SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
1
บรรณาธิการ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัครพนท เนื้อไมหอม
กองบรรณาธิการ ผูชวยศาสตราจารย ดร.คําภีรภาพ อินทะนู
อาจารยชมพู อิสริยาวัฒน
อาจารยพลอยไพลิน ศรีวิเศษ
อาจารย ดร.สุธีกิติ์ พอดสูงเนิน
อาจารยภูริสา วัชเรนทรวงศ
อาจารยธิดารัตน คีมกระโทก
นายมลชัย สุขมาศ
นางสาวจรัลรัตน อุนรัมย
นางสาวอรอุมา หลาพิมพ
กราฟกและจัดรูปเลม นายสุรพงค กันถัด
2
3
สารบัญ
สารจาก
รักษาราชการแทนอธิการบดี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย
สารจาก
คณบดีคณะมนุษยศาสตร
และสังคมศาสตร
ประวัติ
ผูชวยศาสตราจารย ดร.นิรันดร กุลฑานันท
4
5
6
7
8
ประวัติสวนตัว
เกิดวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2502
สถานที่เกิด อ.หลมสัก จ.เพชรบูรณ
คูสมรส ดร.พัชนี กุลฑานันท
คณบดีคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย
บุตรธิดา ดญ.ชิดชนก กุลฑานันท
ที่อยูปจจุบัน 400 หมู 4 บานตราดตรวน ต.ชุมเห็ด อ.เมือง บุรีรัมย 31000
ประวัติการศึกษา
-ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนหลมสักวิทยาคม อ.หลมสัก
จ.เพชรบูรณ
-ระดับ ป.กศ.ตน (รุน 1) วิทยาลัยครูเพชรบูรณ อ.เมือง
จ.เพชรบูรณ
9
-ระดับปริญญาตรี อักษรศาสตรบัณฑิต
(บรรณารักษศาสตร) มหาวิทยาลัยขอนแกน
-ระดับปริญญาโท การศึกษามหาบัณฑิต
(บรรณารักษศาสตร) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
-ระดับปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองการ
ปกครอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
-ระดับปริญญาเอก Ph.D. (Social Sciences) Magadh
University, India
ประวัติการทํางาน
พ.ศ. 2525 – 2562 อาจารย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย
ประสบการณทํางาน
พ.ศ. 2534 – 2537 หัวหนาฝายหอสมุด สถาบันราชภัฏบุรีรัมย
พ.ศ. 2545 – 2547 ผูชวยอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย
พ.ศ. 2548 – 2551 ผูอํานวยการ สถาบันวิจัยและพัฒนา
พ.ศ. 2555 – 2558 รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย
10
ประสบการณทํางานภายนอก
- กรรมการ ศูนยประสานงานภาคีพัฒนา
จ.บุรีรัมย (2559-2562)
- ที่ปรึกษา คณะกรรมการธรรมาภิบาล จ.บุรีรัมย
(2560-2562)
- คณะกรรมการเขตสุขภาพฯ เขต 9
(นครชัยบุรินทร) (2561-2562)
- ศูนยพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบัน
พระปกเกลา จ.บุรีรัมย
- คณะกรรมการชมรมศิษยเกา
มหาวิทยาลัยขอนแกน จ.บุรีรัมย
- กรรมการมูลนิธิศิษยเกามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จ.บุรีรัมย
- กรรมการมูลนิธิชุมชนอีสาน (ECF)
รางวัล / เข็มเชิดชูเกียรติที่ไดรับ
- รางวัลแทนคุณแผนดิน ประจําป 2559 โดย เครือเนชั่น
- เข็มกิตติคุณสถาบันพระปกเกลา ประจําป 2561
- รางวัลศิษยเกาแหงความภูมิใจ มหาวิทยาลัยขอนแกน
ประจําป 2560
11
ประวัติการศึกษาดูงาน
- พ.ศ. 2536 รวมเสนอบทความเรื่อง “People
movement in E-san” ในการประชุม Thai Study ที่ SOAS,
University of London ประเทศอังกฤษ
- พ.ศ. 2538 อบรมเกี่ยวกับระบบฐานขอมูล
บรรณานุกรมออนไลน ที่ OCLC รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา
พ.ศ. 2546 ศึกษาดูงานเกี่ยวกับการดําเนินงาน
องคกรภาคประชาสังคม ที่ เมืองแฟรงกเฟรต
ประเทศเยอรมัน
พ.ศ. 2548-2558 ศึกษาดูงานกับทีมผูบริหาร ที่ ประเทศ
จีน เกาหลีใต กัมพูชา และ สปป.ลาว
12
13
14
15
16
ผมเปนคนชอบเสวนากับ
อาจารยอาวุโสรุนพี่เกี่ยวกับ
ประสบการณการดําเนินชีวิต ซึ่ง
หลายเรื่องไมมีสอนในตํารา ในวิถี
การทํางานวิจัยและพัฒนา ทํางาน
ภาคประชาสังคมมายาวนานทําใหมี
โอกาสไดเสวนาประสบการณ หลัก
คิด วัตรปฏิบัติของนักวิชาการ
ปราชญชาวบาน นักคิด นักพัฒนาที่
มีชื่อหลายคน ซึ่งขอมูลเหลานั้น
ไมมีเขียนไวในตํารา ไมมีสอนใน
มหาวิทยาลัย บุคคลเหลานี้มี
แนวทางดําเนินชีวิตไมตางกัน คือ
เนนการสรางสมดุลยชีวิต เรียบงาย
ใฝรู ทํางานหนัก อุดมคติมุง
สวนรวม เสียสละ ฯลฯ เปนหลาย
สิ่งที่อยูรอบตัวเราอยูแลว ผมเคย
คุยกับอาจารยลิขิต
(ศ.ดร.ลิขิต ธีรเวคิน) อาจารยที่
ปรึกษาผมสมัยเรียนที่ธรรมศาสตร
วาทานเรียนรูอยางไร คําตอบคือ
นอกจากการคนควาอยางหนักจาก
ตําราแลว ยังตองไปเสวนา ถกเถียง
กับอาจารย นักวิชาการดังๆดวยถึง
จะไดความรู นักวิชาการรุนใหมถา
เกงก็ตองไปเรียนรูจากคนรุนกอน มี
อาจารยรุนนอง เพื่อนฝูง ลูกศิษย
หลายคนถามผมวาเกษียณแลวจะ
ทําอะไรตอ ผมก็จะตอบวา ยัง
ทํางานกับชุมชน ชาวบาน และภาค
ประชาสังคมเหมือนเดิม เพราะ
การทํางานเพื่อสังคม ชวยเหลือผู
ยากไร ทํางานแบบจิตอาสานั้นทํา
ไดตลอดชีวิต เพียงแตเปลี่ยน
ลักษณะการทํางานจากการสอน
หนังสือนักศึกษา มาทํางานประชุม
17
อบรม กับชาวบาน เปลี่ยน
สถานที่ทํางานจากในมหาวิทยาลัย
มาเปนศาลาในหมูบาน ในวัด ใน
สวนปา
ผมเห็นตัวอยางนักวิชาการ
หมอ ขาราชการหลายคนที่
เกษียณอายุแลวยังทํางานเพื่อสังคม
ตอไป อยาง นพ.ประเวศ วะสี
ราษฏรอาวุโส อายุ 87 ปแลว ทาน
ยังทํางานพัฒนาชุมชน ทํางานกับ
ภาคประชาสังคมตามปกติ ทั้งเปน
วิทยากร รวมประชุมสัมมนา จัด
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู ทํางานกับ
เครือขายสมัชชาสุขภาพ รวมกับ
เครือขายพลเมืองอาสาที่ชวยเหลือ
ผูยากไรในชนบท สวน ดร.โคทม
อารียา อดีตกกต. อายุ 76 ปแลว
ทานยังทํางานชวยองคกรพัฒนา
หลายแหงในการทํางานชวยเหลือผู
ยากไรในชนบท และทํางานดาน
พิทักษ สิทธิม นุษยชนใหกั บ
ผูดอยโอกาส จึงไดขอสรุปกับ
ตัวเองวาคงเดินตามรอยนักวิชาการ
รุนกอน ที่ยังทํางานพัฒนา ทํางาน
เพื่อสังคมตอไป
งานที่ผมตองสานตอคือ การ
สนับสนุนการทํางานของเครือขาย
พลเมืองอาสาในแตละอําเภอในการ
ลงไปชวยเหลือผูยากไร คนจนที่
เปราะบางในชนบท ทั้งการเก็บ
รวบรวมขอมูล การประสานความ
ชวยเหลือจากหนวยงาน โดยทํา
ในนาม “ศูนยประสานงานภาคี
พัฒนา จ.บุรีรัมย (ศปจ.บุรีรัมย)”
รวมทั้งการขับเคลื่อนธรรมนูญ
สุขภาพชุมชน ใหชุมชนพี่งตนเองได
ก็ยังขับเคลื่อนตอไป สวนการเชื่อม
ประสานองคกรชุมชนและเครือขาย
ที่ตอเนื่องจากโครงการ (SIF) และ
การรณรงคประเด็นชุมชนเขมแข็ง
ก็ทําในนามกลุม Buriram Forum
การลงพื้นที่ไปเยี่ยมศูนยการเรียนรู
สวนเกษตร สวนปา กลุมชาวบาน
ก็คงจะทํามากขึ้น โดยเฉพาะกลุม
ชาวบานที่เคยรับการสนับสนุนจาก
SIF
18
งานสงเสริมความเขมแข็งของ
ภาคพลเมือง ผมก็ยังขับเคลื่อน
ตอไป โดยรวมงานกับ
คณะกรรมการศูนยพัฒนาการเมือง
ภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกลา
จ.บุรีรัมย ในการจัดอบรมเยาวชน
และชาวบาน เกี่ยวกับ
ประชาธิปไตย สิทธิชุมชน
รัฐธรรมนูญ การขับเคลื่อน
แนวทางชุมชนเขมแข็ง จังหวัด
จัดการตนเอง การฟนฟู
สภาพแวดลอมในลุมน้ํามูล
ตอนกลาง การสงเสริมเครือขาย
เยาวชน เครือขายพระสงฆเพื่อการ
พัฒนาเครือขายฝายมีชีวิต
เครือขายปาไม-ที่ดิน เพื่อใหการ
พัฒนาทองถิ่นในทุกดาน
งานที่ประสานกับทาง
สาขาวิชาคือการที่ผมรวมกับชมรม
ศิษยเกาบรรณารักษศาสตร และ
อาจารยในสาขาวิชาทําผาปา
การศึกษา ระดมปจจัยมาพัฒนา
หองปฏิบัติการของนักศึกษา สาขา
บรรณารักษศาสตรและสารสนเทศ
ศาสตร ซึ่งจะเปนประโยชนในการ
จัดการเรียนการสอนของสาขาวิชา
สืบไป งานที่จะประสานกับทาง
คณะคือเปนที่ปรึกษาใหกับงาน
บริการ วิจัยและพัฒนาชุมชน ของ
คณะ และการประสานอาจารย
อาวุโสมาใหแนวคิดที่เปนประโยชน
แกคณะ งานที่ประสานกับพระสงฆ
คือผมรวมกับศิษยเกาและเครือขาย
ภาคประชาสังคมจะไปพัฒนาจัดตั้ง
หองสมุด ที่ โรงเรียนพระปริยัติ
ธรรมแผนกธรรม -บาลี ประจํา
อําเภอกระสัง วัดบัวถนน
ต.สูงเนิน อ.กระสัง บุรีรัมย
เพื่อจัดเก็บหนังสือ สารสนเทศ ที่
เกี่ยวกับธรรมะ ภาษาบาลี พุทธ
ศาสนา ประเพณีวัฒนธรรมของ
ทองถิ่น การทําการเกษตร
เศรษฐกิจพอเพียง ภูมิปญญา
ทองถิ่น เปนตน หองสมุดนี้ใชชื่อ
วา
19
“หองสมุด ดร.นิรันดร กุลฑานันท”
เนนใหบริการพระเณรที่มาเรียน
ภาษาบาลีและธรรมะ และบริการ
ชาวบานทั่วไป ส่วนงานจัดรายการ
วิทยุเผยแพร่ความรู้สู่ชุมชน ทาง
สวท.บุรีรัมย์ และวิทยุชุมชนอืนๆ
รวมทังสือเผยแพร่ทางโซเชียล
มีเดียก็คงดําเนินงานต่อไปเพือ
ประโยชน์ของส่วนรวม โดยจะนํา
ข้อมูลจากการทํางานในชุมชน
หมู่บ้านมาเผยแพร่ออกอากาศให้
สาธารณชนได้ทราบต่อไป คง
ต้องอาศัยทีมงานคนรุ่นใหม่ทีเก่ง
ไอทีมาแนะนําการใช้สือเผยแพร่
ทางโซเชียลมีเดียทังยูทูป เฟสบุ๊ค
ไลน์ ฯลฯ สือดิจิตัลเหล่านีนับวัน
จะใช้แพร่หลายมากขึนในหมู่
ประชาชน ทําให้เราต้องศึกษา
เรียนรู้ เป็นการศึกษาตลอดชีวิต
ครับ งานเขียนหนังสือ งานวิจัย
งานวิชาการ งานเขียนต่างๆ ก็จะ
ทําต่อ แต่จะเน้นการเขียนเผยแพร่
ทางโซเชียลมีเดีย เช่น เฟสบุ๊ค
และบล็อกเกอร์ต่างๆ เพราะทําได้
ง่าย รวดเร็ว ผู้อ่านเข้าถึงได้ง่าย
ถ้ามีจํานวนมากพอก็อาจจะนํามา
พิมพ์รวมเล่มแจกลูกศิษย์
เครือข่าย และชาวบ้าน เป็นช่วงๆ
ถือว่าเป็นการคืนความรู้สู่แผ่นดิน
ส่วนด้านการศึกษาและ
ปฏิบัติธรรมกับครูบาอาจารย์คง
จะทําเข้มข้นขึน เพือเข้าถึง
หลักธรรมคําสอนของพุทธะ มี
พระอาจารย์ นักคิด ผู้อาวุโส
หลายท่านทีผมต้องการไปกราบ
ขอความรู้ และแลกเปลียน
ความคิดด้วย เป็นการพัฒนา
สติปัญญาของเราให้ก้าวหน้ามาก
ยิงขึน ก็คงจะมีการเดินทางไป
ตามวัดวาอารามกราบไหว้พระ
อาจารย์ ไปตามอาศรม สํานัก
ศูนย์เรียนรู้ ไปพบกับผู้อาวุโสต่างๆ
20
แล้วก็เอาข้อมูล ความรู้เหล่านัน
มาเผยแพร่สู่สาธารณะทาง
โซเชียลมีเดีย ทางวิทยุ ซึงงาน
เหล่านีทําได้ตลอดชีวิต
ผศ.ดร.นิรันดร กุลฑานันท
สวนน้ําเพียงดิน
11 กันยายน 2562
21
22
23
24
25
26
ผูชวยศาสตราจารย
ดร. นิรันดร กุลฑานันท ทาน
เปนคณาจารยสาขาวิชา
บรรณารักษศาสตรและ
สารสนเทศศาสตร ทานเปน
คณาจารยที่เปนรุนพี่ใน
สาขาวิชาทานไดคอยดูแล ให
คําแนะนําคณาจารยรุนนอง
ดวยดีเสมอมา การทํางาน
ของทานจนครบเกษียณอายุ
ราชการนั้นนับเปนเกียรติ
ประวัติของบุคคลที่รับราชการ
การสิ้นสุดระยะเวลาปฏิบัติ
ราชการถือวาทานไดบรรลุ
ภารกิจการปฏิบัติราชการของ
ทานแลว
ขอรวมแสดงมุทิตาจิต
ดวยความชื่นชมยินดีเปนอยางยิ่ง
ตลอดระยะเวลาที่ผานมาทานได
ปฏิบัติหนาที่ทั้งหนาที่ผูสอนและ
งานอื่น ๆ ที่ไดรับมอบหมายดวย
ความพากเพียร วิริยะ อุตสาหะ
ทานไดสรางประโยชนและเกิด
ผลดีตอทางราชการและวงการ
บรรณารักษศาสตรและ
สารสนเทศศาสตรอยางมากมาย
ทานอุตสาหะ มานะอดทน ทุมเท
ทั้งกําลังกาย กําลังใจ
กําลังสติปญญา ความรู
ความสามารถ ในการปฏิบัติ
ภารกิจเสริมสรางความเขมแข็ง
และสรางคุณูปการใหกับ
27
สาขาวิชา
บรรณารักษศาสตรและ
สารสนเทศศาสตร และ
มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมยมา
อยางตอเนื่องยาวนานจน
เกษียณอายุราชการ ทานได
เดินทางมาถึงเสนชัย ซึ่งเต็มไป
ดวยเกียรติยศและเกียรติภูมิ อยาง
สงางามตลอด อายุราชการของ
ทานและเปนเกียรติตอวงศสกุล
ในโอกาสนี้ ขอ
อาราธนาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ทาน
เคารพนับถือ และคุณงามความ
ดี ที่ทานไดสั่งสมมา จลดล
บันดาลอภิบาลปกปกษรักษา
คุมครองใหทานและครอบครัว
จงมีแตความสุข ความเจริญ
ปราศจากภัยใด ๆ ทั้งทุกขภัย
โรคภัยอยางไดมาแผวพาล
ขอใหมีสุขภาพพลานามัย
สมบูรณแข็งแรง เปนที่รักของ
ลูกหลานและญาติมิตรตลอดไป
รองศาสตราจารย ดร. ศิราณี จุโฑปะมา
รองอธิการบดีฝายบริหารงานบุคคลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
28
“ความยิ่งใหญ
คุณธรรมความดี พลังอํานาจ
ความกลาหาญ ความเขมแข็ง
แข็งแกรง และทรนง” คือคุณ
ลักษณของมังกร ตรงกับบุคลิก
ของ อ.นิรันดร ซึ่งอาจารยหลาย
คนใหฉายาวา “มังกรซอนตัว”
ผมไดรูจักทาน ผูชวย
ศาสตราจารย ดร.นิรันดร กุล
ฑานันท มายาวนานและได
ทํางานกับทานมาตลอดไดเรียนรู
การทํางานการขับเคลื่อนองคกร
หลายหนวยงานที่ทานมีสวนรวม
ทั้งภาครัฐและเอกชน ภาคประชา
สังคม เห็นความ
ยิ่งใหญความกลาหาญและความ
เขมแข็งสิ่งที่สําคัญมากกวานั้นคือ
คุณธรรมความดีที่ทานมีในการ
ทํางานเพื่อชวยเหลือคนยากจน
ในชนบท แมแตงานบริหารใน
มหาวิทยาลัย สมัยทานเปนรอง
อธิการบดีทานก็สนับสนุนให
ทีมงาน อาจารยรุนนองไดแสดง
ศักยภาพในการทํางานเต็มที่ ทํา
ใหทีมงานมีความสุขในการ
ทํางานและขับเคลื่อนงานอยาง
แข็งแกรงแตเรียบงาย อาจารย
หลายคนในมหาวิทยาลัยอาจมอง
ไมออก วาอ.นิรันดร มีผลงาน
อะไรบาง ถึงไดรับรางวัล
ระดับชาติคือ “รางวัลแทนคุณ
แผนดิน” ป 2559 ของเครือ
เนชั่น รางวัลเดียวกัน กับที่
ครูบาสุทธินันท ปรัชญพฤทธิ์
ปราชญชาวบานไดรับ ดวยบุคลิก
ที่ ดร.นิรันดรเปนคนถอมตน
29
พูดนอยฟงมาก ชอบทํางานเพื่อ
ชุมชนอยางเงียบๆ ชอบทํางาน
แบบปดทองหลังพระ ทานเปน
นักวิชาการที่ทํางานชวยเหลือ
ชุมชน ชาวบาน และชวยสังคม
มายาวนานกวา 30 ป ตั้งแตป
พ.ศ. 2525 ที่เริ่มรับราชการที่
วิทยาลัยครูบุรีรัมย มาจนถึง
ปจุบันก็ทํางานกับภาคประชา
สังคมชวยเหลือชาวบาน ชุมชน
ในชนบท ทั้งทํางานวิจัยเพื่อ
ทองถิ่น ทํางานพัฒนาแกปญหา
ความยากจนในหมูบาน การ
ทํางานที่ตอเนื่องยาวนานจนเปน
ที่ยอมรับจากสังคมจนไดรับ
รางวัลดังกลาว อาจารยบางสวน
ในมหาวิทยาลัยไมรูจักทาน
ยกเวนเพื่อนอาจารยที่สนิทและ
ทํางานชุมชนดวยกัน จน
อาจารยบางทานใหฉายาทานวา
“มังกรซอนตัว” ผมไดติดตาม
ทาน ไดเรียนรูวิธีการทํางาน
พัฒนาเครือขายชาวบาน
จากทาน บทความนี้เรียบเรียง
จากประสบการณของตนที่
รวมงานกับ ดร.นิรันดร และจาก
การสัมภาษณทานอีกสวนหนึ่ง
อ.นิรันดร บานเกิดอยูที่
อ.หลมสัก จ.เพชรบูรณ คนแถว
นั้นเชื้อสายไทลาวเหมือนทาง
ภาคอีสาน แตเปนลาวตอนเหนือ
ที่มีสําเนียงพูดเหมือนชาวหลวง
พระบาง ไชยะบุรี ในสปป.ลาว
และชาวเมืองเลย ทางอีสาน
เรียนระดับมัธยมตนที่หลมสัก
แลวมาเรียนวิทยาลัยครู
เพชรบูรณ รุน 1 ในระดับ ป.กศ.
ตน กอนที่จะแยกจากเพื่อนมา
สอบเอ็นทรานซเขา
มหาวิทยาลัยขอนแกน เรียน
ปริญญาตรี 4 ป เมื่อจบ
การศึกษาในป 2524 ก็มาทํางาน
ที่บุรีรัมยตอเนื่องมา 37 ป มีบาน
มีครอบครัว มีลูกศิษยและ
30
เครือขายประชาสังคมอยูบุรีรัมย
จึงเปนชาวบุรีรัมยโดยปริยาย
พ.ศ. 2525 อ.นิรันดร
เริ่มรับราชการที่วิทยาลัยครู
บุรีรัมย ทานก็สอนนักศึกษาทั้ง
ระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี
ในสาขาบรรณารักษศาสตร และ
สาขาอื่นๆเชน พัฒนาชุมชน
สังคมศึกษา รัฐประศาสนศาสตร
ประถมศึกษา (ครุทายาท)
โดยเฉพาะในรุนเกาๆที่จบไป
ทํางานแลวนับสิบปจะรูจักกันดี
และยังติดตอทานเสมอ รวมทั้ง
ทานเคยเปนที่ปรึกษาใหกับ
คณะกรรมการองคการนักศึกษา
สมัยแรกๆติดตอกันหลายสมัยจึง
รูจักกับอดีตนักกิจกรรมของ
มหาวิทยาลัยหลายรุน และการ
ที่ทานมีบุคลิกเปนคนกันเอง มี
รูปแบบการสอนแบบ
ประชาธิปไตย รับฟงความคิดเห็น
ของนักศึกษา เนนใหนักศึกษามี
สวนรวมในการเรียนการสอน
ฝกใหกลาพูด กลาแสดงออก
และเนนใหนักศึกษาไป
คนควาและมานําเสนอในชั้น
เนนการใหนักศึกษาไปคนควา
อานหนังสือ คนจากอินเตอรเน็ต
แลวมานําเสนอแลกเปลี่ยนกับ
เพื่อนๆ ทานเปนครูใจดี เปน
กันเองกับนักศึกษาทําให
นักศึกษา มีความเคารพรักทาน
มาก ตลอดระยะเวลา 37 ป
(พ.ศ.2525-2562) ของการเปน
อาจารยในมหาวิทยาลัยทานชอบ
งานสอน แมในชวงที่ดํารง
ตําแหนงเปนผูบริหาร
มหาวิทยาลัยก็ยังมีชั่วโมงสอน
ไดนําประสบการณ ความรูใหมๆ
มาสอนนักศึกษา ลักษณะการ
สอนของอาจารยจะยึดนักศึกษา
เปนศูนยกลาง อาจารยจะเปน
เหมือนโคช เทรนเนอร ที่คอย
ชี้แนะใหนักศึกษาแสวงหาความรู
31
จากแหลงตางๆ แลวนําความรู
มาบอกเลารายงานใหเพื่อนๆฟง
นักศึกษาจึงเรียนรูการใช
เทคโนโลยีตางๆในการเรียนการ
นําเสนองาน เชน โปรแกรม
Powerpoint โนตบุค
โปรเจคเตอร ยูทูป โซเชี่ยลมีเดีย
อื่นๆ ในขณะสอนจะแทรกอุดม
คติที่ดีงาม เชน ความเสียสละ
ความซื่อสัตย อดทน ความ
เอื้อเฟอตอผูอื่น การทํางานหนัก
การทํางานเพื่อสวนรวม การ
ประหยัด พอเพียง เขาใจปญหา
สังคม เปนตน เพราะมองวา
คุณสมบัติเหลานี้จะทําให
นักศึกษาจบไปทํางานแลวจะเปน
ที่พึงพอใจของผูบังคับบัญชา จะ
เจริญกาวหนาในการทํางาน
ศิษยเกาหลายคนที่ประสบ
ความสําเร็จ เมื่อจบไปทํางาน 5-
10 ป ถึงจะเขาใจเปาหมายการ
สอนของอาจารย
อ.นิรันดร ชอบงาน
กิจกรรมนักศึกษา และงานคาย
อาสาพัฒนาของนักศึกษา
เพราะในสมัยที่ทานเปนนักศึกษา
มหาวิทยาลัยขอนแกน ทานก็เปน
นักกิจกรรมทํางานคาย งาน
ชมรม งานสโมสรคณะ และงาน
องคการนักศึกษา (โดยทานเปน
นายกองคการนักศึกษา มข. ตอน
เรียนชั้นปที่ 4) ทานจึงสงเสริม
ใหนักศึกษามีจิตสํานึกรับใช
ประชาชน และชอบพานักศึกษา
ศึกษาธรรมชาติ สภาพแวดลอม
โดยเคยพานักศึกษาไปเดินปาที่
อุทยานแหงชาติเขาใหญ ภู
กระดึง ภูหินรองกลา และเขตปา
สงวนดงใหญ อ.ปะคํา บุรีรัมย
โดยเฉพาะการรวมรณรงค
อนุรักษปาดงใหญกับหลวงพอ
ประจักษ คุตตะจิตโต พระนัก
อนุรักษปาดงใหญในชวงป 2532-
2533 ศิษยเกาหลายคนยังจําไดดี
32
เพราะหลวงพอประจักษเปนผูนํา
นักศึกษาเดินสํารวจปาดวย
ตนเอง นอกจากนี้ยังพา
นักศึกษาออกคายพัฒนา
หองสมุด สอนหนังสือเด็ก
อาจารยจะสอนใหนักศึกษาใช
ชีวิตอยางพอเพียง ไมฟุงเฟอ
ซื่อสัตย เสียสละเพื่อสวนรวม
อดทนในการทํางาน หนักเอาเบา
สู ใจกวางรับฟงความคิดเห็น
ของผูอื่น ศิษยหลายคนนําคํา
สอนมาปฏิบัติจนกาวหนาใน
หนาที่การงานเปนผูบริหารทั้ง
เปนศึกษาธิการจังหวัด
ผูอํานวยการโรงเรียน
ผูอํานวยการ กศน. ครูอาจารย
บรรณารักษ นักพัฒนา นักธุรกิจ
ฯลฯ
ในชวงป 2528-2530
อ.นิรันดร ไปศึกษาตอระดับ
ปริญญาโทที่กรุงเทพฯ ทานรัก
การเรียน ไดสมัครเรียนปริญญา
โท 2 มหาวิทยาลัยพรอมกัน คือ
สาขาบรรณารักษศาสตร เรียนที่
มศว.ประสานมิตร และสาขา
การเมืองการปกครอง เรียนที่
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
(ในชวงเย็นหรือค่ํา) ดวยความ
ขยัน อดทน ทําใหทานสําเร็จ
การศึกษาทั้งสองสาขา ในชวง
ที่ศึกษาที่กรุงเทพฯ ทานชอบไป
ศึกษาการทํางาน และชวยงาน
องคกรพัฒนาภาคเอกชน เชน
มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม
(มอส.) มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก
(มพด.) สมาคมสิทธิเสรีภาพของ
ประชาชน (สสส.) เปนตน และ
ลงไปศึกษาวิถีชาวบาน คนจน
เมืองในยานสลัมหลายแหง
ในชวงนี้ทานไดศึกษาแนวคิดของ
ดร.ปรีดี พนมยงค และ ดร.ปวย
อึ๊งภากรณ ที่เกี่ยวกับการจัด
33
สวัสดิการเพื่อคนจน รัฐสวัสดิการ
ประชาธิปไตย และการพัฒนา
ชุมชน เมื่อกลับไปทํางานทานก็
นําแนวคิดนี้ไปใชในการทํางาน
กับภาคประชาสังคม และองคกร
ชาวบานในภาคอีสาน เมื่อมา
ทํางาน อ.นิรันดร เริ่มพัฒนา
หองสมุดของมหาวิทยาลัย ไดนํา
นักศึกษาสาขาวิชาบรรณารักษ
พัฒนาทั้งภายนอกภายใน
หองสมุดจนไดมาตรฐานของการ
เปนหองสมุดสถาบันอุดมศึกษา
สมัยกอนทานพานักศีกษา
สาขาวิชาบรรณารักษพัฒนา
หองสมุดจนดึกดื่น นักศึกษา
หลายรุนเคยขนยาย จัดชั้น
หนังสือ ทั้งกลางวันและกลางคืน
และทําอาหารทานรวมกัน ศิษย
เกาหลายคนจดจําบรรยากาศ
เหลานั้นไดดี หลายคนนํา
ประสบการณเหลานั้นมา
ประยุกตใชในการทํางานของ
ตนเองจนประสบความสําเร็จ
เมื่อมาเปนหัวหนาฝายหองสมุด
ทานพัฒนาใหมีหองคนควาสวน
บุคคล บริการโสตทัศนศึกษา
บริการฐานขอมูล มุมคนควาขอ
สารสนเทศทองถิ่น มุมขอมูล
จังหวัดบุรีรัมย มุมหนังสือของคํา
พูน บุญทวี นักเขียนซีไรท (ที่
มอบใหตอนมาบรรยายที่บุรีรัมย)
และเปนผูไปรวมวางแผนขอ
งบประมาณสรางอาคารหองสมุด
หลังใหม (อาคาร 6 ชั้น) จน
หองสมุดไดยายจากอาคารเกามา
อยูอาคารใหม 6 ชั้น
ดานศาสนาทานศึกษา
ธรรมะของพระอาจารย หลาย
สํานัก โดยเฉพาะพระอาจารยที่
เนน การสอนใหคิดเปนเหตุเปน
ผล ใหมีสติ อาทิ หลวงพอชา
34
สุภัทโท หลวงพอพุทธทาส
หลวงปูสุวัจน สุวโจ (วัดปาเขา
นอย บุรีรัมย) หลงพอสมภพ
โชติปญโญ พระอาจารยไพศาล วิ
สาโล และหลวงพอสุวรรณ นาคสุ
วัณโณ (วัดพนมดินสุวรรณาราม
ต.สูงเนิน อ.กระสัง จังหวัด
บุรีรัมย) สมัยที่ อ.นิรันดร บวช
เปนพระไดธุดงคไปปฏิบัติธรรม
กับพระวัดปาที่เพชรบูรณ
ขอนแกนและสุรินทร ทานอาน
หนังสือธรรมะ ฟงเทป ชมจากยู
ทูป ในหลักธรรมที่พระอาจารย
เหลานี้บรรยาย และนํามาปฏิบัติ
ใชในการทํางาน และได
แลกเปลี่ยนกับอาจารยที่สนใจ
ธรรมะอยูเสมอ ดานวัตร
ปฏิบัติทานไดใสบาตรพระยาม
เชาทุกวัน ที่หนาบานพักที่บาน
ตราดตรวน ต.ชุมเห็ด บุรีรัมย
เปนพระจากวัดปารุงอรุณ ใกลๆ
หมูบาน และรวมงานบุญของวัด
อยูอยางสม่ําเสมอ
ในชวงป 2539-2540
ดร.นิรันดร นํานักศึกษาและภาค
ประชาสังคมรวมรณรงค
สนับสนุนรัฐธรรมนูญฉบับ
ประชาชน 2540 จนผานการ
พิจารณาของรัฐสภา จนนําไปสู
การเลือกตั้งทั่วไปและเปนยุคที่
ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพมาก
สิทธิชุมชนไดรับการยอมรับมาก
การทํางานกับ องคกร
ชาวบานจึงเปนไปอยางคึกคักใน
ยุคนั้น ในยุคนั้นเปนชวงที่กลุม
นพ.ประเวศ วะสี กําลังรณรงค
เสริมสรางความเขมแข็งใหภาค
ประชาสังคม (Civil Society) มี
การกอตัวตั้งประชาคมขึ้นใน
จังหวัดตางๆ ดร.นิรันดร
รวมกับเครือขายตางๆในบุรีรัมย
35
ไดจัดตั้งประชาคมบุรีรัมยหรือ
ประชาสังคมบุรีรัมย โดยใชชื่อ
ภาษาอังกฤษวา “Buriram
Forum” ซึ่งในจังหวัดอื่นก็ใช
ชื่อคลายๆกัน เชน Korat
Forum, Khonkaen Forum
เปนตน และไดทํางานภาค
ประชาสังคมกับเครือขายพหุภาคี
ทั้ง ครู อาจารย ขาราชการ
ทนายความ สื่อมวลชน พระสงฆ
ผูนําชาวบาน เอ็นจีโอ ในจังหวัด
บุรีรัมย ในการพัฒนาทองถิ่นมา
จนถึงปจจุบัน
ในป 2541-2542
ดร.นิรันดร เขารวมเปน
คณะกรรมการกองทุนชุมชน
(SIF) จังหวัดบุรีรัมย โดยทาง
ธนาคารโลกไดสนับสนุน
งบประมาณผานรัฐบาล ผาน
คณะกรรมการกองทุนชุมชน
จังหวัด ลงสูชุมชนระดับกลุม
อาชีพของชาวบาน เพื่อทํา
กิจกรรมสงเสริมอาชีพ อบรม
ตางๆ ใหทุนหมุนเวียน กอสราง
อาคารศูนยเด็ก ศูนยอบรม
ชาวบาน โรงสีชุมชน ดวยการ
เปนผูมีวิสัยทัศนดร.นิรันดร ใน
ฐานะประธานคณะกรรมการ
กองทุน ไดกระจายงบประมาณ
ลงชวยเหลือชุมชน ชาวบาน
ครอบคลุมทุกอําเภอทั่วจังหวัด
ผลักดัน งบประมาณกอสราง
อาคารใหศูนยปราชญชาวบาน
หลายคน รวมทั้งพิพิธภัณฑ
พื้นบานของสหายในเขตงาน
อีสานใต ที่อนุสรณสถาน
ประชาชน อีสานใต วัดโคกเขา
ต.โคกมะมวง อ.ปะคํา บุรีรัมย
และศูนยพัฒนาเด็กเล็กในวัด
หลายแหง เนื่องจากโครงการ
SIF มีพี้นที่กิจกรรมพัฒนา
36
ครอบคลุมทุกอําเภอ ทุกตําบลใน
จังหวัดบุรีรัมย ภายหลังสิ้นสุด
โครงการป 2542 ทาง
ดร.นิรันดรและทีมงานไดจัดตั้ง
ประชาสังคมบุรีรัมยหรือกลุม
Buriram Forum เพื่อติดตาม ให
การสนับสนุนกลุมชาวบานที่
ไดรับการสงเสริมจากโครงการ
SIF มาอยางตอเนื่องจนถึงปจุจ
บัน ทําใหชุมชนเกิดการทักถอ
เครือขายมีความเขมแข็ง และ
อาจารยเปนนักวิชาการที่อยูในใจ
ชาวบานมาตั้งแตนั้น
เมื่อชวงป พ.ศ. 2544-
2546 ดร.นิรันดร ไดรับการ
ประสานจากสํานักงานกองทุน
สนับสนุนการวิจัย (สกว.) ใหเปน
ผอ. สํานักงานประสานงานวิจัย
เพื่อทองถิ่นอีสานใต ของ สกว.
ทําหนาที่สงเสริมให ชาวบาน ครู
นักวิชาการในทองถิ่น ในพี้นที่ 8
จังหวัดอีสานใต ไดทําวิจัยเพื่อ
ทองถิ่น ไดแก ชัยภูมิ
นครราชสีมา บุรีรัมย สุรินทร
ศรีสะเกษ อุบล อํานาจเจริญ
ยโสธร และมุกดาหาร โดยมี
นักวิจัยพี่เลี้ยงในทุกจังหวัดลง
สงเสริม ติดตามนิเทศ
โครงการวิจัยซึ่งมีโครงการวิจัย
กระจายอยูใน 8 จังหวัด รวมแลว
ไปต่ํากวา 50 โครงการ สงผลให
เกิดกระแสการศึกษา วิจัยโดย
ชาวบาน ครู นักวิชาการทองถิ่น
พระสงฆ ปราชญชาวบาน และ
NGOs เกิดการประสานความ
รวมมือในการพัฒนาศักยภาพ
ชุมชนในภาคอีสานใตอยาง
เขมแข็ง
ชวงป 2545-2547
ดร.นิรันดร เริ่มเขาทํางานใน
ตําแหนงผูบริหารของ
มหาวิทยาลัย ในตําแหนง ผูชวย
37
อธิการบดีฝายเทคโนโลยีและ
สารสนเทศ ดูแลศูนย
คอมพิวเตอรและพัฒนาระบบ
สารสนเทศของมหาวิทยาลัย ได
รวมกับคณาจารยสาขาวิทยาการ
คอมพิวเตอร กับสาขาเทคโนโลยี
สารสนเทศ วางเครือขาย
อินเตอรเนตใหครอบคลุมอาคาร
เรียน อาคารสํานักงานให
มหาวิทยาลัย และริเริ่มตั้งเสาสง
สัญญาณไวไฟตามหอพัก
นักศึกษา บริเวณลานนั่งพักผอน
ของนักศึกษา และไดจัดหา
เครื่อง Server แมขายใหม
สําหรับศูนยคอมพิวเตอรยี่หอ
Cisco ทําใหการใหบริการสะดวก
รวดเร็วมากขึ้น
ชวงป 2548-2551
ดร.นิรันดร เปนผูอํานวยการ
สถาบันวิจัยและพัฒนา (สวพ.)
เปนชวงที่คณาจารยยังทําวิจัยกัน
นอย อาจารยรุนใหมยังมี
ประสบการณทําวิจัยนอย
อ.นิรันดร มีเปาหมาย
จะพัฒนาอาจารยรุนใหมใหเกง
ดานวิจัยและดานบริหาร จึงดึง
อาจารยรุนใหมไฟแรงมาเปนรอง
ผูอํานวยการหลายคน และสงให
ไปประชุม สัมมนา อบรม ทําวิจัย
กับ สกว. วช. หรือหนวยวิจัย
อื่นๆ จนหลายคนประสบ
ความสําเร็จ เชน ดร.เชาวลิต
สิมสวย (ปจจุบันเปน ผอ.สวพ.)
รศ.ดร.ปรีชา ปาโนรัมย (ปจจุบัน
เปนคณบดีคณะวิทยาการจัดการ)
อ.สนิท พาราษฏร (อดีตรอง ผอ.
สวพ.) อ.ณัฐพล แสนคํา (ปจจุบัน
รองผอ.สํานักวิทยบริการฯ)
ผศ.ดร.สมหมาย ปะติตังโข
(นักวิจัยดีเดน ) อ.อัจฉรา หลาว
38
ทอง (นักวิจัยและวิทยากรของ
สมาพันธเอสเอ็มอี จ.บุรีรัมย)เปน
ตน และการใชนโยบายกระจาย
ทุนวิจัยขนาดเล็กๆ ใหอาจารยรุน
ใหมไดทดลองทําวิจัย ริเริ่มทํา
วารสารวิจัยและพัฒนา เผยแพร
บทความ งานวิจัย จัดงาน
แสดงผลงานวิจัยเพื่อทองถิ่นทุกป
มีชาวบาน พระสงฆ ตัวแทน
ชุมชน มาชมผลงานวิจัย มาฟง
การเสนองานวิจัย
ชวงป 2553-2555
อ.นิรันดร ไดเขาศึกษา
ระดับปริญญาเอก แบบทําวิจัย ที่
Magadh University อินเดีย
โดยทําวิจัยเกี่ยวกับ การวาง
นโยบายและแผนของรัฐไทยใน
การปฏิรูประบบราชการและ
ระบบธุรกิจ ในชวงที่ทําวิจัยและ
เดินทางไปอินเดีย ไดมีโอกาส
แลกเปลี่ยนเรียนรูกับนักวิชาการ
นักคิด นักปรัชญาหลายคน และ
ทานไดศึกษาแนวคิดของ
มหาตมะ คานธี และดร. เอ็ม
เบดการ (Dr. Ambedkar) บิดา
แหงรัฐธรรมนูญอินเดีย โดยทาน
สนใจศึกษาแนวคิด ดร.เอ็ม เบด
การ อยางลึกซึ้ง ดร.เอ็มเบด
การ เปนผูเสียสละทํางานใหคน
ยากคนจนในชนบท และตอสู
เพื่อความเทาเทียมใหกับคน
วรรณะจัณฑาลในอินเดีย ทาน
ทํางานพัฒนาชุมชนในชนบท
อินเดียตลอดอายุขัย และทานยัง
นับถือศาสนาพุทธ ทานนํา
ประชาชนนับแสนเขามานับถือ
พุทธศาสนา ในแทบทุกเมือง ทุก
หมูบานในชนบทที่ยากจนที่
อินเดียจะมีรูปปน
ดร.เอ็ม เบดการ ตั้งอยู แสดงถึง
แรงศรัทธาของชาวบานที่มีตอ
39
ทาน ดร.นิรันดร ไดนําแนวคิด
ของ ดร.เอ็ม เบดการ มา
ประยุกตใชในการทํางาน
ชวยเหลือคนยากจนผานการ
ทํางานของ ศปจ.บุรีรัมยและกลุม
Buriram Forum โดยการ
สํารวจขอมูลคนจนที่เปราะบาง
ในชนบทเชน คนแก คนพิการ
ผูปวยติดเตียง เด็กยากจน บุคคล
ไรสัญชาติ เปนตนและใหการ
ชวยเหลือเบื้องตน เปนงานที่ทํา
ผานศูนยพลเมืองอาสาระดับ
อําเภอทุกอําเภอ ครอบคลุมทั้ง
จังหวัดบุรีรัมย
ชวงป 2555-2558
ดร.นิรันดร เปนรองอธิการบดี
ฝายกิจการนักศึกษา ของ
มหาวิทยาลัย ทานไดดึงอาจารย
รุนใหมๆเขามารวมงาน ไดสอน
ใหคําแนะนําเทคนิคการทํางาน
การบริหารงาน ฝกวิทยายุทธการ
เดินเกมบริหารใหรุนนองที่มา
รวมงานจนหลายคนเปนผูบริหาร
ระดับตน เชน ผมเอง(อ.ชมพู)
ปจจุบันเปนรองคณบดี
อ.ธงชัย สีโสภณ เปนรองหัวหนา
ฝายยานพาหนะ เปนตน
เนื่องจากในอดีต รองฯนิรันดร
เคยทํากิจกรรมสมัยเรียน
มหาวิทยาลัยขอนแกน เคยเปน
นายกองคการนักศึกษา จึงมี
ประสบการณในการทํากิจการ
นักศึกษามาเปนอยางดี ได
มอบหมายใหผมและอ.ธงชัย ไป
เปนที่ปรึกษาองคการนักศึกษา
และชมรมตางๆ จนสนิทสนมเปน
ทีมงานเดียวกัน เมื่อทํากิจกรรม
ใดก็ใหผูนํานักศึกษามีสวนรวมทุก
ระดับ ทั้งกิจกรรมภายในและ
ภายนอกมหาวิทยาลัย การ
ขับเคลื่อนงานกิจการนักศึกษาจีง
เจริญรุดหนา มีประสิทธิภาพ
40
งานกิจกรรมภายนอกได
สนับสนุนใหนักศึกษาไปออกคาย
อาสาพัฒนาในชนบทหางไกล
และไปรวมรณรงคประเด็นทาง
สังคมตางๆ ไปศึกษาการทํางาน
ขององคกรชาวบาน ปราชญ
ชาวบาน และองคกรพัฒนา
เอกชน งานภายในก็สนับสนุน
กิจกรรมแขงกีฬา การเชียร ไหว
ครู ปฐมนิเทศนักศีกษาใหม
งานทางศาสนาก็จัดงานเทศน
มหาชาติ เปนตน ผลจากการ
พัฒนาผูนํานักศึกษายุคนั้น มีผูนํา
นักศึกษาสวนหนึ่งเมื่อเรียนจบ
แลว ก็กลับมาบรรจุเปนเจาหนาที่
งานกิจการนักศึกษาทั้งสวนกลาง
และของคณะ สไตลการ
บริหารของรองฯนิรันดร คือ
นอกจากการดําเนินงานในหนาที่
รับผิดชอบใหลุลวงแลวยังเนน
พัฒนาทีมงานใหเปนผูบริหาร
ผูนํารุนใหมของมหาวิทยาลัย ใน
ตอนแรกลูกนองอาจจะมองไม
เห็น แตเมื่อเวลาผานไปหลายป
มองยอนกลับไปจะเริ่มเขาใจ
ชวงป 2559-2562
หลังจากหมดวาระผูบริหารแลว
ดร.นิรันดร มาสอนนักศึกษา
ตามปกติและใหเวลากับการไปลง
พื้นที่ ทํางานกับชุมชนเปนหลัก
เพราะทานบอกนองๆวาชวงใกล
เกษียณอายุจะไปทุมเทกับการ
ทํางานภายนอกมหาวิทยาลัย
ทํางานกับชุมชน ภาคประชา
สังคม โดยเนนทํางานของ
ศูนยประสานงานภาคีพัฒนา
จ.บุรีรัมย (ศปจ.บุรีรัมย) ศูนย
พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง
สถาบันพระปกเกลา จ.บุรีรัมย
และ กลุม Buriram Forum
(เครือขายประชาสังคมบุรีรัมย)
นอกจากนี้ยังไปจัดรายการวิทยุ
41
ทันโลกทันเหตุการณ ทาง สวท.
บุรีรัมย (FM 101.75 MHz.) ทุก
วันพฤหัสบดี เพื่อเผยแพร
ขาวสาร ความรู สูประชาชน
ทั่วไป เปนรายการที่จัดตอเนื่อง
ยาวนานกวา 20 กวาป
ดร.นิรันดร ไดรับรางวัล
ใหญระดับชาติคือ รางวัลแทน
คุณแผนดิน ป 2559 ของเครือ
เนชั่น ที่จัดที่ ศูนยประชุม
แหงชาติสิริกิติ์ จัดโดย นสพ.
คมชัดลึก และทีวีเนชั่น 22 โดย
จะคัดเลือก ปราชญชาวบาน ภูมิ
ปญญาทองถิ่น ปญญาชน ผูนํา
ที่ทํางานพัฒนาชุมชนทองถิ่นมา
ยาวนาน จังหวัดละหนึ่งคนเพื่อ
เขารับรางวัลจากองคมนตรี ใน
จังหวัดบุรีรัมยผูที่เคยรับรางวัลนี้
คือครูบาสุทธินันท ปรัชญพฤทธิ์
ปราชญชาวบาน แหงมหาชีวาลัย
อีสาน ต.สนามชัย อ.สตึก
ดานการสงเสริมการ
เรียนการสอนนักศึกษาภายใน
มหาวิทยาลัย ดร.นิรันดร
รวมกับศิษยเกาไดจัดทําผาปา
การศึกษาระดมทุน พัฒนา
หองปฏิบัติการของนักศึกษา
สาขาบรรณารักษศาสตร ใชชื่อ
“หองปฏิบัติการ ผศ.ดร.นิรันดร
กุลฑานันท” เพื่อเปนหองที่
นักศึกษาใชฝกปฏิบัติงานหลาย
ดานที่เกี่ยวกับหองสมุด เชน งาน
คอมพิวเตอร งานฐานขอมูล งาน
สืบคนสารสนเทศ งานซอม
หนังสือ เปนตน เมื่อสําเร็จ
การศึกษา นักศึกษาจะมีทักษะใน
งานดานตางๆ อันจะเปน
ทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพของ
หนวยงาน โดยไดทําการ
ทอดผาปารุนแรก ในวันที่ 24
สิงหาคม 2562 ซึ่งเปนวันที่จัด
42
เสวนาทางวิชาการเนื่องในโอกาส
เกษียณอายุของ รองฯนิรันดร
ดานการชวยเหลือ
สังคมภายนอก ดร.นิรันดร
รวมกับลูกศิษย และเครือขาย
ประชาสังคม กําลังทําบุญผาปา
การศึกษา เพื่อพัฒนาหองสมุดให
รร.พระปริยัติธรรม บาลี วัดบัว
ถนน ต.สูงเนิน อ.กระสัง บุรีรัมย
เพื่อเปนแหลงเรียนรูของชาวบาน
และพระ เณรจากครอบครัว
ยากจนที่มาเรียน ภาษาบาลี ได
ศึกษาคนควา อาจารยไดนํา
นักศึกษา สาขาวิชา
บรรณารักษศาสตรและ
สารสนเทศศาสตร มหาวิทยาลัย
ราชภัฏบุรีรัมย มาพัฒนา
หองสมุดที่วัดบัวถนนดวย โดย
ตั้งชื่อวา “หองสมุด
ดร.นิรันดร กุลฑานันท” โดย
การพัฒนาหองสมุดจะใช
ระยะเวลา 3 ป แบบคอยเปน
คอยไป เพราะตองใชเวลาใหการ
เก็บรวบรวมหนังสือ สารสนเทศที่
เกี่ยวกับพุทธศาสนาและอื่นๆ
ทั้งหมดที่กลาวมานี้คือ
เสนทางชีวิต ดร.นิรันดร ครูที่
เปนที่เคารพรักของลูกศิษย
นักวิชาการรุนพี่ที่นองอาจารย
รุนหลังจะยึดเปนตนแบบ
นักวิชาการที่เปนที่รักของ
ชาวบาน ของเครือขายประชา
สังคม พวกเราจะยึดหลัก
คุณธรรม แนวคิด คุณความดีที่
ทานทําไวเพื่อสืบสานตอไป
ชมพู อิสริยาวัฒน
9 มิถุนายน
43
เมื่อกลาวถึงวาระ
เกษียณอายุราชการของ
ผศ.ดร.นิรันดร กุลฑานันท ใน
ฐานะนองที่รวมงานขอเปน
ตัวแทนนองๆเขียนความในใจถึง
ทานพอสังเขป ในสาขาวิชา
บ ร ร ณ า รั ก ษ ศ า ส ต ร แ ล ะ
สารสนเทศศาสตร จะเรียกทาน
“พี่นิรันดร” แมทานจะมีชื่อเลน
วา “พี่ปู” “พี่ปู” ก็ตาม ในการ
ทํางานรวมกับทานในความทรง
จําคือ ทานเปนบุคคลที่นาเคารพ
นารักในการทํางานรวมกับผูอื่น
ทานทํางานดวยความวิริยะ
ตรงไปตรงมา ทานไมเคยวากลาว
หรือดุอะไรนอง ๆ ในสาขาวิชา
เลย ตลอดระยะที่ดิฉันทํางาน
รวมกับทานมาเปนเวลา
23 ป พี่นิรันดรเปนพี่ชายที่นา
เคารพ นารักและเปนที่เกรงใจ
ของเพื่อนรวมงานและนองๆ
ตลอด โดยเฉพาะตัวดิฉันเอง
เคารพและศรัทธาในตัวพี่นิรันดร
มาตลอด ในเรื่องการทํางาน
รวมกับทานทานจะใหความ
รวมมือความชวยเหลือในการ
ทํางานตลอด ไมเคยหลีกหนีไมวา
งานจะยากหรืองาย ทาน
ชวยเหลือตลอดไมเคยบนและไม
เคยเห็นทานโกรธใคร ทานจะใช
คําพูดวา “อยาไปหัวซา” เราฟง
แลวก็เบาใจในเรื่องนั้น ๆ ทาน
เปนพี่ที่มีความเมตตาและกรุณา
ตอนองอยางสูง การทํางานกับ
ลูกนองทานก็เอื้ออาทรใหโอกาส
44
เจาหนาที่ทุกคนในการทํางาน
ใครทําผิดพลาดทานก็จะให
แนวคิดและเตือนสติ จะไมดุหรือ
วาใครใหเจ็บช้ําน้ําใจ ในดานการ
สอนลูกศิษย ทานก็สอนเด็กดวย
ความเมตตาใหความรูและ
แนวคิดตาง ๆ
เนื่องจากทานมี
ประสบการณสูงในหลาย ๆ ดาน
ในโอกาสที่ทานจะเกษียณอายุ
ราชการนี้ขอแสดงความชื่นชม
และยินดีกับทานเปนอยางสูง ที่
ทานมาถึงเสนชัยแหงชีวิตของ
การรับราชการอยางแทจริงดวย
สุขพลานามัยที่สมบูรณ
หลังจากนี้เปนกําไรชีวิตของทาน
ที่จะอยูกับครอบครัวที่อบอุนดวย
ภรรยาที่แสนดี และลูกสาวที่
นารัก ในโอกาสนี้ ขออํานาจ
คุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่ง
ศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก
ชวยดลบันดาลใหทานพี่นิรันดร
และครอบครัวมีสุขภาพที่แข็งแรง
ร่ํารวย สมหวังในสิ่งที่ปรารถนา
ทุกประการดวยเทอญ
ผศ.ดร.กิ่งแกว ปะติตังโข
13 กันยายน 2562
45
“ตั้งแตเริ่มทํางานที่
สาขาวิชาบรรณารักษศาสตรและ
สารสนเทศศาสตร เมื่อ 10 กวาป
ที่แลว อาจารยในสาขาวิชาฯให
การตอนรับเปนอยางดี โดยมี
อาจารยกิ่งแกว เปนหัวหนา
สาขาวิชาในสมัยนั้น สวน
อาจารยนิรันดรเปนอาจารยผูชาย
คนเดียวในสาขาวิชา (ที่หลอที่สุด
ในสาขาวิชาฯ ) และถือไดวาเปน
บิดาแหงการกอตั้งสาขาวิชาฯ ก็
วาได เพราะทานอยูมานาน
ตั้งแตเริ่มเปดสาขาวิชาฯ ซึ่งใน
ตอนที่เจอนั้น
ก็แอบคิดวาอาจารยนาจะเปนคน
ที่ดุ เครงขรึมแนๆ แตพอไดมา
รูจักอาจารยจริงๆ ทานเปนคนที่
ใจดี พูดคุยแบบเปนกันเอง ไมถือ
ตัว คอยสอนและใหคําแนะนําใน
หลายๆเรื่อง ทั้งเรื่องการทํางาน
เรื่องการวางแผนการใชชีวิต คอย
บอก คอยใหคําแนะนํานองๆใน
สาขาฯ อยูตลอด
ผลงานและชื่อเสียงของ
ทานอาจารยนิรันดรนั้น ทาน
เปนคนที่มีชื่อเสียงและคนรูจัก
ทานเยอะมาก ทุกแวดวง ทุก
วงการ ทั้งในแวดวงบรรณารักษ
หรือแวดวงดานอื่นๆ หรือ
แมกระทั่ง เวลาที่ไปนิเทศ หรือ
46
ประชุมอบรมสัมมนาที่ไหนก็
ตามที่เกี่ยวของกับวิชาชีพ
อาจารย ลูกศิษยทุกคนก็จะถาม
ถึงอาจารยนิรันดรทั้งนั้น ถามีคน
ถามวามาจากที่ไหน พอบอกวา
บุรีรัมยทุกคนที่ถามก็จะถามตอ
วา ออ..บุรีรัมยเหรอ ภาควิชา
เดียวกับอาจารยนิรันดรใชไหม
รูจักอาจารยนิรันดรหรือเปลา ทุก
คนก็จะกลาวถึงอาจารยนิรันดร
ดวยกันทั้งนั้น และดวยความที่
อาจารยเปนคนที่เปรียบเสมือน
เปนผูบุกเบิกสาขาฯ เพราะฉะนั้น
ลูกศิษยของอาจารยก็มีหลายคน
เชนกันมีทั้งประสบความสําเร็จใน
วิชาชีพและธุรกิจอื่นๆ
หลากหลายวงการมาก สังเกตได
จากการจัดงานเสวนาวิชาการที่
ผานมา
และเนื่องในวาระที่
ทานอาจารยนิรันดร เกษียณอายุ
ราชการในปนี้ ขอขอบคุณ
อาจารยที่ดูแลและใหการตอนรับ
ตั้งแตเขามาในสาขาวิชาฯเปน
อยางดี ใหความรวมมือและมี
สวนรวมคอยชวยเหลือสาขาฯ
ตลอดมา และก็ขออวยพรให
อาจารยมีสุขภาพรางกายที่
แข็งแรง มีความสุขกับงาน
โครงการตางๆที่อาจารยตั้งใจจะ
ทําหลังเกษียณ ในนาม
สาขาวิชาฯวิชาตองขอบคุณ
อาจารยที่สรางผลงานและ
ชื่อเสียงใหทุกคนไดรูจัก
“สาขาบรรณารักษศาสตรและ
สารสนเทศศาสตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย”
อาจารยศิริวรรณ ยิ่งไดชม
หัวหนาสาขาวิชา
บรรณารักษศาสตรและ
สารสนเทศศาสตร
47
ท่านผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ ดร.นิรันดร์ กุล
ฑานันท์ เป็นอาจารย์ผู้ใหญ่ที
ข้าพเจ้าให้ความเคารพอย่างสุด
หัวใจ ด้วยว่าท่านเพียบพร้อม
ด้วยความเป็นครุฏฐายีบุคคล
คือเจริญด้วยธรรมของความเป็น
ครู ๗ ประการ อันเป็นคําสอน
ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดัง
ปรากฏในพระไตรปิฎก เล่มที
๒๓ ข้อที ๓๔ อังคุตตรนิกาย สัต
ตกนิบาต ว่า....
ปิโย ครุ ภาวนี
โย วตฺตา จ
วจนกฺขโม
คมฺภีร ฺจ กถํ กตฺตา โน
จฏฺฐาเน นิโยชเย
ความว่า
๑. ปิโย
เป็นทีรักด้วยเสียสละ
ทุ่มเทและไม่อคติ เสมอต้นเสมอ
ปลาย
๒. ครุ
เป็นผู้หนักแน่น ไม่
หวันไหวด้วยโลกธรรม
๓. ภาวนีโย
เป็นแบบอย่างทีดี มุ่ง
งามมุ่งเจริญ ควรค่าแก่การยก
ย่องสรรเสริญ
๔. วตฺตา มี
ความกล้าหาญว่ากล่าวตักเตือน
แนะนําในโอกาสอันสมควร
๕. วจนกฺขโม
มีความเป็น
ประชาธิปไตย คือ เปิดใจรับฟัง
ความคิดเห็นอย่างรอบด้าน
อดทน อดกลัน เข้มแข็ง
๖. คมฺภีร ฺจ กถํ กตฺ
ตา มีหลักคิดทีสุขุมลุ่มลึก
เตือนสติและให้กําลังใจใน
ขณะเดียวกัน
48
๗. โน จฏฺฐาเน นิโยช
เย ไม่ชักนําในทางเสือม
เสีย แนะนําในทางเจริญเสมอ
ธรรมเหล่านีเป็น
กัลยาณธรรมของกัลยาณมิตร
ทังหลาย
ข้าพเจ้า เป็นลูกศิษย์
ผู้น้อยทีโชคดีได้มีโอกาสร่วม
ทํางานกับท่านผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ ดร.นิรันดร์ กุล
ฑานันท์ ได้สัมผัสแนวคิดวิธีการ
ทํางานทีงดงาม สุขุม ลุ่มลึกของ
ท่าน นับว่าเป็นบุญวาสนา
บารมี และความภาคภูมิใจ
อย่างยิง จะยึดถือเป็นแนวทาง
ครองตน ครองคน ครองงานให้
เกิดประโยชน์แก่สังคม
ประเทศชาติสืบไป
ในโอกาสอันเป็นมงคล
เจริญอายุครบ ๖๐ ปี และ
เกษียณอายุราชการของท่าน
อาจารย์ ขออํานาจแห่งคุณพระ
ศรีรัตนตรัย และสิงศักดิสิทธิ
ทังหลายได้โปรดอภิบาลปกป้ อง
คุ้มครองให้ท่านอาจารย์มี
สุขภาพแข็งแรง เป็นหลักชัย
หลักใจของลูกศิษย์ทังหลาย
ตลอดไป
อาจารย ดร.สุธีกิติ์ ผอดสูงเนิน
17 กันยายน 2562
49
50
51
52
53
54
ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัครพนท เนื้อไมหอม ประธานกรรมการ
ผูชวยศาสตราจารย ดร.คําภีรภาพ อินทะนู รองประธานกรรมการ
อาจารยพลอยไพลิน ศรีวิเศษ กรรมการ
อาจารยภูริสา วัชเรนทรวงศ กรรมการ
อาจารยธิดารัตน คีมกระโทก กรรมการ
อาจารยสุธิกิติ์ พอดสูงเนิน กรรมการ
อาจารยชมพู อิสริยาวัฒน กรรมการและเลขานุการ
นายมลชัย สุขมาศ กรรมการและผูชวยเลขานุการ
นางสาวจรัลรัตน อุนรัมย กรรมการและผูชวยเลขานุการ
นางสาวอรอุมา หลาพิมพ กรรมการและผูชวยเลขานุการ
นายสุรพงค กันถัด กราฟกและจัดรูปเลม
ภาพประกอบ
55

More Related Content

Similar to หนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯ

Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14karan boobpahom
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพTaweesak Poochai
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5taem
 
โครงงานป.4/2
โครงงานป.4/2โครงงานป.4/2
โครงงานป.4/2xenopatty
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนnok Piyaporn
 
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนpiyapornnok
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี นายจักราวุธ คำทวี
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556oraneehussem
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557Utai Sukviwatsirikul
 
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบKobwit Piriyawat
 
แนะนำมหาวิทยาลัย54
แนะนำมหาวิทยาลัย54แนะนำมหาวิทยาลัย54
แนะนำมหาวิทยาลัย54Tangmo Momo
 

Similar to หนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯ (20)

Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
Rt2554
Rt2554Rt2554
Rt2554
 
Support gen2
Support gen2Support gen2
Support gen2
 
R2554
R2554R2554
R2554
 
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
โครงงานป.4/2
โครงงานป.4/2โครงงานป.4/2
โครงงานป.4/2
 
Aksorn 1
Aksorn 1Aksorn 1
Aksorn 1
 
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
 
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
Sarawit eMagazine 15/2557
Sarawit eMagazine 15/2557Sarawit eMagazine 15/2557
Sarawit eMagazine 15/2557
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
 
แนะนำมหาวิทยาลัย54
แนะนำมหาวิทยาลัย54แนะนำมหาวิทยาลัย54
แนะนำมหาวิทยาลัย54
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 

More from Niran Kultanan

ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxNiran Kultanan
 
หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15
หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15
หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15Niran Kultanan
 
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์Niran Kultanan
 
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดินอาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดินNiran Kultanan
 
อบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยาง
อบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยางอบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยาง
อบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยางNiran Kultanan
 
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญNiran Kultanan
 
วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์
วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์
วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์Niran Kultanan
 
หนังสือบัณฑิต มข.15
หนังสือบัณฑิต มข.15หนังสือบัณฑิต มข.15
หนังสือบัณฑิต มข.15Niran Kultanan
 

More from Niran Kultanan (8)

ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
 
หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15
หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15
หนังสือหนังสือบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 15
 
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
 
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดินอาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
 
อบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยาง
อบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยางอบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยาง
อบรมวิจัย-ผศ.ไพโรจน์-ยาง
 
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
 
วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์
วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์
วิจัยท่องเที่ยว ดร.นิรันดร์
 
หนังสือบัณฑิต มข.15
หนังสือบัณฑิต มข.15หนังสือบัณฑิต มข.15
หนังสือบัณฑิต มข.15
 

หนังสือเกษียณอายุ ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์ ในส่วนคณะมนุษยศาสตร์ฯ

  • 1. 1 บรรณาธิการ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัครพนท เนื้อไมหอม กองบรรณาธิการ ผูชวยศาสตราจารย ดร.คําภีรภาพ อินทะนู อาจารยชมพู อิสริยาวัฒน อาจารยพลอยไพลิน ศรีวิเศษ อาจารย ดร.สุธีกิติ์ พอดสูงเนิน อาจารยภูริสา วัชเรนทรวงศ อาจารยธิดารัตน คีมกระโทก นายมลชัย สุขมาศ นางสาวจรัลรัตน อุนรัมย นางสาวอรอุมา หลาพิมพ กราฟกและจัดรูปเลม นายสุรพงค กันถัด
  • 2. 2
  • 4. 4
  • 5. 5
  • 6. 6
  • 7. 7
  • 8. 8 ประวัติสวนตัว เกิดวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2502 สถานที่เกิด อ.หลมสัก จ.เพชรบูรณ คูสมรส ดร.พัชนี กุลฑานันท คณบดีคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย บุตรธิดา ดญ.ชิดชนก กุลฑานันท ที่อยูปจจุบัน 400 หมู 4 บานตราดตรวน ต.ชุมเห็ด อ.เมือง บุรีรัมย 31000 ประวัติการศึกษา -ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนหลมสักวิทยาคม อ.หลมสัก จ.เพชรบูรณ -ระดับ ป.กศ.ตน (รุน 1) วิทยาลัยครูเพชรบูรณ อ.เมือง จ.เพชรบูรณ
  • 9. 9 -ระดับปริญญาตรี อักษรศาสตรบัณฑิต (บรรณารักษศาสตร) มหาวิทยาลัยขอนแกน -ระดับปริญญาโท การศึกษามหาบัณฑิต (บรรณารักษศาสตร) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร -ระดับปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองการ ปกครอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร -ระดับปริญญาเอก Ph.D. (Social Sciences) Magadh University, India ประวัติการทํางาน พ.ศ. 2525 – 2562 อาจารย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย ประสบการณทํางาน พ.ศ. 2534 – 2537 หัวหนาฝายหอสมุด สถาบันราชภัฏบุรีรัมย พ.ศ. 2545 – 2547 ผูชวยอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย พ.ศ. 2548 – 2551 ผูอํานวยการ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ. 2555 – 2558 รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย
  • 10. 10 ประสบการณทํางานภายนอก - กรรมการ ศูนยประสานงานภาคีพัฒนา จ.บุรีรัมย (2559-2562) - ที่ปรึกษา คณะกรรมการธรรมาภิบาล จ.บุรีรัมย (2560-2562) - คณะกรรมการเขตสุขภาพฯ เขต 9 (นครชัยบุรินทร) (2561-2562) - ศูนยพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบัน พระปกเกลา จ.บุรีรัมย - คณะกรรมการชมรมศิษยเกา มหาวิทยาลัยขอนแกน จ.บุรีรัมย - กรรมการมูลนิธิศิษยเกามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จ.บุรีรัมย - กรรมการมูลนิธิชุมชนอีสาน (ECF) รางวัล / เข็มเชิดชูเกียรติที่ไดรับ - รางวัลแทนคุณแผนดิน ประจําป 2559 โดย เครือเนชั่น - เข็มกิตติคุณสถาบันพระปกเกลา ประจําป 2561 - รางวัลศิษยเกาแหงความภูมิใจ มหาวิทยาลัยขอนแกน ประจําป 2560
  • 11. 11 ประวัติการศึกษาดูงาน - พ.ศ. 2536 รวมเสนอบทความเรื่อง “People movement in E-san” ในการประชุม Thai Study ที่ SOAS, University of London ประเทศอังกฤษ - พ.ศ. 2538 อบรมเกี่ยวกับระบบฐานขอมูล บรรณานุกรมออนไลน ที่ OCLC รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2546 ศึกษาดูงานเกี่ยวกับการดําเนินงาน องคกรภาคประชาสังคม ที่ เมืองแฟรงกเฟรต ประเทศเยอรมัน พ.ศ. 2548-2558 ศึกษาดูงานกับทีมผูบริหาร ที่ ประเทศ จีน เกาหลีใต กัมพูชา และ สปป.ลาว
  • 12. 12
  • 13. 13
  • 14. 14
  • 15. 15
  • 16. 16 ผมเปนคนชอบเสวนากับ อาจารยอาวุโสรุนพี่เกี่ยวกับ ประสบการณการดําเนินชีวิต ซึ่ง หลายเรื่องไมมีสอนในตํารา ในวิถี การทํางานวิจัยและพัฒนา ทํางาน ภาคประชาสังคมมายาวนานทําใหมี โอกาสไดเสวนาประสบการณ หลัก คิด วัตรปฏิบัติของนักวิชาการ ปราชญชาวบาน นักคิด นักพัฒนาที่ มีชื่อหลายคน ซึ่งขอมูลเหลานั้น ไมมีเขียนไวในตํารา ไมมีสอนใน มหาวิทยาลัย บุคคลเหลานี้มี แนวทางดําเนินชีวิตไมตางกัน คือ เนนการสรางสมดุลยชีวิต เรียบงาย ใฝรู ทํางานหนัก อุดมคติมุง สวนรวม เสียสละ ฯลฯ เปนหลาย สิ่งที่อยูรอบตัวเราอยูแลว ผมเคย คุยกับอาจารยลิขิต (ศ.ดร.ลิขิต ธีรเวคิน) อาจารยที่ ปรึกษาผมสมัยเรียนที่ธรรมศาสตร วาทานเรียนรูอยางไร คําตอบคือ นอกจากการคนควาอยางหนักจาก ตําราแลว ยังตองไปเสวนา ถกเถียง กับอาจารย นักวิชาการดังๆดวยถึง จะไดความรู นักวิชาการรุนใหมถา เกงก็ตองไปเรียนรูจากคนรุนกอน มี อาจารยรุนนอง เพื่อนฝูง ลูกศิษย หลายคนถามผมวาเกษียณแลวจะ ทําอะไรตอ ผมก็จะตอบวา ยัง ทํางานกับชุมชน ชาวบาน และภาค ประชาสังคมเหมือนเดิม เพราะ การทํางานเพื่อสังคม ชวยเหลือผู ยากไร ทํางานแบบจิตอาสานั้นทํา ไดตลอดชีวิต เพียงแตเปลี่ยน ลักษณะการทํางานจากการสอน หนังสือนักศึกษา มาทํางานประชุม
  • 17. 17 อบรม กับชาวบาน เปลี่ยน สถานที่ทํางานจากในมหาวิทยาลัย มาเปนศาลาในหมูบาน ในวัด ใน สวนปา ผมเห็นตัวอยางนักวิชาการ หมอ ขาราชการหลายคนที่ เกษียณอายุแลวยังทํางานเพื่อสังคม ตอไป อยาง นพ.ประเวศ วะสี ราษฏรอาวุโส อายุ 87 ปแลว ทาน ยังทํางานพัฒนาชุมชน ทํางานกับ ภาคประชาสังคมตามปกติ ทั้งเปน วิทยากร รวมประชุมสัมมนา จัด เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู ทํางานกับ เครือขายสมัชชาสุขภาพ รวมกับ เครือขายพลเมืองอาสาที่ชวยเหลือ ผูยากไรในชนบท สวน ดร.โคทม อารียา อดีตกกต. อายุ 76 ปแลว ทานยังทํางานชวยองคกรพัฒนา หลายแหงในการทํางานชวยเหลือผู ยากไรในชนบท และทํางานดาน พิทักษ สิทธิม นุษยชนใหกั บ ผูดอยโอกาส จึงไดขอสรุปกับ ตัวเองวาคงเดินตามรอยนักวิชาการ รุนกอน ที่ยังทํางานพัฒนา ทํางาน เพื่อสังคมตอไป งานที่ผมตองสานตอคือ การ สนับสนุนการทํางานของเครือขาย พลเมืองอาสาในแตละอําเภอในการ ลงไปชวยเหลือผูยากไร คนจนที่ เปราะบางในชนบท ทั้งการเก็บ รวบรวมขอมูล การประสานความ ชวยเหลือจากหนวยงาน โดยทํา ในนาม “ศูนยประสานงานภาคี พัฒนา จ.บุรีรัมย (ศปจ.บุรีรัมย)” รวมทั้งการขับเคลื่อนธรรมนูญ สุขภาพชุมชน ใหชุมชนพี่งตนเองได ก็ยังขับเคลื่อนตอไป สวนการเชื่อม ประสานองคกรชุมชนและเครือขาย ที่ตอเนื่องจากโครงการ (SIF) และ การรณรงคประเด็นชุมชนเขมแข็ง ก็ทําในนามกลุม Buriram Forum การลงพื้นที่ไปเยี่ยมศูนยการเรียนรู สวนเกษตร สวนปา กลุมชาวบาน ก็คงจะทํามากขึ้น โดยเฉพาะกลุม ชาวบานที่เคยรับการสนับสนุนจาก SIF
  • 18. 18 งานสงเสริมความเขมแข็งของ ภาคพลเมือง ผมก็ยังขับเคลื่อน ตอไป โดยรวมงานกับ คณะกรรมการศูนยพัฒนาการเมือง ภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกลา จ.บุรีรัมย ในการจัดอบรมเยาวชน และชาวบาน เกี่ยวกับ ประชาธิปไตย สิทธิชุมชน รัฐธรรมนูญ การขับเคลื่อน แนวทางชุมชนเขมแข็ง จังหวัด จัดการตนเอง การฟนฟู สภาพแวดลอมในลุมน้ํามูล ตอนกลาง การสงเสริมเครือขาย เยาวชน เครือขายพระสงฆเพื่อการ พัฒนาเครือขายฝายมีชีวิต เครือขายปาไม-ที่ดิน เพื่อใหการ พัฒนาทองถิ่นในทุกดาน งานที่ประสานกับทาง สาขาวิชาคือการที่ผมรวมกับชมรม ศิษยเกาบรรณารักษศาสตร และ อาจารยในสาขาวิชาทําผาปา การศึกษา ระดมปจจัยมาพัฒนา หองปฏิบัติการของนักศึกษา สาขา บรรณารักษศาสตรและสารสนเทศ ศาสตร ซึ่งจะเปนประโยชนในการ จัดการเรียนการสอนของสาขาวิชา สืบไป งานที่จะประสานกับทาง คณะคือเปนที่ปรึกษาใหกับงาน บริการ วิจัยและพัฒนาชุมชน ของ คณะ และการประสานอาจารย อาวุโสมาใหแนวคิดที่เปนประโยชน แกคณะ งานที่ประสานกับพระสงฆ คือผมรวมกับศิษยเกาและเครือขาย ภาคประชาสังคมจะไปพัฒนาจัดตั้ง หองสมุด ที่ โรงเรียนพระปริยัติ ธรรมแผนกธรรม -บาลี ประจํา อําเภอกระสัง วัดบัวถนน ต.สูงเนิน อ.กระสัง บุรีรัมย เพื่อจัดเก็บหนังสือ สารสนเทศ ที่ เกี่ยวกับธรรมะ ภาษาบาลี พุทธ ศาสนา ประเพณีวัฒนธรรมของ ทองถิ่น การทําการเกษตร เศรษฐกิจพอเพียง ภูมิปญญา ทองถิ่น เปนตน หองสมุดนี้ใชชื่อ วา
  • 19. 19 “หองสมุด ดร.นิรันดร กุลฑานันท” เนนใหบริการพระเณรที่มาเรียน ภาษาบาลีและธรรมะ และบริการ ชาวบานทั่วไป ส่วนงานจัดรายการ วิทยุเผยแพร่ความรู้สู่ชุมชน ทาง สวท.บุรีรัมย์ และวิทยุชุมชนอืนๆ รวมทังสือเผยแพร่ทางโซเชียล มีเดียก็คงดําเนินงานต่อไปเพือ ประโยชน์ของส่วนรวม โดยจะนํา ข้อมูลจากการทํางานในชุมชน หมู่บ้านมาเผยแพร่ออกอากาศให้ สาธารณชนได้ทราบต่อไป คง ต้องอาศัยทีมงานคนรุ่นใหม่ทีเก่ง ไอทีมาแนะนําการใช้สือเผยแพร่ ทางโซเชียลมีเดียทังยูทูป เฟสบุ๊ค ไลน์ ฯลฯ สือดิจิตัลเหล่านีนับวัน จะใช้แพร่หลายมากขึนในหมู่ ประชาชน ทําให้เราต้องศึกษา เรียนรู้ เป็นการศึกษาตลอดชีวิต ครับ งานเขียนหนังสือ งานวิจัย งานวิชาการ งานเขียนต่างๆ ก็จะ ทําต่อ แต่จะเน้นการเขียนเผยแพร่ ทางโซเชียลมีเดีย เช่น เฟสบุ๊ค และบล็อกเกอร์ต่างๆ เพราะทําได้ ง่าย รวดเร็ว ผู้อ่านเข้าถึงได้ง่าย ถ้ามีจํานวนมากพอก็อาจจะนํามา พิมพ์รวมเล่มแจกลูกศิษย์ เครือข่าย และชาวบ้าน เป็นช่วงๆ ถือว่าเป็นการคืนความรู้สู่แผ่นดิน ส่วนด้านการศึกษาและ ปฏิบัติธรรมกับครูบาอาจารย์คง จะทําเข้มข้นขึน เพือเข้าถึง หลักธรรมคําสอนของพุทธะ มี พระอาจารย์ นักคิด ผู้อาวุโส หลายท่านทีผมต้องการไปกราบ ขอความรู้ และแลกเปลียน ความคิดด้วย เป็นการพัฒนา สติปัญญาของเราให้ก้าวหน้ามาก ยิงขึน ก็คงจะมีการเดินทางไป ตามวัดวาอารามกราบไหว้พระ อาจารย์ ไปตามอาศรม สํานัก ศูนย์เรียนรู้ ไปพบกับผู้อาวุโสต่างๆ
  • 20. 20 แล้วก็เอาข้อมูล ความรู้เหล่านัน มาเผยแพร่สู่สาธารณะทาง โซเชียลมีเดีย ทางวิทยุ ซึงงาน เหล่านีทําได้ตลอดชีวิต ผศ.ดร.นิรันดร กุลฑานันท สวนน้ําเพียงดิน 11 กันยายน 2562
  • 21. 21
  • 22. 22
  • 23. 23
  • 24. 24
  • 25. 25
  • 26. 26 ผูชวยศาสตราจารย ดร. นิรันดร กุลฑานันท ทาน เปนคณาจารยสาขาวิชา บรรณารักษศาสตรและ สารสนเทศศาสตร ทานเปน คณาจารยที่เปนรุนพี่ใน สาขาวิชาทานไดคอยดูแล ให คําแนะนําคณาจารยรุนนอง ดวยดีเสมอมา การทํางาน ของทานจนครบเกษียณอายุ ราชการนั้นนับเปนเกียรติ ประวัติของบุคคลที่รับราชการ การสิ้นสุดระยะเวลาปฏิบัติ ราชการถือวาทานไดบรรลุ ภารกิจการปฏิบัติราชการของ ทานแลว ขอรวมแสดงมุทิตาจิต ดวยความชื่นชมยินดีเปนอยางยิ่ง ตลอดระยะเวลาที่ผานมาทานได ปฏิบัติหนาที่ทั้งหนาที่ผูสอนและ งานอื่น ๆ ที่ไดรับมอบหมายดวย ความพากเพียร วิริยะ อุตสาหะ ทานไดสรางประโยชนและเกิด ผลดีตอทางราชการและวงการ บรรณารักษศาสตรและ สารสนเทศศาสตรอยางมากมาย ทานอุตสาหะ มานะอดทน ทุมเท ทั้งกําลังกาย กําลังใจ กําลังสติปญญา ความรู ความสามารถ ในการปฏิบัติ ภารกิจเสริมสรางความเขมแข็ง และสรางคุณูปการใหกับ
  • 27. 27 สาขาวิชา บรรณารักษศาสตรและ สารสนเทศศาสตร และ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมยมา อยางตอเนื่องยาวนานจน เกษียณอายุราชการ ทานได เดินทางมาถึงเสนชัย ซึ่งเต็มไป ดวยเกียรติยศและเกียรติภูมิ อยาง สงางามตลอด อายุราชการของ ทานและเปนเกียรติตอวงศสกุล ในโอกาสนี้ ขอ อาราธนาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ทาน เคารพนับถือ และคุณงามความ ดี ที่ทานไดสั่งสมมา จลดล บันดาลอภิบาลปกปกษรักษา คุมครองใหทานและครอบครัว จงมีแตความสุข ความเจริญ ปราศจากภัยใด ๆ ทั้งทุกขภัย โรคภัยอยางไดมาแผวพาล ขอใหมีสุขภาพพลานามัย สมบูรณแข็งแรง เปนที่รักของ ลูกหลานและญาติมิตรตลอดไป รองศาสตราจารย ดร. ศิราณี จุโฑปะมา รองอธิการบดีฝายบริหารงานบุคคลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 28. 28 “ความยิ่งใหญ คุณธรรมความดี พลังอํานาจ ความกลาหาญ ความเขมแข็ง แข็งแกรง และทรนง” คือคุณ ลักษณของมังกร ตรงกับบุคลิก ของ อ.นิรันดร ซึ่งอาจารยหลาย คนใหฉายาวา “มังกรซอนตัว” ผมไดรูจักทาน ผูชวย ศาสตราจารย ดร.นิรันดร กุล ฑานันท มายาวนานและได ทํางานกับทานมาตลอดไดเรียนรู การทํางานการขับเคลื่อนองคกร หลายหนวยงานที่ทานมีสวนรวม ทั้งภาครัฐและเอกชน ภาคประชา สังคม เห็นความ ยิ่งใหญความกลาหาญและความ เขมแข็งสิ่งที่สําคัญมากกวานั้นคือ คุณธรรมความดีที่ทานมีในการ ทํางานเพื่อชวยเหลือคนยากจน ในชนบท แมแตงานบริหารใน มหาวิทยาลัย สมัยทานเปนรอง อธิการบดีทานก็สนับสนุนให ทีมงาน อาจารยรุนนองไดแสดง ศักยภาพในการทํางานเต็มที่ ทํา ใหทีมงานมีความสุขในการ ทํางานและขับเคลื่อนงานอยาง แข็งแกรงแตเรียบงาย อาจารย หลายคนในมหาวิทยาลัยอาจมอง ไมออก วาอ.นิรันดร มีผลงาน อะไรบาง ถึงไดรับรางวัล ระดับชาติคือ “รางวัลแทนคุณ แผนดิน” ป 2559 ของเครือ เนชั่น รางวัลเดียวกัน กับที่ ครูบาสุทธินันท ปรัชญพฤทธิ์ ปราชญชาวบานไดรับ ดวยบุคลิก ที่ ดร.นิรันดรเปนคนถอมตน
  • 29. 29 พูดนอยฟงมาก ชอบทํางานเพื่อ ชุมชนอยางเงียบๆ ชอบทํางาน แบบปดทองหลังพระ ทานเปน นักวิชาการที่ทํางานชวยเหลือ ชุมชน ชาวบาน และชวยสังคม มายาวนานกวา 30 ป ตั้งแตป พ.ศ. 2525 ที่เริ่มรับราชการที่ วิทยาลัยครูบุรีรัมย มาจนถึง ปจุบันก็ทํางานกับภาคประชา สังคมชวยเหลือชาวบาน ชุมชน ในชนบท ทั้งทํางานวิจัยเพื่อ ทองถิ่น ทํางานพัฒนาแกปญหา ความยากจนในหมูบาน การ ทํางานที่ตอเนื่องยาวนานจนเปน ที่ยอมรับจากสังคมจนไดรับ รางวัลดังกลาว อาจารยบางสวน ในมหาวิทยาลัยไมรูจักทาน ยกเวนเพื่อนอาจารยที่สนิทและ ทํางานชุมชนดวยกัน จน อาจารยบางทานใหฉายาทานวา “มังกรซอนตัว” ผมไดติดตาม ทาน ไดเรียนรูวิธีการทํางาน พัฒนาเครือขายชาวบาน จากทาน บทความนี้เรียบเรียง จากประสบการณของตนที่ รวมงานกับ ดร.นิรันดร และจาก การสัมภาษณทานอีกสวนหนึ่ง อ.นิรันดร บานเกิดอยูที่ อ.หลมสัก จ.เพชรบูรณ คนแถว นั้นเชื้อสายไทลาวเหมือนทาง ภาคอีสาน แตเปนลาวตอนเหนือ ที่มีสําเนียงพูดเหมือนชาวหลวง พระบาง ไชยะบุรี ในสปป.ลาว และชาวเมืองเลย ทางอีสาน เรียนระดับมัธยมตนที่หลมสัก แลวมาเรียนวิทยาลัยครู เพชรบูรณ รุน 1 ในระดับ ป.กศ. ตน กอนที่จะแยกจากเพื่อนมา สอบเอ็นทรานซเขา มหาวิทยาลัยขอนแกน เรียน ปริญญาตรี 4 ป เมื่อจบ การศึกษาในป 2524 ก็มาทํางาน ที่บุรีรัมยตอเนื่องมา 37 ป มีบาน มีครอบครัว มีลูกศิษยและ
  • 30. 30 เครือขายประชาสังคมอยูบุรีรัมย จึงเปนชาวบุรีรัมยโดยปริยาย พ.ศ. 2525 อ.นิรันดร เริ่มรับราชการที่วิทยาลัยครู บุรีรัมย ทานก็สอนนักศึกษาทั้ง ระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี ในสาขาบรรณารักษศาสตร และ สาขาอื่นๆเชน พัฒนาชุมชน สังคมศึกษา รัฐประศาสนศาสตร ประถมศึกษา (ครุทายาท) โดยเฉพาะในรุนเกาๆที่จบไป ทํางานแลวนับสิบปจะรูจักกันดี และยังติดตอทานเสมอ รวมทั้ง ทานเคยเปนที่ปรึกษาใหกับ คณะกรรมการองคการนักศึกษา สมัยแรกๆติดตอกันหลายสมัยจึง รูจักกับอดีตนักกิจกรรมของ มหาวิทยาลัยหลายรุน และการ ที่ทานมีบุคลิกเปนคนกันเอง มี รูปแบบการสอนแบบ ประชาธิปไตย รับฟงความคิดเห็น ของนักศึกษา เนนใหนักศึกษามี สวนรวมในการเรียนการสอน ฝกใหกลาพูด กลาแสดงออก และเนนใหนักศึกษาไป คนควาและมานําเสนอในชั้น เนนการใหนักศึกษาไปคนควา อานหนังสือ คนจากอินเตอรเน็ต แลวมานําเสนอแลกเปลี่ยนกับ เพื่อนๆ ทานเปนครูใจดี เปน กันเองกับนักศึกษาทําให นักศึกษา มีความเคารพรักทาน มาก ตลอดระยะเวลา 37 ป (พ.ศ.2525-2562) ของการเปน อาจารยในมหาวิทยาลัยทานชอบ งานสอน แมในชวงที่ดํารง ตําแหนงเปนผูบริหาร มหาวิทยาลัยก็ยังมีชั่วโมงสอน ไดนําประสบการณ ความรูใหมๆ มาสอนนักศึกษา ลักษณะการ สอนของอาจารยจะยึดนักศึกษา เปนศูนยกลาง อาจารยจะเปน เหมือนโคช เทรนเนอร ที่คอย ชี้แนะใหนักศึกษาแสวงหาความรู
  • 31. 31 จากแหลงตางๆ แลวนําความรู มาบอกเลารายงานใหเพื่อนๆฟง นักศึกษาจึงเรียนรูการใช เทคโนโลยีตางๆในการเรียนการ นําเสนองาน เชน โปรแกรม Powerpoint โนตบุค โปรเจคเตอร ยูทูป โซเชี่ยลมีเดีย อื่นๆ ในขณะสอนจะแทรกอุดม คติที่ดีงาม เชน ความเสียสละ ความซื่อสัตย อดทน ความ เอื้อเฟอตอผูอื่น การทํางานหนัก การทํางานเพื่อสวนรวม การ ประหยัด พอเพียง เขาใจปญหา สังคม เปนตน เพราะมองวา คุณสมบัติเหลานี้จะทําให นักศึกษาจบไปทํางานแลวจะเปน ที่พึงพอใจของผูบังคับบัญชา จะ เจริญกาวหนาในการทํางาน ศิษยเกาหลายคนที่ประสบ ความสําเร็จ เมื่อจบไปทํางาน 5- 10 ป ถึงจะเขาใจเปาหมายการ สอนของอาจารย อ.นิรันดร ชอบงาน กิจกรรมนักศึกษา และงานคาย อาสาพัฒนาของนักศึกษา เพราะในสมัยที่ทานเปนนักศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน ทานก็เปน นักกิจกรรมทํางานคาย งาน ชมรม งานสโมสรคณะ และงาน องคการนักศึกษา (โดยทานเปน นายกองคการนักศึกษา มข. ตอน เรียนชั้นปที่ 4) ทานจึงสงเสริม ใหนักศึกษามีจิตสํานึกรับใช ประชาชน และชอบพานักศึกษา ศึกษาธรรมชาติ สภาพแวดลอม โดยเคยพานักศึกษาไปเดินปาที่ อุทยานแหงชาติเขาใหญ ภู กระดึง ภูหินรองกลา และเขตปา สงวนดงใหญ อ.ปะคํา บุรีรัมย โดยเฉพาะการรวมรณรงค อนุรักษปาดงใหญกับหลวงพอ ประจักษ คุตตะจิตโต พระนัก อนุรักษปาดงใหญในชวงป 2532- 2533 ศิษยเกาหลายคนยังจําไดดี
  • 32. 32 เพราะหลวงพอประจักษเปนผูนํา นักศึกษาเดินสํารวจปาดวย ตนเอง นอกจากนี้ยังพา นักศึกษาออกคายพัฒนา หองสมุด สอนหนังสือเด็ก อาจารยจะสอนใหนักศึกษาใช ชีวิตอยางพอเพียง ไมฟุงเฟอ ซื่อสัตย เสียสละเพื่อสวนรวม อดทนในการทํางาน หนักเอาเบา สู ใจกวางรับฟงความคิดเห็น ของผูอื่น ศิษยหลายคนนําคํา สอนมาปฏิบัติจนกาวหนาใน หนาที่การงานเปนผูบริหารทั้ง เปนศึกษาธิการจังหวัด ผูอํานวยการโรงเรียน ผูอํานวยการ กศน. ครูอาจารย บรรณารักษ นักพัฒนา นักธุรกิจ ฯลฯ ในชวงป 2528-2530 อ.นิรันดร ไปศึกษาตอระดับ ปริญญาโทที่กรุงเทพฯ ทานรัก การเรียน ไดสมัครเรียนปริญญา โท 2 มหาวิทยาลัยพรอมกัน คือ สาขาบรรณารักษศาสตร เรียนที่ มศว.ประสานมิตร และสาขา การเมืองการปกครอง เรียนที่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (ในชวงเย็นหรือค่ํา) ดวยความ ขยัน อดทน ทําใหทานสําเร็จ การศึกษาทั้งสองสาขา ในชวง ที่ศึกษาที่กรุงเทพฯ ทานชอบไป ศึกษาการทํางาน และชวยงาน องคกรพัฒนาภาคเอกชน เชน มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม (มอส.) มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก (มพด.) สมาคมสิทธิเสรีภาพของ ประชาชน (สสส.) เปนตน และ ลงไปศึกษาวิถีชาวบาน คนจน เมืองในยานสลัมหลายแหง ในชวงนี้ทานไดศึกษาแนวคิดของ ดร.ปรีดี พนมยงค และ ดร.ปวย อึ๊งภากรณ ที่เกี่ยวกับการจัด
  • 33. 33 สวัสดิการเพื่อคนจน รัฐสวัสดิการ ประชาธิปไตย และการพัฒนา ชุมชน เมื่อกลับไปทํางานทานก็ นําแนวคิดนี้ไปใชในการทํางาน กับภาคประชาสังคม และองคกร ชาวบานในภาคอีสาน เมื่อมา ทํางาน อ.นิรันดร เริ่มพัฒนา หองสมุดของมหาวิทยาลัย ไดนํา นักศึกษาสาขาวิชาบรรณารักษ พัฒนาทั้งภายนอกภายใน หองสมุดจนไดมาตรฐานของการ เปนหองสมุดสถาบันอุดมศึกษา สมัยกอนทานพานักศีกษา สาขาวิชาบรรณารักษพัฒนา หองสมุดจนดึกดื่น นักศึกษา หลายรุนเคยขนยาย จัดชั้น หนังสือ ทั้งกลางวันและกลางคืน และทําอาหารทานรวมกัน ศิษย เกาหลายคนจดจําบรรยากาศ เหลานั้นไดดี หลายคนนํา ประสบการณเหลานั้นมา ประยุกตใชในการทํางานของ ตนเองจนประสบความสําเร็จ เมื่อมาเปนหัวหนาฝายหองสมุด ทานพัฒนาใหมีหองคนควาสวน บุคคล บริการโสตทัศนศึกษา บริการฐานขอมูล มุมคนควาขอ สารสนเทศทองถิ่น มุมขอมูล จังหวัดบุรีรัมย มุมหนังสือของคํา พูน บุญทวี นักเขียนซีไรท (ที่ มอบใหตอนมาบรรยายที่บุรีรัมย) และเปนผูไปรวมวางแผนขอ งบประมาณสรางอาคารหองสมุด หลังใหม (อาคาร 6 ชั้น) จน หองสมุดไดยายจากอาคารเกามา อยูอาคารใหม 6 ชั้น ดานศาสนาทานศึกษา ธรรมะของพระอาจารย หลาย สํานัก โดยเฉพาะพระอาจารยที่ เนน การสอนใหคิดเปนเหตุเปน ผล ใหมีสติ อาทิ หลวงพอชา
  • 34. 34 สุภัทโท หลวงพอพุทธทาส หลวงปูสุวัจน สุวโจ (วัดปาเขา นอย บุรีรัมย) หลงพอสมภพ โชติปญโญ พระอาจารยไพศาล วิ สาโล และหลวงพอสุวรรณ นาคสุ วัณโณ (วัดพนมดินสุวรรณาราม ต.สูงเนิน อ.กระสัง จังหวัด บุรีรัมย) สมัยที่ อ.นิรันดร บวช เปนพระไดธุดงคไปปฏิบัติธรรม กับพระวัดปาที่เพชรบูรณ ขอนแกนและสุรินทร ทานอาน หนังสือธรรมะ ฟงเทป ชมจากยู ทูป ในหลักธรรมที่พระอาจารย เหลานี้บรรยาย และนํามาปฏิบัติ ใชในการทํางาน และได แลกเปลี่ยนกับอาจารยที่สนใจ ธรรมะอยูเสมอ ดานวัตร ปฏิบัติทานไดใสบาตรพระยาม เชาทุกวัน ที่หนาบานพักที่บาน ตราดตรวน ต.ชุมเห็ด บุรีรัมย เปนพระจากวัดปารุงอรุณ ใกลๆ หมูบาน และรวมงานบุญของวัด อยูอยางสม่ําเสมอ ในชวงป 2539-2540 ดร.นิรันดร นํานักศึกษาและภาค ประชาสังคมรวมรณรงค สนับสนุนรัฐธรรมนูญฉบับ ประชาชน 2540 จนผานการ พิจารณาของรัฐสภา จนนําไปสู การเลือกตั้งทั่วไปและเปนยุคที่ ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพมาก สิทธิชุมชนไดรับการยอมรับมาก การทํางานกับ องคกร ชาวบานจึงเปนไปอยางคึกคักใน ยุคนั้น ในยุคนั้นเปนชวงที่กลุม นพ.ประเวศ วะสี กําลังรณรงค เสริมสรางความเขมแข็งใหภาค ประชาสังคม (Civil Society) มี การกอตัวตั้งประชาคมขึ้นใน จังหวัดตางๆ ดร.นิรันดร รวมกับเครือขายตางๆในบุรีรัมย
  • 35. 35 ไดจัดตั้งประชาคมบุรีรัมยหรือ ประชาสังคมบุรีรัมย โดยใชชื่อ ภาษาอังกฤษวา “Buriram Forum” ซึ่งในจังหวัดอื่นก็ใช ชื่อคลายๆกัน เชน Korat Forum, Khonkaen Forum เปนตน และไดทํางานภาค ประชาสังคมกับเครือขายพหุภาคี ทั้ง ครู อาจารย ขาราชการ ทนายความ สื่อมวลชน พระสงฆ ผูนําชาวบาน เอ็นจีโอ ในจังหวัด บุรีรัมย ในการพัฒนาทองถิ่นมา จนถึงปจจุบัน ในป 2541-2542 ดร.นิรันดร เขารวมเปน คณะกรรมการกองทุนชุมชน (SIF) จังหวัดบุรีรัมย โดยทาง ธนาคารโลกไดสนับสนุน งบประมาณผานรัฐบาล ผาน คณะกรรมการกองทุนชุมชน จังหวัด ลงสูชุมชนระดับกลุม อาชีพของชาวบาน เพื่อทํา กิจกรรมสงเสริมอาชีพ อบรม ตางๆ ใหทุนหมุนเวียน กอสราง อาคารศูนยเด็ก ศูนยอบรม ชาวบาน โรงสีชุมชน ดวยการ เปนผูมีวิสัยทัศนดร.นิรันดร ใน ฐานะประธานคณะกรรมการ กองทุน ไดกระจายงบประมาณ ลงชวยเหลือชุมชน ชาวบาน ครอบคลุมทุกอําเภอทั่วจังหวัด ผลักดัน งบประมาณกอสราง อาคารใหศูนยปราชญชาวบาน หลายคน รวมทั้งพิพิธภัณฑ พื้นบานของสหายในเขตงาน อีสานใต ที่อนุสรณสถาน ประชาชน อีสานใต วัดโคกเขา ต.โคกมะมวง อ.ปะคํา บุรีรัมย และศูนยพัฒนาเด็กเล็กในวัด หลายแหง เนื่องจากโครงการ SIF มีพี้นที่กิจกรรมพัฒนา
  • 36. 36 ครอบคลุมทุกอําเภอ ทุกตําบลใน จังหวัดบุรีรัมย ภายหลังสิ้นสุด โครงการป 2542 ทาง ดร.นิรันดรและทีมงานไดจัดตั้ง ประชาสังคมบุรีรัมยหรือกลุม Buriram Forum เพื่อติดตาม ให การสนับสนุนกลุมชาวบานที่ ไดรับการสงเสริมจากโครงการ SIF มาอยางตอเนื่องจนถึงปจุจ บัน ทําใหชุมชนเกิดการทักถอ เครือขายมีความเขมแข็ง และ อาจารยเปนนักวิชาการที่อยูในใจ ชาวบานมาตั้งแตนั้น เมื่อชวงป พ.ศ. 2544- 2546 ดร.นิรันดร ไดรับการ ประสานจากสํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) ใหเปน ผอ. สํานักงานประสานงานวิจัย เพื่อทองถิ่นอีสานใต ของ สกว. ทําหนาที่สงเสริมให ชาวบาน ครู นักวิชาการในทองถิ่น ในพี้นที่ 8 จังหวัดอีสานใต ไดทําวิจัยเพื่อ ทองถิ่น ไดแก ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ อุบล อํานาจเจริญ ยโสธร และมุกดาหาร โดยมี นักวิจัยพี่เลี้ยงในทุกจังหวัดลง สงเสริม ติดตามนิเทศ โครงการวิจัยซึ่งมีโครงการวิจัย กระจายอยูใน 8 จังหวัด รวมแลว ไปต่ํากวา 50 โครงการ สงผลให เกิดกระแสการศึกษา วิจัยโดย ชาวบาน ครู นักวิชาการทองถิ่น พระสงฆ ปราชญชาวบาน และ NGOs เกิดการประสานความ รวมมือในการพัฒนาศักยภาพ ชุมชนในภาคอีสานใตอยาง เขมแข็ง ชวงป 2545-2547 ดร.นิรันดร เริ่มเขาทํางานใน ตําแหนงผูบริหารของ มหาวิทยาลัย ในตําแหนง ผูชวย
  • 37. 37 อธิการบดีฝายเทคโนโลยีและ สารสนเทศ ดูแลศูนย คอมพิวเตอรและพัฒนาระบบ สารสนเทศของมหาวิทยาลัย ได รวมกับคณาจารยสาขาวิทยาการ คอมพิวเตอร กับสาขาเทคโนโลยี สารสนเทศ วางเครือขาย อินเตอรเนตใหครอบคลุมอาคาร เรียน อาคารสํานักงานให มหาวิทยาลัย และริเริ่มตั้งเสาสง สัญญาณไวไฟตามหอพัก นักศึกษา บริเวณลานนั่งพักผอน ของนักศึกษา และไดจัดหา เครื่อง Server แมขายใหม สําหรับศูนยคอมพิวเตอรยี่หอ Cisco ทําใหการใหบริการสะดวก รวดเร็วมากขึ้น ชวงป 2548-2551 ดร.นิรันดร เปนผูอํานวยการ สถาบันวิจัยและพัฒนา (สวพ.) เปนชวงที่คณาจารยยังทําวิจัยกัน นอย อาจารยรุนใหมยังมี ประสบการณทําวิจัยนอย อ.นิรันดร มีเปาหมาย จะพัฒนาอาจารยรุนใหมใหเกง ดานวิจัยและดานบริหาร จึงดึง อาจารยรุนใหมไฟแรงมาเปนรอง ผูอํานวยการหลายคน และสงให ไปประชุม สัมมนา อบรม ทําวิจัย กับ สกว. วช. หรือหนวยวิจัย อื่นๆ จนหลายคนประสบ ความสําเร็จ เชน ดร.เชาวลิต สิมสวย (ปจจุบันเปน ผอ.สวพ.) รศ.ดร.ปรีชา ปาโนรัมย (ปจจุบัน เปนคณบดีคณะวิทยาการจัดการ) อ.สนิท พาราษฏร (อดีตรอง ผอ. สวพ.) อ.ณัฐพล แสนคํา (ปจจุบัน รองผอ.สํานักวิทยบริการฯ) ผศ.ดร.สมหมาย ปะติตังโข (นักวิจัยดีเดน ) อ.อัจฉรา หลาว
  • 38. 38 ทอง (นักวิจัยและวิทยากรของ สมาพันธเอสเอ็มอี จ.บุรีรัมย)เปน ตน และการใชนโยบายกระจาย ทุนวิจัยขนาดเล็กๆ ใหอาจารยรุน ใหมไดทดลองทําวิจัย ริเริ่มทํา วารสารวิจัยและพัฒนา เผยแพร บทความ งานวิจัย จัดงาน แสดงผลงานวิจัยเพื่อทองถิ่นทุกป มีชาวบาน พระสงฆ ตัวแทน ชุมชน มาชมผลงานวิจัย มาฟง การเสนองานวิจัย ชวงป 2553-2555 อ.นิรันดร ไดเขาศึกษา ระดับปริญญาเอก แบบทําวิจัย ที่ Magadh University อินเดีย โดยทําวิจัยเกี่ยวกับ การวาง นโยบายและแผนของรัฐไทยใน การปฏิรูประบบราชการและ ระบบธุรกิจ ในชวงที่ทําวิจัยและ เดินทางไปอินเดีย ไดมีโอกาส แลกเปลี่ยนเรียนรูกับนักวิชาการ นักคิด นักปรัชญาหลายคน และ ทานไดศึกษาแนวคิดของ มหาตมะ คานธี และดร. เอ็ม เบดการ (Dr. Ambedkar) บิดา แหงรัฐธรรมนูญอินเดีย โดยทาน สนใจศึกษาแนวคิด ดร.เอ็ม เบด การ อยางลึกซึ้ง ดร.เอ็มเบด การ เปนผูเสียสละทํางานใหคน ยากคนจนในชนบท และตอสู เพื่อความเทาเทียมใหกับคน วรรณะจัณฑาลในอินเดีย ทาน ทํางานพัฒนาชุมชนในชนบท อินเดียตลอดอายุขัย และทานยัง นับถือศาสนาพุทธ ทานนํา ประชาชนนับแสนเขามานับถือ พุทธศาสนา ในแทบทุกเมือง ทุก หมูบานในชนบทที่ยากจนที่ อินเดียจะมีรูปปน ดร.เอ็ม เบดการ ตั้งอยู แสดงถึง แรงศรัทธาของชาวบานที่มีตอ
  • 39. 39 ทาน ดร.นิรันดร ไดนําแนวคิด ของ ดร.เอ็ม เบดการ มา ประยุกตใชในการทํางาน ชวยเหลือคนยากจนผานการ ทํางานของ ศปจ.บุรีรัมยและกลุม Buriram Forum โดยการ สํารวจขอมูลคนจนที่เปราะบาง ในชนบทเชน คนแก คนพิการ ผูปวยติดเตียง เด็กยากจน บุคคล ไรสัญชาติ เปนตนและใหการ ชวยเหลือเบื้องตน เปนงานที่ทํา ผานศูนยพลเมืองอาสาระดับ อําเภอทุกอําเภอ ครอบคลุมทั้ง จังหวัดบุรีรัมย ชวงป 2555-2558 ดร.นิรันดร เปนรองอธิการบดี ฝายกิจการนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัย ทานไดดึงอาจารย รุนใหมๆเขามารวมงาน ไดสอน ใหคําแนะนําเทคนิคการทํางาน การบริหารงาน ฝกวิทยายุทธการ เดินเกมบริหารใหรุนนองที่มา รวมงานจนหลายคนเปนผูบริหาร ระดับตน เชน ผมเอง(อ.ชมพู) ปจจุบันเปนรองคณบดี อ.ธงชัย สีโสภณ เปนรองหัวหนา ฝายยานพาหนะ เปนตน เนื่องจากในอดีต รองฯนิรันดร เคยทํากิจกรรมสมัยเรียน มหาวิทยาลัยขอนแกน เคยเปน นายกองคการนักศึกษา จึงมี ประสบการณในการทํากิจการ นักศึกษามาเปนอยางดี ได มอบหมายใหผมและอ.ธงชัย ไป เปนที่ปรึกษาองคการนักศึกษา และชมรมตางๆ จนสนิทสนมเปน ทีมงานเดียวกัน เมื่อทํากิจกรรม ใดก็ใหผูนํานักศึกษามีสวนรวมทุก ระดับ ทั้งกิจกรรมภายในและ ภายนอกมหาวิทยาลัย การ ขับเคลื่อนงานกิจการนักศึกษาจีง เจริญรุดหนา มีประสิทธิภาพ
  • 40. 40 งานกิจกรรมภายนอกได สนับสนุนใหนักศึกษาไปออกคาย อาสาพัฒนาในชนบทหางไกล และไปรวมรณรงคประเด็นทาง สังคมตางๆ ไปศึกษาการทํางาน ขององคกรชาวบาน ปราชญ ชาวบาน และองคกรพัฒนา เอกชน งานภายในก็สนับสนุน กิจกรรมแขงกีฬา การเชียร ไหว ครู ปฐมนิเทศนักศีกษาใหม งานทางศาสนาก็จัดงานเทศน มหาชาติ เปนตน ผลจากการ พัฒนาผูนํานักศึกษายุคนั้น มีผูนํา นักศึกษาสวนหนึ่งเมื่อเรียนจบ แลว ก็กลับมาบรรจุเปนเจาหนาที่ งานกิจการนักศึกษาทั้งสวนกลาง และของคณะ สไตลการ บริหารของรองฯนิรันดร คือ นอกจากการดําเนินงานในหนาที่ รับผิดชอบใหลุลวงแลวยังเนน พัฒนาทีมงานใหเปนผูบริหาร ผูนํารุนใหมของมหาวิทยาลัย ใน ตอนแรกลูกนองอาจจะมองไม เห็น แตเมื่อเวลาผานไปหลายป มองยอนกลับไปจะเริ่มเขาใจ ชวงป 2559-2562 หลังจากหมดวาระผูบริหารแลว ดร.นิรันดร มาสอนนักศึกษา ตามปกติและใหเวลากับการไปลง พื้นที่ ทํางานกับชุมชนเปนหลัก เพราะทานบอกนองๆวาชวงใกล เกษียณอายุจะไปทุมเทกับการ ทํางานภายนอกมหาวิทยาลัย ทํางานกับชุมชน ภาคประชา สังคม โดยเนนทํางานของ ศูนยประสานงานภาคีพัฒนา จ.บุรีรัมย (ศปจ.บุรีรัมย) ศูนย พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกลา จ.บุรีรัมย และ กลุม Buriram Forum (เครือขายประชาสังคมบุรีรัมย) นอกจากนี้ยังไปจัดรายการวิทยุ
  • 41. 41 ทันโลกทันเหตุการณ ทาง สวท. บุรีรัมย (FM 101.75 MHz.) ทุก วันพฤหัสบดี เพื่อเผยแพร ขาวสาร ความรู สูประชาชน ทั่วไป เปนรายการที่จัดตอเนื่อง ยาวนานกวา 20 กวาป ดร.นิรันดร ไดรับรางวัล ใหญระดับชาติคือ รางวัลแทน คุณแผนดิน ป 2559 ของเครือ เนชั่น ที่จัดที่ ศูนยประชุม แหงชาติสิริกิติ์ จัดโดย นสพ. คมชัดลึก และทีวีเนชั่น 22 โดย จะคัดเลือก ปราชญชาวบาน ภูมิ ปญญาทองถิ่น ปญญาชน ผูนํา ที่ทํางานพัฒนาชุมชนทองถิ่นมา ยาวนาน จังหวัดละหนึ่งคนเพื่อ เขารับรางวัลจากองคมนตรี ใน จังหวัดบุรีรัมยผูที่เคยรับรางวัลนี้ คือครูบาสุทธินันท ปรัชญพฤทธิ์ ปราชญชาวบาน แหงมหาชีวาลัย อีสาน ต.สนามชัย อ.สตึก ดานการสงเสริมการ เรียนการสอนนักศึกษาภายใน มหาวิทยาลัย ดร.นิรันดร รวมกับศิษยเกาไดจัดทําผาปา การศึกษาระดมทุน พัฒนา หองปฏิบัติการของนักศึกษา สาขาบรรณารักษศาสตร ใชชื่อ “หองปฏิบัติการ ผศ.ดร.นิรันดร กุลฑานันท” เพื่อเปนหองที่ นักศึกษาใชฝกปฏิบัติงานหลาย ดานที่เกี่ยวกับหองสมุด เชน งาน คอมพิวเตอร งานฐานขอมูล งาน สืบคนสารสนเทศ งานซอม หนังสือ เปนตน เมื่อสําเร็จ การศึกษา นักศึกษาจะมีทักษะใน งานดานตางๆ อันจะเปน ทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพของ หนวยงาน โดยไดทําการ ทอดผาปารุนแรก ในวันที่ 24 สิงหาคม 2562 ซึ่งเปนวันที่จัด
  • 42. 42 เสวนาทางวิชาการเนื่องในโอกาส เกษียณอายุของ รองฯนิรันดร ดานการชวยเหลือ สังคมภายนอก ดร.นิรันดร รวมกับลูกศิษย และเครือขาย ประชาสังคม กําลังทําบุญผาปา การศึกษา เพื่อพัฒนาหองสมุดให รร.พระปริยัติธรรม บาลี วัดบัว ถนน ต.สูงเนิน อ.กระสัง บุรีรัมย เพื่อเปนแหลงเรียนรูของชาวบาน และพระ เณรจากครอบครัว ยากจนที่มาเรียน ภาษาบาลี ได ศึกษาคนควา อาจารยไดนํา นักศึกษา สาขาวิชา บรรณารักษศาสตรและ สารสนเทศศาสตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏบุรีรัมย มาพัฒนา หองสมุดที่วัดบัวถนนดวย โดย ตั้งชื่อวา “หองสมุด ดร.นิรันดร กุลฑานันท” โดย การพัฒนาหองสมุดจะใช ระยะเวลา 3 ป แบบคอยเปน คอยไป เพราะตองใชเวลาใหการ เก็บรวบรวมหนังสือ สารสนเทศที่ เกี่ยวกับพุทธศาสนาและอื่นๆ ทั้งหมดที่กลาวมานี้คือ เสนทางชีวิต ดร.นิรันดร ครูที่ เปนที่เคารพรักของลูกศิษย นักวิชาการรุนพี่ที่นองอาจารย รุนหลังจะยึดเปนตนแบบ นักวิชาการที่เปนที่รักของ ชาวบาน ของเครือขายประชา สังคม พวกเราจะยึดหลัก คุณธรรม แนวคิด คุณความดีที่ ทานทําไวเพื่อสืบสานตอไป ชมพู อิสริยาวัฒน 9 มิถุนายน
  • 43. 43 เมื่อกลาวถึงวาระ เกษียณอายุราชการของ ผศ.ดร.นิรันดร กุลฑานันท ใน ฐานะนองที่รวมงานขอเปน ตัวแทนนองๆเขียนความในใจถึง ทานพอสังเขป ในสาขาวิชา บ ร ร ณ า รั ก ษ ศ า ส ต ร แ ล ะ สารสนเทศศาสตร จะเรียกทาน “พี่นิรันดร” แมทานจะมีชื่อเลน วา “พี่ปู” “พี่ปู” ก็ตาม ในการ ทํางานรวมกับทานในความทรง จําคือ ทานเปนบุคคลที่นาเคารพ นารักในการทํางานรวมกับผูอื่น ทานทํางานดวยความวิริยะ ตรงไปตรงมา ทานไมเคยวากลาว หรือดุอะไรนอง ๆ ในสาขาวิชา เลย ตลอดระยะที่ดิฉันทํางาน รวมกับทานมาเปนเวลา 23 ป พี่นิรันดรเปนพี่ชายที่นา เคารพ นารักและเปนที่เกรงใจ ของเพื่อนรวมงานและนองๆ ตลอด โดยเฉพาะตัวดิฉันเอง เคารพและศรัทธาในตัวพี่นิรันดร มาตลอด ในเรื่องการทํางาน รวมกับทานทานจะใหความ รวมมือความชวยเหลือในการ ทํางานตลอด ไมเคยหลีกหนีไมวา งานจะยากหรืองาย ทาน ชวยเหลือตลอดไมเคยบนและไม เคยเห็นทานโกรธใคร ทานจะใช คําพูดวา “อยาไปหัวซา” เราฟง แลวก็เบาใจในเรื่องนั้น ๆ ทาน เปนพี่ที่มีความเมตตาและกรุณา ตอนองอยางสูง การทํางานกับ ลูกนองทานก็เอื้ออาทรใหโอกาส
  • 44. 44 เจาหนาที่ทุกคนในการทํางาน ใครทําผิดพลาดทานก็จะให แนวคิดและเตือนสติ จะไมดุหรือ วาใครใหเจ็บช้ําน้ําใจ ในดานการ สอนลูกศิษย ทานก็สอนเด็กดวย ความเมตตาใหความรูและ แนวคิดตาง ๆ เนื่องจากทานมี ประสบการณสูงในหลาย ๆ ดาน ในโอกาสที่ทานจะเกษียณอายุ ราชการนี้ขอแสดงความชื่นชม และยินดีกับทานเปนอยางสูง ที่ ทานมาถึงเสนชัยแหงชีวิตของ การรับราชการอยางแทจริงดวย สุขพลานามัยที่สมบูรณ หลังจากนี้เปนกําไรชีวิตของทาน ที่จะอยูกับครอบครัวที่อบอุนดวย ภรรยาที่แสนดี และลูกสาวที่ นารัก ในโอกาสนี้ ขออํานาจ คุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก ชวยดลบันดาลใหทานพี่นิรันดร และครอบครัวมีสุขภาพที่แข็งแรง ร่ํารวย สมหวังในสิ่งที่ปรารถนา ทุกประการดวยเทอญ ผศ.ดร.กิ่งแกว ปะติตังโข 13 กันยายน 2562
  • 45. 45 “ตั้งแตเริ่มทํางานที่ สาขาวิชาบรรณารักษศาสตรและ สารสนเทศศาสตร เมื่อ 10 กวาป ที่แลว อาจารยในสาขาวิชาฯให การตอนรับเปนอยางดี โดยมี อาจารยกิ่งแกว เปนหัวหนา สาขาวิชาในสมัยนั้น สวน อาจารยนิรันดรเปนอาจารยผูชาย คนเดียวในสาขาวิชา (ที่หลอที่สุด ในสาขาวิชาฯ ) และถือไดวาเปน บิดาแหงการกอตั้งสาขาวิชาฯ ก็ วาได เพราะทานอยูมานาน ตั้งแตเริ่มเปดสาขาวิชาฯ ซึ่งใน ตอนที่เจอนั้น ก็แอบคิดวาอาจารยนาจะเปนคน ที่ดุ เครงขรึมแนๆ แตพอไดมา รูจักอาจารยจริงๆ ทานเปนคนที่ ใจดี พูดคุยแบบเปนกันเอง ไมถือ ตัว คอยสอนและใหคําแนะนําใน หลายๆเรื่อง ทั้งเรื่องการทํางาน เรื่องการวางแผนการใชชีวิต คอย บอก คอยใหคําแนะนํานองๆใน สาขาฯ อยูตลอด ผลงานและชื่อเสียงของ ทานอาจารยนิรันดรนั้น ทาน เปนคนที่มีชื่อเสียงและคนรูจัก ทานเยอะมาก ทุกแวดวง ทุก วงการ ทั้งในแวดวงบรรณารักษ หรือแวดวงดานอื่นๆ หรือ แมกระทั่ง เวลาที่ไปนิเทศ หรือ
  • 46. 46 ประชุมอบรมสัมมนาที่ไหนก็ ตามที่เกี่ยวของกับวิชาชีพ อาจารย ลูกศิษยทุกคนก็จะถาม ถึงอาจารยนิรันดรทั้งนั้น ถามีคน ถามวามาจากที่ไหน พอบอกวา บุรีรัมยทุกคนที่ถามก็จะถามตอ วา ออ..บุรีรัมยเหรอ ภาควิชา เดียวกับอาจารยนิรันดรใชไหม รูจักอาจารยนิรันดรหรือเปลา ทุก คนก็จะกลาวถึงอาจารยนิรันดร ดวยกันทั้งนั้น และดวยความที่ อาจารยเปนคนที่เปรียบเสมือน เปนผูบุกเบิกสาขาฯ เพราะฉะนั้น ลูกศิษยของอาจารยก็มีหลายคน เชนกันมีทั้งประสบความสําเร็จใน วิชาชีพและธุรกิจอื่นๆ หลากหลายวงการมาก สังเกตได จากการจัดงานเสวนาวิชาการที่ ผานมา และเนื่องในวาระที่ ทานอาจารยนิรันดร เกษียณอายุ ราชการในปนี้ ขอขอบคุณ อาจารยที่ดูแลและใหการตอนรับ ตั้งแตเขามาในสาขาวิชาฯเปน อยางดี ใหความรวมมือและมี สวนรวมคอยชวยเหลือสาขาฯ ตลอดมา และก็ขออวยพรให อาจารยมีสุขภาพรางกายที่ แข็งแรง มีความสุขกับงาน โครงการตางๆที่อาจารยตั้งใจจะ ทําหลังเกษียณ ในนาม สาขาวิชาฯวิชาตองขอบคุณ อาจารยที่สรางผลงานและ ชื่อเสียงใหทุกคนไดรูจัก “สาขาบรรณารักษศาสตรและ สารสนเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย” อาจารยศิริวรรณ ยิ่งไดชม หัวหนาสาขาวิชา บรรณารักษศาสตรและ สารสนเทศศาสตร
  • 47. 47 ท่านผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.นิรันดร์ กุล ฑานันท์ เป็นอาจารย์ผู้ใหญ่ที ข้าพเจ้าให้ความเคารพอย่างสุด หัวใจ ด้วยว่าท่านเพียบพร้อม ด้วยความเป็นครุฏฐายีบุคคล คือเจริญด้วยธรรมของความเป็น ครู ๗ ประการ อันเป็นคําสอน ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดัง ปรากฏในพระไตรปิฎก เล่มที ๒๓ ข้อที ๓๔ อังคุตตรนิกาย สัต ตกนิบาต ว่า.... ปิโย ครุ ภาวนี โย วตฺตา จ วจนกฺขโม คมฺภีร ฺจ กถํ กตฺตา โน จฏฺฐาเน นิโยชเย ความว่า ๑. ปิโย เป็นทีรักด้วยเสียสละ ทุ่มเทและไม่อคติ เสมอต้นเสมอ ปลาย ๒. ครุ เป็นผู้หนักแน่น ไม่ หวันไหวด้วยโลกธรรม ๓. ภาวนีโย เป็นแบบอย่างทีดี มุ่ง งามมุ่งเจริญ ควรค่าแก่การยก ย่องสรรเสริญ ๔. วตฺตา มี ความกล้าหาญว่ากล่าวตักเตือน แนะนําในโอกาสอันสมควร ๕. วจนกฺขโม มีความเป็น ประชาธิปไตย คือ เปิดใจรับฟัง ความคิดเห็นอย่างรอบด้าน อดทน อดกลัน เข้มแข็ง ๖. คมฺภีร ฺจ กถํ กตฺ ตา มีหลักคิดทีสุขุมลุ่มลึก เตือนสติและให้กําลังใจใน ขณะเดียวกัน
  • 48. 48 ๗. โน จฏฺฐาเน นิโยช เย ไม่ชักนําในทางเสือม เสีย แนะนําในทางเจริญเสมอ ธรรมเหล่านีเป็น กัลยาณธรรมของกัลยาณมิตร ทังหลาย ข้าพเจ้า เป็นลูกศิษย์ ผู้น้อยทีโชคดีได้มีโอกาสร่วม ทํางานกับท่านผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.นิรันดร์ กุล ฑานันท์ ได้สัมผัสแนวคิดวิธีการ ทํางานทีงดงาม สุขุม ลุ่มลึกของ ท่าน นับว่าเป็นบุญวาสนา บารมี และความภาคภูมิใจ อย่างยิง จะยึดถือเป็นแนวทาง ครองตน ครองคน ครองงานให้ เกิดประโยชน์แก่สังคม ประเทศชาติสืบไป ในโอกาสอันเป็นมงคล เจริญอายุครบ ๖๐ ปี และ เกษียณอายุราชการของท่าน อาจารย์ ขออํานาจแห่งคุณพระ ศรีรัตนตรัย และสิงศักดิสิทธิ ทังหลายได้โปรดอภิบาลปกป้ อง คุ้มครองให้ท่านอาจารย์มี สุขภาพแข็งแรง เป็นหลักชัย หลักใจของลูกศิษย์ทังหลาย ตลอดไป อาจารย ดร.สุธีกิติ์ ผอดสูงเนิน 17 กันยายน 2562
  • 49. 49
  • 50. 50
  • 51. 51
  • 52. 52
  • 53. 53
  • 54. 54 ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัครพนท เนื้อไมหอม ประธานกรรมการ ผูชวยศาสตราจารย ดร.คําภีรภาพ อินทะนู รองประธานกรรมการ อาจารยพลอยไพลิน ศรีวิเศษ กรรมการ อาจารยภูริสา วัชเรนทรวงศ กรรมการ อาจารยธิดารัตน คีมกระโทก กรรมการ อาจารยสุธิกิติ์ พอดสูงเนิน กรรมการ อาจารยชมพู อิสริยาวัฒน กรรมการและเลขานุการ นายมลชัย สุขมาศ กรรมการและผูชวยเลขานุการ นางสาวจรัลรัตน อุนรัมย กรรมการและผูชวยเลขานุการ นางสาวอรอุมา หลาพิมพ กรรมการและผูชวยเลขานุการ นายสุรพงค กันถัด กราฟกและจัดรูปเลม ภาพประกอบ
  • 55. 55