค์ เผยแพร่ความรู้ด ้านสิทธิมนุษยชน สิทธิชุมชน ทาให ้อ.นิรันดร์
เป็นนักสิทธิมนุษยชนที่เข ้าใจปัญหาการถูกละเมิดสิทธิของชาวบ ้าน ชุมชน
จากหน่วยงานรัฐหรือนายทุนเป็นอย่างดี และได ้ประสานกับทาง สสส.และชมรมนักสิทธิมนุษยชนภาคอีสาน
และสภาทนายความ มาให ้การช่วยเหลือชาวบ ้าน รายละเอียดของ สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน(สสส.) ดูที่
http://uclthailand.blogspot.com/2011/12/blog-post.html
ยุคทางานอนุรักษ์ป่ าดงใหญ่กับหลวงพ่อประจักษ์
ป่ าดงใหญ่มีพื้นที่ 2 แสนกว่าไร่ครอบคลุมเขต 2 จังหวัดคือ บุรีรัมย์กับนครราชสีมา สาหรับบุรีรัมย์อยู่ในเขต
อ.ปะคา และ อ.โนนดินแดง เป็นผืนป่ าเบญจพรรณบนที่ราบผืนใหญ่ที่เหลืออยู่ไม่กี่แห่งในภาคอีสาน หลวงพ่อประจักษ์
คุตตจิตโต สานักสงฆ์หัวน้าผุด ป่ าดงใหญ่และลุงคา บุตรศรี ผู้นาชาวบ ้าน เริ่มการอนุรักษ์ป่ าร่วมกับชาวบ ้านดงใหญ่ หมู่ 4
ต.โคกมะม่วง อ.ปะคา บุรีรัมย์ เมื่อปี พ.ศ. 2532 – 2534 โดยการบวชต ้นไม ้การปลูกป่ า การฟื้นฟูป่ าต ้นน้า ทาง
2
อ.นิรันดร์ได ้พานักศึกษาสถาบันราชภัฏบุรีรัมย์เข ้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์ป่ าของพระสงฆ์และชาวบ ้านดงใหญ่ เพื่อส่งเสริมให ้นักศึ
กษาเกิดจิตสานึกการอนุรักษ์ป่ า และการเสียสละเพื่อสังคม และนักศึกษามีโอกาสร่วมงานกับนักอนุรักษ์
เอ็นจีโอด ้านอนุรักษ์ที่มาทางานในพื้นที่หลายองค์กร การทางานร่วมกันทั้งพระสงฆ์ ชาวบ ้าน นักวิชาการ นักศึกษา เอ็นจีโอ
และส่วนราชการ ทาให ้สามารถรักษาผืนป่ าดงใหญ่ให ้รอดจากการบุกรุกได ้
จนปัจจุบันได ้ประกาศให ้เป็นเขตห ้ามล่าสัตว์ป่ าดงใหญ่ และอยู่ในเขตมรดกโลกป่ าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ในปัจจุบัน
หลวงพ่อประจักษ์ หลังจากออจากป่ าดงใหญ่ได ้กลับไปลาสิกขาที่บ ้านเกิดที่สระบุรี เพื่อสู้คดีความ จนกลับมาบวชใหม่ได ้ชื่อว่า
หลวงพ่อประจักษ์ ธัมมปทีโป วัดเชรษฐพลภูลังกา ต.ดงบัง อ.บึงโขงหลง จ.หนองคาย ได ้ไปปลูกป่ าที่ภูลังกา หนองคาย
จนได ้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว ปี 2551 อ่านข ้อมูลที่เว็บ http://pttinternet.pttplc.com/greenglobe/2551/personal-
04.html
การทางานกับ ครป.
ในปี พ.ศ.2534 ภาคประชาสังคมจากหลายภาค ทั้งจาก เอ็นจีโอ องค์กรชาวบ ้าน นักวิชาการ สื่อมวลชน
รวมตัวกันเป็น ครป.หรือ คณะกรรมการรณรงค์ประชาธิปไตย
เพื่อเผยแพร่อุดมการณ์ประชาธิปไตยไปในชุมชนท ้องถิ่น อ.นิรันดร์และเครือข่ายภาคประชาสังคมบุรีรัมย์ก็เข ้าร่วมงานกับ ครป.
ในการรณรงค์แนวคิดประชาธิปไตยกินได ้ ประชาธิปไตยที่แก ้ปัญหาปากท ้องของชาวบ ้าน โดยมีการจัดเวทีประชาธิปไตยในชุ
มชน การจัดรายการวิทยุ เป็นต ้น การรณรงค์ของ ครป.ได ้เกิดการชุมนุมเรียกร ้องประชาธิปไตยในต่างจังหวัด
และกรุงเทพฯ ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2535
ที่บุรีรัมย์องค์กรภาคประชาชนหลายเครือข่ายจัดเวทีชุมนุมที่หลังสถานีรถไฟบุรีรัมย์ หลายพันคน
เหมือนกับจังหวัดอื่นๆในภาคอีสาน อ.นิรันดร์และเครือข่ายประชาสังคมหลายคนเข ้าร่วมชุมนุม จนนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงทา
งการเมือง ภายหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ 17-18 พฤษภาคม 2535 อ่านข ้อมูลเหตุการณ์ได ้ที่
http://pirun.ku.ac.th/~b521080372/Untitled-4.html
การทางานกับองค์กรกลาง
ในปี 2535 มีการจัดตั้งองค์กรกลางขึ้น เพื่อรับอาสาสมัครสังเกตการณ์เลือกตั้งจากประชาชนทั่วไปโดยมี ดร.โคทม
อารียาและคณะ
เป็นผู้นา ทางอ.นิรันดร์และเครือข่ายภาคประชาสังคมได ้เข ้าร่วมงานกับองค์กรกลาง โดยรับสมัครประชาชนหลากหลายอาชีพ
ทั้งครู ทนาย นักวิทยุสมัครเล่น ผู้นาชุมชน นักศึกษา มาเป็นอาสาสมัครสังเกตการณ์การเลือกตั้งตามหน่วยเลือกตั้ง สส.
ทั่วจังหวัด เพื่อให ้การเลือกตั้งโปร่งใส สุจริต
ยุติธรรม มีการออกไปจัดเวทีรณรงค์การเลือกตั้งในชุมชนต่างๆ มีการอบรมอาสาสมัคร ทาให ้เกิดเครือข่ายภาคประชาสังค
มที่ถักทอมาจนถึงปัจจุบัน องค์กรกลางบุรีรัมย์ได ้เข ้าร่วมสังเกตการณ์เลือกตั้งทั่วไปอีกหลายครั้ง เช่น ปี 2538 2539 และ
2544 เป็นต ้น โดยตอนหลังเปลี่ยนชื่อเป็นเครือข่ายพีเน็ต(P-NET)
การทางานองค์กรกลางและพีเน็ตทาให ้กลุ่มประชาสังคมสามารถขยายสมาชิกไปครอบคลุมทุกอาเภอทั่วจังหวัดบุรีรัมย์ มีการป
ระสานงานที่เป็นระบบมากขึ้น หลังจากนั้นทางเครือข่ายพัฒนามาเป็ นประชาสังคมบุรีรัมย์
ทางานด ้านกิจกรรมเพื่อสังคมมาตามลาดับ ซึ่งปัจจุบันเรียกองค์กรว่า บุรีรัมย์ฟอรั่ม (Buriram Forum)
ซึ่งถือว่าเป็นองค์กรภาคประชาสังคม (CSO-Civil Society
Organization)องค์กรหนึ่งในจังหวัดบุรีรัมย์ ข ้อมูลขององค์กรกลางติดตามอ่านได ้ที่ http://pnetforum.org/aboutus
การทางานกับคณะกรรมการเลือกตั้ง(กกต.)
ในปี พ.ศ.2540 มีการจัดตั้งคณะกรรมการเลือกตั้ง(กกต.)ซึ่งเป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
พ.ศ.2540 เพื่อจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา จึงมีการเตรียมการจัดตั้งสานักงาน
กกต.จังหวัด ดร.โคทม อารียา กรรมการคณะกรรมการเลือกตั้ง ได ้ประสานให ้อ.นิรันดร์ เข ้ามาช่วยเป็น ผอ.สานักงาน
กกต.จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นคนแรกเพื่อช่วยจัดตั้งสานักงาน กกต.จังหวัด โดยอาจารย์ได ้ประสานงานกับทางจังหวัดจน
ได ้รับอนุญาตให ้ใช ้หอประชุมจังหวัดหลังเก่าเป็นสานักงานกกต. มีการชักชวนครู อาจารย์ ข ้าราชการ
จากหลายหน่วยงานให ้เข ้ามาช่วยงานรณรงค์ของ กกต.บุรีรัมย์ ทาให ้ภาคประชาชนเข ้ามามีส่วนร่วมในการทางานของ
กกต.จังหวัด ในระยะต ้น จนในส่วนของ กกต.บุรีรัมย์ มีการพัฒนางานในการจัดการเลือกตั้งทั้งในระดับท ้องถิ่น และระดับชาติ
มาจนปัจจุบัน
3
การทางานกับกองทุนชุมชน (SIF)
ในปี พ.ศ.2540 เกิดวิกฤตเศรษฐกิจในประเทศไทย มีบริษัท ภาคธุรกิจ
โรงงานปิดตัวจานวนมาก มีการเลิกจ้างงาน เกิดคนว่างงานจานวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวบ ้านจากชนบทที่เข ้าไปทางานใน
เมืองใหญ่ อย่างกรุงเทพและปริมณฑล เมื่อกลับสู่ชนบทก็เกิดปัญหาว่างงาน
ขาดรายได ้ ธนาคารโลกได ้ให ้การช่วยเหลือรัฐบาลไทยโดยการสนับสนุนงบประมาณจัดตั้งโครงการกองทุนชุมชน (Social
Invesment Fund) ขึ้น เพื่อส่งเสริมให ้ชาวบ ้านรวมตัวกันเป็นกลุ่ม องค์กร จัดทาโครงการพัฒนาในหมู่บ ้านตนเอง
เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนชุมชนหรือกองทุนซิฟ โครงการกองทุนชุมชนเริ่มดาเนินการปี พ.ศ.2542-
2543 อาจารย์นิรันดร์เข ้าร่วมเป็นประธานในคณะทางานซิฟระดับจังหวัดหรือที่เรียกว่าคณะทางานชุมชนเข ้มแข็งระดับจังหวัดไ
ด ้ร่วมกับคณะกรรมการท่านอื่นๆ ที่มาจากตัวแทนภาคประชาสังคม องค์กรชุมชนในจังหวัด มาทางานร่วมกัน
กลั่นกรองโครงการที่ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนชุมชน โดยโครงการที่ได ้รับการสนับสนุน
อาทิเช่น การอบรมอาชีพ อุปกรณ์ประกอบอาชีพ โรงสีชุมชน ยุ้งฉางชุมชน ศูนย์เด็กเล็ก ตลาดชุมชน ประปาชุมชน พิพิธ
ภัณฑ์ชุมชน ทุนการศึกษาเด็กนักเรียน ทุนประกอบอาชีพชาวบ ้าน ฯลฯ โครงการเหล่านี้กระจายอยู่ทุกตาบล
ครอบคลุมทั้งจังหวัดบุรีรัมย์ โดยเน้นให ้ชุมชนนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง
มาประยุกต์ใช ้ในการดาเนินโครงการต่างๆ โครงการเด่นที่ยังดารงอยู่จนปัจจุบัน เช่น ศูนย์เด็กเล็ก วัดป่ าตะครองใต ้
ต.สูงเนิน อ.กระสัง, พิพิธภัณฑ์ชุมชน อนุสรณ์สถานอีสานใต ้วัดบ ้านโคกเขา ต.ไทยเจริญ อ.ปะคา, โรงสีชุมชน บ.เสม็ดประชา
ต.สองชั้น อ.กระสัง, เป็นต ้น ข ้อมูลกองทุนชุมชน อ่านที่ http://www.thaioctober.com/smf/index.php?topic=205.0
การทางานวิจัยเพื่อท ้องถิ่นกับ สกว.
ในปี พ.ศ.2544-2545 อาจาย์นิรันดร์ร่วมงานกับ
สางานงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) ส่งเสริมให ้ชาวบ ้านทาวิจัยเพื่อแก ้ปัญหาในท ้องถิ่น โดยจัดตั้งโหนดหรือหน่วยประ
สานงาน สกว.อีสานใต ้ขึ้นเพื่อ ส่งเสริมให ้ชาวบ ้านในเขตอีสานใต ้ ได ้แก่ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบล
อานาจเจริญ ยโสธร
และมุกดาหาร ได ้ทาวิจัยเพื่อท ้องถิ่นเพื่อแก ้ปัญหาปากท ้องของชาวบ ้านเอง จึงเกิดโครงการวิจัยโดยชาวบ ้าน
ร่วมกับผู้รู้ในชุมชน นักพัฒนา ร่วมกันทาวิจัยในหลากหลายประเด็น เช่น การอนุรักษ์ป่ า แม่น้า
การแก ้ปัญหาหนี้สิน การทาเกษตรอินทรีย์ เกษตรผสมผสานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการความรู้ในชุมชน
การฟื้นฟูภูมิปัญญาท ้องถิ่น การอนุรักษ์การทอผ ้าพื้นเมือง การบริหารจัดการน้า
เป็นต ้น ผลที่ได ้คือชุมชนสามารถแก ้ไขปัญหาของตนเองได ้ระดับหนึ่ง เกิดนักวิจัยท ้องถิ่นกระจายอยู่ตามจังหวัดต่างๆในเขต
อีสานใต ้ เกิดโครงการวิจัยท ้องถิ่นมากกว่า 30
โครงการในพื้นที่อีสานใต ้ ทาให ้ชาวบ ้านมีประสบการณ์ในกระบวนการทาวิจัยเพื่อท ้องถิ่น ซึ่งเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการ
พัฒนาชุมชน อ่านรายละเอียดการวิจัยเพื่อท ้องถิ่นได ้ที่ http://vijai.trf.or.th/history.asp
การทางานสร ้างเสริมสุขภาพกับ สป.รส.
ในปี พ.ศ.2543
มีการจัดตั้งคณะกรรมการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ (คปรส.)ขึ้นตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด ้วยการปฏิรูประบบ
สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2543
มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ โดยมีสานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ(สป.รส.)เป็นแกนกลาง เพื่อสร ้างกระแสการ
ปรับเปลี่ยนวิธีคิดด ้านสุขภาพของคนไทย จากการซ่อมสุขภาพมาสู่การสร ้างสุขภาพ เพื่อการมีสุขภาพดีถ ้วนหน้า ซึ่งมี
นพ.ประเวศ วะสี และกลุ่มหมอชนบทเป็นแกนหลักในการดาเนินการ ทาง อ.นิรันดร์
และทีมงานประชาสังคมบุรีรัมย์ได ้เข ้าร่วมงานกับ สป.รส. ในการรณรงค์แนวทางปฏิรูประบบสุขภาพ
จากการซ่อมสุขภาพมาสู่การ
4
สร ้างสุขภาพ ได ้พาเครือข่ายเข ้าร่วมเวทีสมัชชาสุขภาพระดับชาติเรื่อยมา มีการจัดรายการวิทยุเผยแพร่แนวทางปฏิรูประบบสุ
ขภาพ
การทางานกับสถาบันพระปกเกล ้า
ในปี พศ.2545 สถาบันพระปกเกล ้า ได ้จัดตั้งศูนย์กิจกรรมร่วมรัฐสภา-ประชาสังคม ตามจังหวัดต่างๆ
เพื่อส่งเสริมภาคประชาสังคมในท ้องถิ่นให ้เข ้มแข็ง และเผยแพร่ความรู้ด ้านประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญ
กิจกรรมของรัฐสภาและสถาบันพระปกเกล ้าสู่ประชาชนทั่วไป ทางอาจารย์นิรันดร์
ได ้เข ้าร่วมกิจกรรมของศูนย์กิจกรรมร่วมรัฐสภา-ประชาสังคม ที่บุรีรัมย์ และต่อมาได ้เปลี่ยนชื่อเป็น
ศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง จ.บุรีรัมย์ โดย อ.นิรันดร์
ได ้เป็นกรรมการและเลขานุการศูนย์ ได ้ผลักดันงานของศูนย์ในหลายด ้าน อาทิ การอบรมประชาธิปไตยให ้นักเรียน เยาวชน
แกนนาประชาสังคม การจัดรายการวิทยุเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาธิปไตย
รัฐธรรมนูญ การจัดสภากาแฟเพื่อวางแผนแก ้ปัญหาในท ้องถิ่นและติดตามเหตุการณ์บ ้านเมือง การจัดประกวดโรงเรียนประชา
ธิปไตย การมอบรางวัลคนดีศรีสังคม การจัดโรงเรียนพลเมือง การรณรงค์ปัญหาสิ่งแวดล ้อม
เป็นต ้น จนทางสถาบันพระปกเกล ้าได ้มอบเข็มกิตติคุณสถาบันพระปกเกล ้า ให ้อ.นิรันดร์
ไว ้เป็นเกียรติประวัติ กิจกรรมของศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง จ.บุรีรัมย์ ติดตามได ้ทางเฟสบุ๊ค ที่
www.facebook.com/buriramcivic/

More Related Content

Similar to ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx

ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวเครือข่าย ปฐมภูมิ
 
ากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีLookyee Wattanamala
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมFURD_RSU
 
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดินอาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดินNiran Kultanan
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียวกลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียวFURD_RSU
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 
๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"
๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"
๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"Nontaporn Pilawut
 
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่FURD_RSU
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)Kobwit Piriyawat
 
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์Niran Kultanan
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 

Similar to ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx (20)

ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
 
ากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
 
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดินอาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียวกลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
996 File
996 File996 File
996 File
 
๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"
๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"
๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งคา "โพธิสัตว์น้อย ต่อต้านการทุจริต"
 
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
 

More from Niran Kultanan

หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15
หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15
หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15Niran Kultanan
 
หนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯ
หนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯหนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯ
หนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯNiran Kultanan
 
อบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยาง
อบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยางอบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยาง
อบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยางNiran Kultanan
 
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญNiran Kultanan
 
วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์
วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์
วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์Niran Kultanan
 
หนังสือบัณฑิต มข.15
หนังสือบัณฑิต มข.15หนังสือบัณฑิต มข.15
หนังสือบัณฑิต มข.15Niran Kultanan
 

More from Niran Kultanan (6)

หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15
หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15
หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15
 
หนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯ
หนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯหนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯ
หนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯ
 
อบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยาง
อบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยางอบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยาง
อบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยาง
 
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
 
วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์
วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์
วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์
 
หนังสือบัณฑิต มข.15
หนังสือบัณฑิต มข.15หนังสือบัณฑิต มข.15
หนังสือบัณฑิต มข.15
 

ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx

  • 1. 1 ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ยุคเริ่มต ้นเป็นครูของครู อาจารย์นิรันดร์มาบรรจุเป็นอาจารย์วิทยาลัยครูบุรีรัมย์ เมื่อ พ.ศ.2525 โดยมาสอนวิชาพื้นฐานคือ การใช ้ห ้องสมุด ซึ่งนักศึกษาครูทุกสาขาต ้องเรียน ทาให ้รู้จักกับนักศึกษาหลายสาขาที่มีความคิดก ้าวหน้า โดยเฉพาะนักศึกษาครุทายาท ผู้นานักศึกษาในองค์การนักศึกษา นักกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนา โดยองค์การนักศึกษาและชมรมต่างๆได ้เชิญอาจารย์เป็นที่ปรึกษา นอกจากสอน นศ.สาขาบรรณารักษศาสตร์แล ้ว ยังสอนนศ.สาขาสังคมศึกษา วิชาการเมืองการปกครอง และสอนนศ.สาขาพัฒนาชุมชน วิชามานุษยวิทยาประยุกต์ ซึ่งอาจารย์มักพานักศึกษาลงไปสัมผัสการทางานในชุมชนเสมอ โดยผ่านการออกค่ายอาสาพัฒนา ค่ายอนุรักษ์สิ่งแวดล ้อม โดยสนับสนุนให ้ผู้นานักศึกษาไปร่วมประชุมสัมมนากับผู้นานักศึก ษาต่างสถาบันเป็นการเปิดโลกทัศน์ให ้นักศึกษา และส่งนักศึกษาไปร่วมงานค่าย งานอบรมของเอ็นจีโอในหมู่บ ้าน ทาให ้นักศึกษาเรียนรู้การทางานของนักพัฒนาในพื้นที่ชุมชน ทาให ้นักศึกษาเมื่อจบการศึก ษาได ้เข ้าทางานในองค์กรพัฒนาทั้งภาคเอกชนและรัฐหลายคน หลายคนเป็นข ้าราชการครูก็เป็นครูนักพัฒนา หลายคนนาปร ะสบการณ์ที่ได ้สมับเรียนไปใช ้ในการทางานของตนจนเจริญก ้าวหน้า นักศึกษาเหล่านี้ได ้เรียนรู้การดารงชีวิตอย่างพอเพียงขอ ง อ.นิรันดร์ พออยู่ พอกิน ไม่ฟุ่ มเฟือย เงินเดือนมักนามาใช ้ในการทากิจกรรมกับนักศึกษา และทางานพัฒนาในหมู่บ ้าน ในช่วงแรกอาจารย์ปั่นจักรยานมาทางานที่ห ้องสมุดของวิทยาลัย และพักอยู่หอพักนักศึกษาชาย ช่วยดูแลนักศึกษา หลังจากนั้น 3-4 ปี ถึงได ้ขับมอเตอร์ไซด์แบบวิบาก มาทางานและใช ้ลงทางานพัฒนาในหมู่บ ้าน และลงไปร่วมค่ายอาสาพัฒนากับนักศึกษา เป็นอยู่เช่นนี้นับสิบปีถึงได ้ออกรถปิกอัพมาใช ้งาน ทั้งลงหมู่บ ้าน ขับมาทางาน และไป ประชุมกับเครือข่ายต่างจังหวัดในช่วงปี 2539 ซึ่งเป็นช่วงที่อาจารย์เข ้ามาทางานกับองค์กรกลางเต็มตัว ในการรณรงค์และตรวจสอบการเลือกตั้งทั่วไป ยุคเริ่มต ้นทางานกับ สสส. อาจารย์นิรันดร์ เป็นชื่อที่ชาวบ ้าน และพี่น้องในภาคประชาสังคม องค์กรพัฒนาเอกชน(Non-government Organizations-NGO) และองค์กรชาวบ ้าน เรียกอ.นิรันดร์ มาโดยตลอดระยะเวลา 34 ปี ที่อาจารย์คลุกคลีอยู่กับชาวบ ้าน เอ็นจีโอและภาคประชาสังคม ตั้งแต่เริ่มมาบรรจุรับราชการเป็นอาจารย์ที่วิทยาลัยครูบุรีรัมย์ เมื่อปี พ.ศ. 2525 อาจารย์เริ่มงานสอนนักศึกษาวิทยาลัยครู พร ้อมกับการทางานเพื่อสังคม โดยพานักศึกษาออกค่ายอาสาพัฒนาชนบท และเป็นวิทยากรให ้กับ โครงการส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของประชาชน ภาคอีสานเขต 2 (สสส.อ.2บุรีรัมย์) ของสมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน(สสส.) ในการให ้ความรู้เกี่ยวกับสิทธิชุมชน การกระจายอานาจ กฎหมายเบื้องต ้น แก่ชาวบ ้านในชนบทครอบคลุมทั้งจังหวัดบุรีรัมย์ การได ้ร่วมงานกับชาวบ ้านจนรู้จักกันฉันญาติมิตร ไปมาหาสู่ ไปร่วมงานบุญของชุมชนชาวบ ้านตลอดระยะเวลา 30 กว่าปี อาจารย์จึงถือเป็นชาวบุรีรัมย์ผู้ที่เข ้าใจสภาพปัญหา ความเป็นอยู่ของพี่น้องชาวบ ้านเป็ นอย่างดี การทางานอบรมชาวบ ้านเกี่ยวกับสิทธิชุมชน สิทธิประชาชนตามรัฐธรรมนูญ เป็นเรื่องยากสาหรับชาวบ ้านในสมัยนั้น การอบรมอาจจะต ้องมีการยกตัวอย่างคดี หรือข่าวที่ชุมชนขัดแย ้งกับรัฐมาประกอบการบรรยาย แต่ที่ชาวบ ้านสนใจก็คือความรู้เกี่ยวกับกฎหมายเบื้องต ้นสาหรับประชาช น เช่น การไปประกันผู้ต ้องหา วิธีการไปติดต่อราชการที่อาเภอ ที่ศาล เป็นต ้น การจัดเวทีอบรมก็ใช ้ที่ ศาลากลางบ ้าน ศาลาที่วัด หรือหอประชุมโรงเรียน ซึ่งก็ได ้รับความสนใจจากชาวบ ้านด ้วยดี การร่วมทางานกับ สสส.มาร่วม 30 ปี ในการรณรงค์ เผยแพร่ความรู้ด ้านสิทธิมนุษยชน สิทธิชุมชน ทาให ้อ.นิรันดร์ เป็นนักสิทธิมนุษยชนที่เข ้าใจปัญหาการถูกละเมิดสิทธิของชาวบ ้าน ชุมชน จากหน่วยงานรัฐหรือนายทุนเป็นอย่างดี และได ้ประสานกับทาง สสส.และชมรมนักสิทธิมนุษยชนภาคอีสาน และสภาทนายความ มาให ้การช่วยเหลือชาวบ ้าน รายละเอียดของ สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน(สสส.) ดูที่ http://uclthailand.blogspot.com/2011/12/blog-post.html ยุคทางานอนุรักษ์ป่ าดงใหญ่กับหลวงพ่อประจักษ์ ป่ าดงใหญ่มีพื้นที่ 2 แสนกว่าไร่ครอบคลุมเขต 2 จังหวัดคือ บุรีรัมย์กับนครราชสีมา สาหรับบุรีรัมย์อยู่ในเขต อ.ปะคา และ อ.โนนดินแดง เป็นผืนป่ าเบญจพรรณบนที่ราบผืนใหญ่ที่เหลืออยู่ไม่กี่แห่งในภาคอีสาน หลวงพ่อประจักษ์ คุตตจิตโต สานักสงฆ์หัวน้าผุด ป่ าดงใหญ่และลุงคา บุตรศรี ผู้นาชาวบ ้าน เริ่มการอนุรักษ์ป่ าร่วมกับชาวบ ้านดงใหญ่ หมู่ 4 ต.โคกมะม่วง อ.ปะคา บุรีรัมย์ เมื่อปี พ.ศ. 2532 – 2534 โดยการบวชต ้นไม ้การปลูกป่ า การฟื้นฟูป่ าต ้นน้า ทาง
  • 2. 2 อ.นิรันดร์ได ้พานักศึกษาสถาบันราชภัฏบุรีรัมย์เข ้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์ป่ าของพระสงฆ์และชาวบ ้านดงใหญ่ เพื่อส่งเสริมให ้นักศึ กษาเกิดจิตสานึกการอนุรักษ์ป่ า และการเสียสละเพื่อสังคม และนักศึกษามีโอกาสร่วมงานกับนักอนุรักษ์ เอ็นจีโอด ้านอนุรักษ์ที่มาทางานในพื้นที่หลายองค์กร การทางานร่วมกันทั้งพระสงฆ์ ชาวบ ้าน นักวิชาการ นักศึกษา เอ็นจีโอ และส่วนราชการ ทาให ้สามารถรักษาผืนป่ าดงใหญ่ให ้รอดจากการบุกรุกได ้ จนปัจจุบันได ้ประกาศให ้เป็นเขตห ้ามล่าสัตว์ป่ าดงใหญ่ และอยู่ในเขตมรดกโลกป่ าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ในปัจจุบัน หลวงพ่อประจักษ์ หลังจากออจากป่ าดงใหญ่ได ้กลับไปลาสิกขาที่บ ้านเกิดที่สระบุรี เพื่อสู้คดีความ จนกลับมาบวชใหม่ได ้ชื่อว่า หลวงพ่อประจักษ์ ธัมมปทีโป วัดเชรษฐพลภูลังกา ต.ดงบัง อ.บึงโขงหลง จ.หนองคาย ได ้ไปปลูกป่ าที่ภูลังกา หนองคาย จนได ้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว ปี 2551 อ่านข ้อมูลที่เว็บ http://pttinternet.pttplc.com/greenglobe/2551/personal- 04.html การทางานกับ ครป. ในปี พ.ศ.2534 ภาคประชาสังคมจากหลายภาค ทั้งจาก เอ็นจีโอ องค์กรชาวบ ้าน นักวิชาการ สื่อมวลชน รวมตัวกันเป็น ครป.หรือ คณะกรรมการรณรงค์ประชาธิปไตย เพื่อเผยแพร่อุดมการณ์ประชาธิปไตยไปในชุมชนท ้องถิ่น อ.นิรันดร์และเครือข่ายภาคประชาสังคมบุรีรัมย์ก็เข ้าร่วมงานกับ ครป. ในการรณรงค์แนวคิดประชาธิปไตยกินได ้ ประชาธิปไตยที่แก ้ปัญหาปากท ้องของชาวบ ้าน โดยมีการจัดเวทีประชาธิปไตยในชุ มชน การจัดรายการวิทยุ เป็นต ้น การรณรงค์ของ ครป.ได ้เกิดการชุมนุมเรียกร ้องประชาธิปไตยในต่างจังหวัด และกรุงเทพฯ ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2535 ที่บุรีรัมย์องค์กรภาคประชาชนหลายเครือข่ายจัดเวทีชุมนุมที่หลังสถานีรถไฟบุรีรัมย์ หลายพันคน เหมือนกับจังหวัดอื่นๆในภาคอีสาน อ.นิรันดร์และเครือข่ายประชาสังคมหลายคนเข ้าร่วมชุมนุม จนนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงทา งการเมือง ภายหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ 17-18 พฤษภาคม 2535 อ่านข ้อมูลเหตุการณ์ได ้ที่ http://pirun.ku.ac.th/~b521080372/Untitled-4.html การทางานกับองค์กรกลาง ในปี 2535 มีการจัดตั้งองค์กรกลางขึ้น เพื่อรับอาสาสมัครสังเกตการณ์เลือกตั้งจากประชาชนทั่วไปโดยมี ดร.โคทม อารียาและคณะ เป็นผู้นา ทางอ.นิรันดร์และเครือข่ายภาคประชาสังคมได ้เข ้าร่วมงานกับองค์กรกลาง โดยรับสมัครประชาชนหลากหลายอาชีพ ทั้งครู ทนาย นักวิทยุสมัครเล่น ผู้นาชุมชน นักศึกษา มาเป็นอาสาสมัครสังเกตการณ์การเลือกตั้งตามหน่วยเลือกตั้ง สส. ทั่วจังหวัด เพื่อให ้การเลือกตั้งโปร่งใส สุจริต ยุติธรรม มีการออกไปจัดเวทีรณรงค์การเลือกตั้งในชุมชนต่างๆ มีการอบรมอาสาสมัคร ทาให ้เกิดเครือข่ายภาคประชาสังค มที่ถักทอมาจนถึงปัจจุบัน องค์กรกลางบุรีรัมย์ได ้เข ้าร่วมสังเกตการณ์เลือกตั้งทั่วไปอีกหลายครั้ง เช่น ปี 2538 2539 และ 2544 เป็นต ้น โดยตอนหลังเปลี่ยนชื่อเป็นเครือข่ายพีเน็ต(P-NET) การทางานองค์กรกลางและพีเน็ตทาให ้กลุ่มประชาสังคมสามารถขยายสมาชิกไปครอบคลุมทุกอาเภอทั่วจังหวัดบุรีรัมย์ มีการป ระสานงานที่เป็นระบบมากขึ้น หลังจากนั้นทางเครือข่ายพัฒนามาเป็ นประชาสังคมบุรีรัมย์ ทางานด ้านกิจกรรมเพื่อสังคมมาตามลาดับ ซึ่งปัจจุบันเรียกองค์กรว่า บุรีรัมย์ฟอรั่ม (Buriram Forum) ซึ่งถือว่าเป็นองค์กรภาคประชาสังคม (CSO-Civil Society Organization)องค์กรหนึ่งในจังหวัดบุรีรัมย์ ข ้อมูลขององค์กรกลางติดตามอ่านได ้ที่ http://pnetforum.org/aboutus การทางานกับคณะกรรมการเลือกตั้ง(กกต.) ในปี พ.ศ.2540 มีการจัดตั้งคณะกรรมการเลือกตั้ง(กกต.)ซึ่งเป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 เพื่อจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา จึงมีการเตรียมการจัดตั้งสานักงาน กกต.จังหวัด ดร.โคทม อารียา กรรมการคณะกรรมการเลือกตั้ง ได ้ประสานให ้อ.นิรันดร์ เข ้ามาช่วยเป็น ผอ.สานักงาน กกต.จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นคนแรกเพื่อช่วยจัดตั้งสานักงาน กกต.จังหวัด โดยอาจารย์ได ้ประสานงานกับทางจังหวัดจน ได ้รับอนุญาตให ้ใช ้หอประชุมจังหวัดหลังเก่าเป็นสานักงานกกต. มีการชักชวนครู อาจารย์ ข ้าราชการ จากหลายหน่วยงานให ้เข ้ามาช่วยงานรณรงค์ของ กกต.บุรีรัมย์ ทาให ้ภาคประชาชนเข ้ามามีส่วนร่วมในการทางานของ กกต.จังหวัด ในระยะต ้น จนในส่วนของ กกต.บุรีรัมย์ มีการพัฒนางานในการจัดการเลือกตั้งทั้งในระดับท ้องถิ่น และระดับชาติ มาจนปัจจุบัน
  • 3. 3 การทางานกับกองทุนชุมชน (SIF) ในปี พ.ศ.2540 เกิดวิกฤตเศรษฐกิจในประเทศไทย มีบริษัท ภาคธุรกิจ โรงงานปิดตัวจานวนมาก มีการเลิกจ้างงาน เกิดคนว่างงานจานวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวบ ้านจากชนบทที่เข ้าไปทางานใน เมืองใหญ่ อย่างกรุงเทพและปริมณฑล เมื่อกลับสู่ชนบทก็เกิดปัญหาว่างงาน ขาดรายได ้ ธนาคารโลกได ้ให ้การช่วยเหลือรัฐบาลไทยโดยการสนับสนุนงบประมาณจัดตั้งโครงการกองทุนชุมชน (Social Invesment Fund) ขึ้น เพื่อส่งเสริมให ้ชาวบ ้านรวมตัวกันเป็นกลุ่ม องค์กร จัดทาโครงการพัฒนาในหมู่บ ้านตนเอง เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนชุมชนหรือกองทุนซิฟ โครงการกองทุนชุมชนเริ่มดาเนินการปี พ.ศ.2542- 2543 อาจารย์นิรันดร์เข ้าร่วมเป็นประธานในคณะทางานซิฟระดับจังหวัดหรือที่เรียกว่าคณะทางานชุมชนเข ้มแข็งระดับจังหวัดไ ด ้ร่วมกับคณะกรรมการท่านอื่นๆ ที่มาจากตัวแทนภาคประชาสังคม องค์กรชุมชนในจังหวัด มาทางานร่วมกัน กลั่นกรองโครงการที่ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนชุมชน โดยโครงการที่ได ้รับการสนับสนุน อาทิเช่น การอบรมอาชีพ อุปกรณ์ประกอบอาชีพ โรงสีชุมชน ยุ้งฉางชุมชน ศูนย์เด็กเล็ก ตลาดชุมชน ประปาชุมชน พิพิธ ภัณฑ์ชุมชน ทุนการศึกษาเด็กนักเรียน ทุนประกอบอาชีพชาวบ ้าน ฯลฯ โครงการเหล่านี้กระจายอยู่ทุกตาบล ครอบคลุมทั้งจังหวัดบุรีรัมย์ โดยเน้นให ้ชุมชนนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง มาประยุกต์ใช ้ในการดาเนินโครงการต่างๆ โครงการเด่นที่ยังดารงอยู่จนปัจจุบัน เช่น ศูนย์เด็กเล็ก วัดป่ าตะครองใต ้ ต.สูงเนิน อ.กระสัง, พิพิธภัณฑ์ชุมชน อนุสรณ์สถานอีสานใต ้วัดบ ้านโคกเขา ต.ไทยเจริญ อ.ปะคา, โรงสีชุมชน บ.เสม็ดประชา ต.สองชั้น อ.กระสัง, เป็นต ้น ข ้อมูลกองทุนชุมชน อ่านที่ http://www.thaioctober.com/smf/index.php?topic=205.0 การทางานวิจัยเพื่อท ้องถิ่นกับ สกว. ในปี พ.ศ.2544-2545 อาจาย์นิรันดร์ร่วมงานกับ สางานงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) ส่งเสริมให ้ชาวบ ้านทาวิจัยเพื่อแก ้ปัญหาในท ้องถิ่น โดยจัดตั้งโหนดหรือหน่วยประ สานงาน สกว.อีสานใต ้ขึ้นเพื่อ ส่งเสริมให ้ชาวบ ้านในเขตอีสานใต ้ ได ้แก่ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบล อานาจเจริญ ยโสธร และมุกดาหาร ได ้ทาวิจัยเพื่อท ้องถิ่นเพื่อแก ้ปัญหาปากท ้องของชาวบ ้านเอง จึงเกิดโครงการวิจัยโดยชาวบ ้าน ร่วมกับผู้รู้ในชุมชน นักพัฒนา ร่วมกันทาวิจัยในหลากหลายประเด็น เช่น การอนุรักษ์ป่ า แม่น้า การแก ้ปัญหาหนี้สิน การทาเกษตรอินทรีย์ เกษตรผสมผสานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการความรู้ในชุมชน การฟื้นฟูภูมิปัญญาท ้องถิ่น การอนุรักษ์การทอผ ้าพื้นเมือง การบริหารจัดการน้า เป็นต ้น ผลที่ได ้คือชุมชนสามารถแก ้ไขปัญหาของตนเองได ้ระดับหนึ่ง เกิดนักวิจัยท ้องถิ่นกระจายอยู่ตามจังหวัดต่างๆในเขต อีสานใต ้ เกิดโครงการวิจัยท ้องถิ่นมากกว่า 30 โครงการในพื้นที่อีสานใต ้ ทาให ้ชาวบ ้านมีประสบการณ์ในกระบวนการทาวิจัยเพื่อท ้องถิ่น ซึ่งเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการ พัฒนาชุมชน อ่านรายละเอียดการวิจัยเพื่อท ้องถิ่นได ้ที่ http://vijai.trf.or.th/history.asp การทางานสร ้างเสริมสุขภาพกับ สป.รส. ในปี พ.ศ.2543 มีการจัดตั้งคณะกรรมการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ (คปรส.)ขึ้นตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด ้วยการปฏิรูประบบ สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2543 มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ โดยมีสานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ(สป.รส.)เป็นแกนกลาง เพื่อสร ้างกระแสการ ปรับเปลี่ยนวิธีคิดด ้านสุขภาพของคนไทย จากการซ่อมสุขภาพมาสู่การสร ้างสุขภาพ เพื่อการมีสุขภาพดีถ ้วนหน้า ซึ่งมี นพ.ประเวศ วะสี และกลุ่มหมอชนบทเป็นแกนหลักในการดาเนินการ ทาง อ.นิรันดร์ และทีมงานประชาสังคมบุรีรัมย์ได ้เข ้าร่วมงานกับ สป.รส. ในการรณรงค์แนวทางปฏิรูประบบสุขภาพ จากการซ่อมสุขภาพมาสู่การ
  • 4. 4 สร ้างสุขภาพ ได ้พาเครือข่ายเข ้าร่วมเวทีสมัชชาสุขภาพระดับชาติเรื่อยมา มีการจัดรายการวิทยุเผยแพร่แนวทางปฏิรูประบบสุ ขภาพ การทางานกับสถาบันพระปกเกล ้า ในปี พศ.2545 สถาบันพระปกเกล ้า ได ้จัดตั้งศูนย์กิจกรรมร่วมรัฐสภา-ประชาสังคม ตามจังหวัดต่างๆ เพื่อส่งเสริมภาคประชาสังคมในท ้องถิ่นให ้เข ้มแข็ง และเผยแพร่ความรู้ด ้านประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญ กิจกรรมของรัฐสภาและสถาบันพระปกเกล ้าสู่ประชาชนทั่วไป ทางอาจารย์นิรันดร์ ได ้เข ้าร่วมกิจกรรมของศูนย์กิจกรรมร่วมรัฐสภา-ประชาสังคม ที่บุรีรัมย์ และต่อมาได ้เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง จ.บุรีรัมย์ โดย อ.นิรันดร์ ได ้เป็นกรรมการและเลขานุการศูนย์ ได ้ผลักดันงานของศูนย์ในหลายด ้าน อาทิ การอบรมประชาธิปไตยให ้นักเรียน เยาวชน แกนนาประชาสังคม การจัดรายการวิทยุเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญ การจัดสภากาแฟเพื่อวางแผนแก ้ปัญหาในท ้องถิ่นและติดตามเหตุการณ์บ ้านเมือง การจัดประกวดโรงเรียนประชา ธิปไตย การมอบรางวัลคนดีศรีสังคม การจัดโรงเรียนพลเมือง การรณรงค์ปัญหาสิ่งแวดล ้อม เป็นต ้น จนทางสถาบันพระปกเกล ้าได ้มอบเข็มกิตติคุณสถาบันพระปกเกล ้า ให ้อ.นิรันดร์ ไว ้เป็นเกียรติประวัติ กิจกรรมของศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง จ.บุรีรัมย์ ติดตามได ้ทางเฟสบุ๊ค ที่ www.facebook.com/buriramcivic/