SlideShare a Scribd company logo
1 of 84
Download to read offline
1คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
	 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์เล่มนี้ ประกอบด้วยเนื้อหาสาระสำ�คัญเกี่ยว
กับวิทยาลัยชุมชน เช่น ประวัติวิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์พอสังเขป ปรัชญา
วิสัยทัศน์ พันธกิจของวิทยาลัย บุคลากรของวิทยาลัย โครงสร้างหลักสูตรอนุปริญญาของ
วิทยาลัยชุมชน ข้อบังคับเกี่ยวกับสัญลักษณ์ เครื่องแต่งกายของนักศึกษาวิทยาลัยชุมชน
ความรู้เรื่องเกี่ยวกับแนวปฏิบัติในการลงทะเบียน การเข้าเรียน การโอนผลการเรียน การ
เข้าสอบ การพ้นสภาพ การเขียนคำ�ร้องต่างๆ นอกจากนั้น ยังมีรายละเอียดเกี่ยวกับทุน
การศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา และแผนการจัดการเรียนของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ คู่มือนัก
ศึกษาเล่มนี้ จะเป็นแนวทางให้นักศึกษาใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติตลอดระยะเวลาที่ศึกษา
เล่าเรียนในวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
	 จึงหวังว่า นักศึกษาทุกคนจะได้ใช้ประโยชน์จากคู่มือเล่มนี้ อย่างมีคุณค่า
ด้วยความปรารถนาดี
งานกิจการนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
พฤษภาคม ๒๕๕๖
ก
คำ�นำ�
2 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
สารบัญ
.......................................................................................................................หน้า
คำ�นำ� 		 	 	 ก
สารจากประธานสภาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์	 ข
สารจากผู้อำ�นวยการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ 	 ค
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับวิทยาลัยชุมชน 	 ๖
	 ✪	ช่วงที่ ๑ พ.ศ. ๑๕๔๔	 ๖
	 ✪	ช่วงที่ ๒ พ.ศ. ๑๕๔๕-๒๕๔๖	 ๖
	 ✪	ช่วงที่ ๓ พ.ศ. ๑๕๔๖-ปัจจุบัน	 ๗
	 ✪	ปรัชญา 	 ๘
	 ✪	หลักการ 	 ๘
	 ✪	วิสัยทัศน์ 	 ๘
	 ✪	พันธกิจ 	 ๘
	 ✪	โครงสร้างองค์กรวิทยาลัยชุมชน 	 ๘
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ 	 ๙
	 ✪	ปรัชญา 	 ๑๐
	 ✪	วิสัยทัศน์ 	 ๑๐
	 ✪	พันธกิจ 	 ๑๐
	 ✪	โครงสร้างองค์กรวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ 	 ๑๑
	 ✪	สถานที่ตั้งวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๓ - ปัจจุบัน 	 ๑๒
	 ✪	หน่วยจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ 	 ๑๒
	 ✪	แผนภาพ แสดงที่ตั้งวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์และหน่วยจัดการศึกษาปี ๕๓-๕๖  	 ๑๓
คณะกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปี ๒๕๕๖	 ๑๔
คณะกรรมการสภาวิชาการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปี ๒๕๕๖	 ๑๕
ผู้อำ�นวยการ รองผู้อำ�นวยการ และหัวหน้าหน่วยจัดการศึกษา ปี ๒๕๕๖	 ๑๖
รายชื่อผู้ประสานหน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปี ๒๕๕๖	 ๑๖
	 ✪	บุคลากรวิทยาลัยชุมชน ปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ 	 ๑๗
หัวข้อและรายละเอียดของหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ	 ๑๘
หัวข้อและรายละเอียดของหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย	 ๒๔
หัวข้อและรายละเอียดของหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น	 ๓๐
	 ✪	หลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสร้างประสบการณ์ด้านอาชีพและคุณภาพชีวิต	 ๓๓
	 ✪	ข้อบังคับสำ�นักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน 	 ๓๖
	 	 ว่าด้วย เครื่องแต่งกายสำ�หรับผู้สำ�เร็จการศึกษาจากวิทยาลัยชุมชน 	 ๓๖
3คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
สารบัญ
.......................................................................................................................หน้า
	 	 หมวดที่ ๑ เข็มวิทยฐานะ	 ๓๖
	 	 หมวดที่ ๒ ตรา เครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์	 ๓๗
	 	 หมวดที่ ๓ เครื่องแบบ เครื่องหมาย เครื่องแต่งกายนักศึกษา	 ๓๗
	 	 หมวดที่ ๔ เครื่องแบบผู้สำ�เร็จการศึกษาหลักสูตรอนุปริญญาหรือเทียบเท่า	 ๓๘
	 ✪	ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
     	 	 เรื่อง การเก็บเงินบำ�รุงการศึกษาวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๕ 	 ๔๑
	 ✪	ความรู้เรื่องเกี่ยวกับงานทะเบียนวัดผลและประเมินผล 	 ๔๓
	 ✪	ความรู้เรื่องทุนการศึกษาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ 	 ๕๐
		✤	กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา	 ๕๐
		✤	ทุนให้เปล่า	 ๕๔
	 	 	 หลักเกณฑ์การพิจารณาทุนการศึกษา	 ๕๕
		✤	ทุนอุดหนุนทางการศึกษาสำ�หรับนักศึกษาพิการ	 ๕๖	
	 ✪	ความรู้เรื่องนโยบายเกี่ยวกับอาจารย์ที่ปรึกษา 	 ๕๗
แผนการเรียนหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น 	 ๕๘
แผนการเรียนหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 	 ๕๙
แผนการเรียนหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 	 ๖๐
แผนการเรียนหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 	 ๖๑
ภาคผนวก		 	 ๖๒
	 ✪	ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการปฏิบัติของผู้เข้าสอบ พ.ศ. ๒๕๔๘ 	 ๖๓
	 ✪	ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
	 	 เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอนุปริญญา พ.ศ. ๒๕๔๘ 	 ๖๕
	 ✪	ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาตามหลักสูตร
    	 	 วิทยาลัยชุมชน ระดับอนุปริญญา พุทธศักราช ๒๕๔๕ 	 ๖๙
	 ✪	ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการโอนผลการเรียนและการเทียบยกเว้นรายวิชา
    	 	 ตามหลักสูตรวิทยาลัยชุมชน ระดับอนุปริญญา พุทธศักราช ๒๕๔๕ 	 ๗๔
	 ✪	แบบคำ�ขอกู้ยืมเงิน กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กยศ. ๑๐๑-๑ ถึง
	 	 กยศ. ๑๐๑-๔	 ๗๗
	 ✪	ตัวอย่างสำ�หรับผู้ขอกู้กรอกผ่านระบบ e-Studentloan (กยศ. ๑๐๑)	 ๘๑
	 ✪	ใบสมัครขอรับทุนการศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์	 ๘๒
    	 	 ความเห็นของอาจารย์ที่ปรึกษา
4 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ข
	 ในนามของสภามหาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ขอต้อนรับและแสดงความยินดีกับ
นักศึกษาทุกคน ที่ได้เข้ามาศึกษาเล่าเรียน ณ วิทยาลัยชุมชนแห่งนี้ ซึ่งมีความมุ่งมั่นในการ
พัฒนาประชาชน ทุกเพศทุกวัย อย่างมีคุณภาพ และเพื่อให้ประชาชนที่มีคุณภาพเหล่านั้น
ไปพัฒนาตนเองและประเทศชาติต่อไป มนุษย์ทุกคนมีศักยภาพในการศึกษาเล่าเรียนด้วยกัน
ทั้งนั้น แต่หลายคนไม่ได้รับการศึกษาเนื่องจากขาดโอกาสด้วยเหตุผลบางประการวิทยาลัย
ชุมชนจะทำ�หน้าที่เติมเต็มโอกาสทางการศึกษาที่ขาดไป สำ�หรับทุกคน ทุกเพศ และทุกวัย
	 การศึกษาเป็นเครื่องมืออันสำ�คัญประการหนึ่ง ในการพัฒนาชีวิตมนุษย์ จึงหวัง
ว่า นักศึกษาทุกคน จะใช้โอกาสที่ได้รับนี้อย่างเต็มที่ ผลของการศึกษาเล่าเรียนที่วิทยาลัย
ชุมชนบุรีรัมย์ จะส่งเสริมให้นักศึกษาทุกคนเป็นคนดีของสังคม มีความรู้ความสามารถใน
การประกอบอาชีพเป็นอย่างดี รวมทั้งชีวิตของตนเองและครอบครัวมีความสุข
	 ขอให้นักศึกษา ศึกษาคู่มือนักศึกษาเล่มนี้ ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ และปฏิบัติตาม
ระเบียบต่างๆ เพราะคู่มือนักศึกษา เป็นแนวทางให้นักศึกษาใช้ตลอดเวลาที่ศึกษาเล่าเรียน
	 ขออวยพรให้นักศึกษาทุกคน ประสบความสำ�เร็จในการศึกษาเล่าเรียน และในการ
ดำ�เนินชีวิตต่อไป
ด้วยความปรารถนาดี
(ผศ.ดร.ปราโมทย์ เบญจกาญจน์)
ประธานสภาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
สารจากประธานสภาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
5คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ค
	 วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ก่อตั้งขึ้นมาภายใต้ปรัชญาที่ว่า “การศึกษามีคุณค่า ต่อบุคคล
และสังคม โดยรวม” จึงได้กำ�หนดพันธกิจของวิทยาลัยชุมชนไว้ดังนี้ จัดการศึกษาระดับ
อนุปริญญา จัดหลักสูตรฝึกอบรมพัฒนาทักษะและประสบการณ์ด้านอาชีพ และส่งเสริม
คุณภาพชีวิต และจัดการความรู้เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน
	 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในระบบการเรียนการสอนของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
จึงได้จัดทำ�คู่มือนักศึกษาซึ่งมีองค์ประกอบ สำ�คัญดังนี้
	 1. โครงสร้างหลักสูตรอนุปริญญาและหลักสูตรฝึกอบรม
	 2. ข้อบังคับสำ�นักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน
	 3. ความรู้เกี่ยวกับงานทะเบียน วัดผล
	 4. ความรู้เรื่องทุนการศึกษา
	 5. ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเก็บเงินบำ�รุงการศึกษา (ฉบับร่าง)
	 หวังเป็นอย่างยิ่งว่านักศึกษา จะได้ศึกษาคู่มือนี้อย่างละเอียด เพื่อประโยชน์ในการ
เรียนและการปฏิบัติตน ตลอดเวลาที่เป็นนักศึกษาของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
	 ขอเป็นกำ�ลังใจให้นักศึกษาทุกท่าน ในการศึกษาทุกหลักสูตร และขอให้นักศึกษา
ทุกท่านประสบความสำ�เร็จ และมีความเจริญก้าวหน้า เป็นสมาชิกที่ดี และร่วมกันสร้าง
คุณภาพชีวิต ร่วมสร้างสรรค์สังคมที่น่าอยู่ต่อไป
นายสุรศักดิ์ ศรีสว่างรัตน์
ผู้อำ�นวยการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
สารจากผู้อำ�นวยการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
6 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
	 วิทยาลัยชุมชน เป็นสถานศึกษาของรัฐในสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา มีหน้าที่จัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาระดับตํ่ากว่าปริญญา โดยมี“กฎกระทรวง
ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาตํ่ากว่าปริญญาในรูปแบบวิทยาลัยชุมชน พ.ศ.
๒๕๔๖” เป็นกฎหมายรองรับการดำ�เนินงานของวิทยาลัยชุมชน
การจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนในประเทศไทยได้มีการวางรากฐาน และพัฒนาให้เจริญก้าวหน้า
มาตลอด ๑๐ ปี ดังนี้
ช่วงที่ ๑ พ.ศ.๒๕๔๔ : จัดตั้งสำ�นักงานโครงการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชน
	 ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ศึกษาธิการ (ในขณะนั้น) ได้จัดทำ� “แนวคิดและ หลักการวิทยาลัยชุมชน” ซึ่งเปรียบเสมือน
พิมพ์เขียวในการดำ�เนินงานในประเทศไทย เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2544 มีการตั้งคณะ
ทำ�งาน เตรียมการจัดตั้ง พร้อมจัดตั้งสำ�นักงานโครงการวิทยาลัยชุมชน เพื่อเป็นหน่วยงาน
สนับสนุน
ช่วงที่ ๒ พ.ศ.๒๕๔๕ - ๒๕๔๖ : จัดตั้งวิทยาลัยชุมชน
	 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๔๕ เห็นชอบในหลักการ
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชน โดยแนวทางในการก่อตั้งวิทยาลัยชุมชน “นำ�ร่อง” คือการ
หลอมรวมสถานศึกษาที่มีภารกิจใกล้เคียงกัน ให้ทำ�งานประสานเป็นเครือข่ายและจัดการ
ศึกษาในส่วนที่ขาด เพื่อความเป็นเอกภาพทางการศึกษา โดยเลือกสถานศึกษา ๑๐ แห่ง
มาเป็นวิทยาลัยชุมชน โดยได้สถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา ๓ แห่ง และกรมการศึกษา
นอกโรงเรียน ๗ แห่ง พร้อมปรับระบบบริหารจัดการใหม่ตามหลักการวิทยาลัยชุมชน
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับวิทยาลัยชุมชน
(Community College)
7คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
	 วันที่๑๗เมษายนพ.ศ.๒๕๔๕ได้ประกาศจัดตั้งวิทยาลัยชุมชน๑๐แห่งคือวิทยาลัย
ชุมชนแม่ฮ่องสอน /ตาก /พิจิตร /อุทัยธานี /สระแก้ว /มุกดาหาร /บุรีรัมย์ /หนองบัวลำ�ภู/
ระนอง /นราธิวาส
ช่วงที่ ๓ พ.ศ.๒๕๔๖ – ปัจจุบัน : วิทยาลัยชุมชนในสังกัดสำ�นักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
	
	 วันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๖ มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ ออกตามความในพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง
ทบวง กรม พ.ศ.๒๕๔๕ ได้บัญญัติให้มีกระทรวงศึกษาธิการ ตามพระราชพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ บัญญัติให้
ปรับสำ�นักงานส่งเสริมวิทยาลัยชุมชน เข้าสู่โครงสร้างใหม่สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา ต่อมาประกาศใช้ “กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ตํ่ากว่าปริญญารูปแบบวิทยาลัยชุมชน พ.ศ.๒๕๔๖” ขึ้น
	 โดยให้วิทยาลัยชุมชนเป็นส่วน ราชการในสำ�นักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน บริหาร
งานโดยหน่วยนโยบาย ประกอบด้วย คณะกรรมการการอุดมศึกษา คณะกรรมการวิทยาลัย
ชุมชน และสำ�นักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน หน่วยปฏิบัติการ ประกอบด้วยสภาวิทยาลัย
ชุมชน และวิทยาลัยชุมชน (ผู้บริหารวิทยาลัย สภาวิชาการ และหน่วยจัดการศึกษา)
	 โดยปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖ มีการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนทั่วประเทศทั้งสิ้น จำ�นวน ๒๐
แห่ง ได้แก่
	 วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน/ ตาก/ พิจิตร/ อุทัยธานี/ แพร่/ น่าน/ บุรีรัมย์/
มุกดาหาร/ หนองบัวลำ�ภู/ ยโสธร สระแก้ว/ ตราด/ สมุทรสาคร/ ระนอง/ นราธิวาส/
ยะลา/ พังงา/ สตูล/ ปัตตานี/ สงขลา
8 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
ปรัชญา
	 เสริมสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อเพิ่มคุณค่าชีวิตและศักยภาพ
ของบุคคลและชุมชน
หลักการ
	 ๑.	บริการทีี่เปิดกว้าง เข้าถึงง่าย หลักสูตรหลากหลาย
	 ๒.	ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน
	 ๓.	ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ และผนึกกำ�ลังเครือข่ายชุมชน
	 ๔.	ใช้ทรัพยากรของรัฐและเอกชนที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
	 ๕.	การจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนเป็นการริเริ่มจากชุมชน
วิสัยทัศน์
ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาชองวิทยาลัยชุมชน
เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิตชองชุมชน
พันธกิจ
	 ๑.	จัดการศึกษาระดับตํ่ากว่าปริญญาทั้งสายวิชาการและวิชาชีพ ในหลักสูตร
อนุปริญญา และหลักสูตรประกาศนียบัตรที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน
	 ๒.	ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ ทักษะการเรียนรู้ และทักษะชีวิต
	 ๓.	บริการทางวิชาการต่อชุมชน
	 ๔.	วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และวิจัยสถาบันเพื่อการพัฒนาการดำ�เนินงาน
	 ๕.	มีส่วนร่วมในการทำ�นุบำ�รุงศาสนาและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมกับชุมชน
9คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
โครงสร้างองค์กรวิทยาลัยชุมชน
กระทรวงศึกษาธิการ
สํานักบริหารงานวชช.
คณะกรรมการ
อุดมศึกษา
หน่วยงาน/องค์กร
คณะกรรมการวชช.
นโยบาย
ส่วนวิทยาลัย
ส่วนกลาง
นโยบาย
เครือข่าย
หน่วยปฏิบัติการ
หน่วยนโยบาย
นโยบาย
ประชาชน
การบริหารงานของระบบวิทยาลัยชุมชน
สกอ.
วิทยาลัยชุมชนจังหวัด
สภาวิทยาลัยชุมชน
สภาวิชาการวชช.
คณะกรรมการ
หน่วยจัด
การศึกษา
ความต้องการ
หน่วยจัด
ห้องเรียน
งานบริการ
และกิจการ
นักศึกษา
งานจัดตั้งและ
บริการระบบ
เครือข่าย
งาน
อํานวยการ
และสนับสนุน
งานจัดการ
เรียนการสอน
และวิชาการ
การมีส่วนร่วม
10 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
(Buriram Community College)
ปรัชญา
การศึกษามีคุณค่า ต่อบุคคลและสังคมโดยส่วนรวม
วิสัยทัศน์
ภายในปี ๒๕๖๐ วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์เป็นองค์กรหลักในการจัดการความรู้
เป็นแหล่งเรียนรู้ให้บริการทางการศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน
พันธกิจ
	 ๑.	 จัดการศึกษาระดับอนุปริญญาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอุดมศึกษา
	 ๒.	 จัดฝึกอบรมและบริการทางวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
	 ๓.	 ส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยเพื่อการเรียนการสอนและวิจัยชุมชน
	 ๔.	 อนุรักษ์ สืบสานศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
	 ๕.	 บริหารจัดการเชิงธรรมาภิบาล
เอกลักษณ์		 เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน
อัตลักษณ์		 ทำ�งานร่วมกับชุมชนไได้
สีประจำ�วิทยาลัย	 สีเขียวอ่อน - สีขาว
ดอกไม้ประจำ�วิทยาลัย	 ดอกบัว
ต้นไม้ประจำ�วิทยาลัย	 ต้นมะค่าแต้
สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
11คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
โครงสร้างองค์กรวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
คณะกรรมการสภา
วชช.บุรีรัมย์
คณะกรรมการ
สภาวิชาการ
วชช.บุรีรัมย์
หน่วยจัด
การศึกษา
กลุ่มงาน
อํานวยการ
กลุ่มงาน
นโยบายแผน
และ
งบประมาณ
๑. วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
๒.หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก
๓. หน่วยจัดการศึกษาอําเภอพลับพลาชัย
๔. หน่วยจัดการเทศบาลเมืองนางรอง
๕. หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนกระสังพิทยาคม
๖. หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านกรวดวิทยาคาร
๗. หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนเมืองตลุงพิทยาสรรพ์
๘. หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนคูเมืองวิทยาคม
๙. หน่วยจัดการศึกษาเทศบาลต๋าบลดอนมนต์
๑๐. หน่วยจัดการศึกษาสถาบันแม่ชีไทยสาขาที่ ๑๖
กลุ่มงานจัด
การศึกษา
และพัฒนา
วิชาการ
กลุ่มงาน
กิจการ
นักศึกษา
กลุ่มงาน
เชื่อมโยง
เครือข่าย
12 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
สถานที่ตั้งวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๓ -ปัจจุบัน
	 วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ถนนบุรีรัมย์-สตึก ตำ�บลบัวทอง อำ�เภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ รหัส ๓๑๐๐๐
โทรศัพท์ ๐๔๔-๖๑๕๑๒๘ โทรสาร ๐๔๔-๖๑๕๑๒๙
หน่วยจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปีการศึกษา ๒๕๕๖
	 หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก	 โทรศัพท์ 	๐๘๑-๒๖๕๐๓๐๓
	 หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนคูเมืองวิทยาคม	 โทรศัพท์	 ๐๔๔-๖๙๙๐๕๕, ๐๔๔-๖๙๙๓๔๙
	 หน่วยจัดการศึกษาอำ�เภอพลับพลาชัย	 โทรศัพท์	 ๐๔๔-๖๐๘๐๙๐
	 หน่วยจัดการศึกษาเทศบาลเมืองนางรอง	 โทรศัพท์	 ๐๔๔-๖๓๒๑๗๑
	 หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านกรวดวิทยาคาร	 โทรศัพท์	 ๐๔๔-๖๗๙๐๙๘
	 หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนกระสังพิทยาคม	 โทรศัพท์	 ๐๔๔-๖๙๑๐๓๖
	 หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนเมืองตลุงพิทยาสรรค์	 โทรศัพท์ 	๐๔๔-๖๕๑๐๒๑
	 หน่วยจัดการศึกษาเทศบาลตำ�บลดอนมนต์	 โทรศัพท์	 ๐๘๗-๙๕๕๑๕๒๔
	 หน่วยจัดการศึกษาสถาบันแม่ชีไทย สาขาที่ ๑๖	 โทรศัพท์	 ๐๔๔-๖๖๙๑๐๑,๐๘๕-๒๐๒๓๗๗๐
13คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
หน่วยจัดฯ อบต.ศรีสว่าง
หน่วยจัดฯ เทศบาลตำ�บลดอนมนต์
หน่วยจัดฯ โรงเรียนกระสังพิทยาคม
หน่วยจัดฯ เทศบาลเมืองนางรอง
หน่วยจัดฯ โรงเรียนเมืองตลุงพิทยาสรรพ์
หน่วยจัดฯ โรงเรียนบ้านกรวดวิทยาคาร
หน่วยจัดฯ โรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก
หน่วยจัดฯ โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม
หน่วยจัดฯ โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม
หน่วยจัดฯ สถาบันแม่ชีไทย สาขาที่ ๑๖
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ (แม่ข่าย) อ.เมืองบุรีรัมย์
แผนภาพ แสดงสถานที่ตั้งวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
และหน่วยจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปี ๒๕๕๓ - ๒๕๕๖
14 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
คณะกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
ผศ.ดร.ปราโมทย์ เบญจกาญจน์
ประธานกรรมการ
นายเธียรชัย อุ่นจิตต์วรรธนะ
รองประธานกรรมการ
พระครูปริยัติภัทรคุณ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
รศ.โกวิท เชื่อมกลาง
กรรมการผู้แทนสถาบันอุดมศึกษา
นายสนธยา ไกรรณภูมิ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
นายทองคำ� แจ่มใส
กรรมการผู้แทนองค์กรชุมชน
ดร.สมศักดิ์ มัจฉาวิทยากุล
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
นายรัชพล ตระหนักยศ
กรรมการผู้แทนหอการค้าจังหวัด
นางศิริกัญญา นามพิชญ์
กรรมการ
ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมจังหวัด
นายศุภวัฒน์ ปัญญาชัย
กรรมการ
ผู้แทนศิษย์เก่า
นายธงชัย เนื่องจำ�นงค์
กรรมการ
ผู้แทนองค์กรปกครองท้องถิ่น
นายสุรศักดิ์ ศรีสว่างรัตน์
กรรมการและเลขานุการ
ผู้อำ�นวยการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
15คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
คณะกรรมการสภาวิชาการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
นายสุรศักดิ์ ศรีสว่างรัตน์
ประธานกรรมการ
ผศ.กำ�พล สินธุรัตน์
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
นายชาคริต เชาวนกุล
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
นางสาวมะลิวรรณ โคตรศรี
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ผศ.ประกิจ จันตะเคียน
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
นางสาวสุภาวดี อิสณพงษ์
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
รศ.มาลิณี จุโฑปะมา
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
นายชาญณรงค์ ศิริอำ�พันธ์กุล
กรรมการและเลขานุการ
16 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
รายชื่อผู้อำ�นวยการ/รองผู้อำ�นวยการ/หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖
๑. นายสุรศักดิ์ ศรีสว่างรัตน์	 ผู้อำ�นวยการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์	
๒. นายชาญณรงค์ ศิริอำ�พันธ์กุล	 รองผู้อำ�นวยการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์	
๓. นายอรรณพ นามสวัสดิ์	 รองผู้อำ�นวยการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์	
๔. นายสรายุทธ์ เสลารักษ์	 หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก
๕. นายสราวุธ ทรงประโคน	 หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาอำ�เภอพลับพลาชัย	
๖. นายประชุม พันธ์พงศ์	 หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนคูเมืองวิทยาคม	
๗. นายมาโนช ตันเจริญ	 หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาเทศบาลเมืองนางรอง	
๘. นายนำ�ส่ง ทรงวัฒนสิน	 หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนกระสังพิทยาคม	
๙. นายมุนินทร์ หลอมประโคน	 หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนเมืองตลุงพิทยาสรรพ์
๑๐. นายสมเกียรติ วัฒนากรประสิทธ์	 หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านกรวดวิทยาคาร
๑๑. นายทรงเดชา วันทา	 หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาเทศบาลตำ�บลดอนมนต์	
๑๒. แม่ชีสุแก่นธรรม คำ�ยอง	 หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาสถาบันแม่ชีไทย สาขาที่ ๑๖
รายชื่อผู้ประสานประจำ�หน่วยจัดการศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖
๑. นายปรีชา พันธ์วรรณ	 หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก
๒. นายอนุรักษ์ ยืนยงชาติ	 หน่วยจัดการศึกษาอำ�เภอพลับพลาชัย
๓. นางบุญสม เหล่าอัจริยะพร	 หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนคูเมืองวิทยาคม
๔. นายสุพจน์ คะเชนเนียม	 หน่วยจัดการศึกษาเทศบาลเมืองนางรอง
๕. นายชยพล สมคิด	 หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนกระสังพิทยาคม
๖. นายอภิชา เสาวรส	 หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนเมืองตลุงพิทยาสรรพ์
๗. นายสุบิน ฝ่ายเทศ	 หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านกรวดวิทยาคาร
๘. นางยุภาพร สมศรี	 หน่วยจัดการศึกษาเทศบาลตำ�บลดอนมนต์
๙. นางภาสิณี ภูคำ�วงศ์	 หน่วยจัดการศึกษาสถาบันแม่ชีไทย สาขาที่ ๑๖
17คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
บุคลากรวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปีพุทธศักราช ๒๕๕๖
ผู้อำ�นวยการ
	 นายสุรศักดิ์ ศรีสว่างรัตน์
รองผู้อำ�นวยการ
	 นายชาญณรงค์ ศิริอำ�พันธ์กุล
	 นายอรรณพ นามสวัสดิ์	
ครูชำ�นาญการ
	 นางรัตนฉัตร์ ตาดร่ม 	 นางสาวจารุภา แช่ฮ่อ
	 นายนิรัญ อ่อนพันธ์ 	 นางเสาวนีย์ อุตรวิเชียร	
	 นางสาวสุภาวดี อิสณพงษ์	 นางพรวลัย ชัยสุวรรณ	
	 นายจำ�รูณ ศิขินารัมย์	 นางสาวมะลิวรรณ โคตรศรี	
	 นายพรศักดิ์ พุทธมาตย์	 นายรัตนชัย ชินานุปกรณ์
	 นางสาวศศิพิสุทธิ์ หงส์สมบัติ 	นายปฐม นิ่มหัตถา	
ครู คศ.๑
	 นายเพชร พันธ์ภา	
	 นางสาวทิวา เอมธานี	
	 นางสาวกฤษณียา ศังขจันทรานนท์
นักวิชาการศึกษา
	 นางสกุณีย์ ธีระธำ�รงรักษ์	
	 นายธัตติ เฉื่อยฉํ่า	
	 นางสาวพิกุลทอง อันมัย
เจ้าหน้าที่งานทะเบียน
	 นางสาวจุฑารัตน์ เพชรประไพ	
	 นางสาวอัญชนา ชาญนุวงศ์	
เจ้าหน้าที่งานวัดผล
	 นางสาววระวี จันทร์ซุย	
	 นางสาวปิยะกาญจน์ เจนถาวร	
นักวิชาการการเงินและบัญชี
	 นางสาวกรวิการ์ เจริญรัมย์
นักวิชาการพัสดุ
	 นายภัทรวรรธน์ วรเสฎฐ์ฐากูร	
	 นายสุร กุหลาบเพ็ชร์
เจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
	 นางสาวรวีวรรณ รัตนปู	
พนักงานการศึกษา
	 นายเสกสรร อุไรแข	
	 นายเฉลิมวุฒิ วิชัยรัมย์	
	 นางสาวสุนิสา ชนะเทพา
พนักงานขับรถ
	 นายบุญส่ง รัตนโพธิ์	
	 นายศราวิน ยอดอภิญญาชัย
พนักงานทำ�ความสะอาด	
	 นางสาวสุมาลี พวงประทิน	
	 นางสาวอิงออน จันทร์สิงห์ขะ
พนักงานธุรการ	
นางสาวรัชฎาพร เวชพิทักษ์
พนักงานการเงินและบัญชี
	 นางสาวสุปราณี การรัมย์
พนักงานพัสดุ	
	 นางสาวชรินรัตน์ พรหมปราณี	
พนักงานรักษาความปลอดภัย
	 นายสุริยันห์ จอดสันเทียะ
พนักงานทำ�สวน	
	 นายชล ละเมียดดี	
	 นายสุธร สุจิตร์	
นักการภารโรง
	 นายสมศักดิ์ เรืองไพศาล
18 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
หมวดที่ ๑. ข้อมูลทั่วไป
๑.	รหัสและชื่อหลักสูตร
	 	 ภาษาไทย : อนุปริญญาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
	 	 ภาษาอังกฤษ : Associate of Business Administration Program in Business Computer
๒.	ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
	 	 ชื่อเต็ม (ไทย) : อนุปริญญาบริหารธุรกิจ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
	 	 ชื่อย่อ (ไทย) : อ.บธ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
	 	 ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Associate of Business Administration (Business Computer)
	 	 ชื่อย่อ (อังกฤษ) : A.B.A. (Business Computer)
๓.	อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำ�เร็จการศึกษา
	 	 (๑)	 เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล
	 	 (๒)	 เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์
	 	 (๓)	 เจ้าหน้าที่ดูแลเว็บไซต์
	 	 (๔)	 นักเขียนโปรแกรม
	 	 (๕)	 ผู้ประกอบการเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
	 	 (๖)	 เจ้าหน้าที่ธุรการ
	 	 (๗)	 เจ้าหน้าที่กราฟิกดีไซน์
	 	 (๘)	 เจ้าหน้าที่ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
	 	 (๙)	 พนักงานขายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
๑.	ปรัชญา ความสำ�คัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
		 ๑.๑	ปรัชญา
	 	 	 สร้างโอกาสทางการศึกษาให้สมาชิกชุมชนได้พัฒนาตนเองให้เป็นผู้ชำ�นาญงานด้านคอมพิวเตอร์
และเพิ่มคุณค่าเพื่อการสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์ ในการดำ�เนินชีวิตและเพิ่มศักยภาพของชุมชนในมิติต่างๆ
ทั้งด้านเศรษฐกิจและด้านสังคม แก่ชุมชนและท้องถิ่น
หัวข้อและรายละเอียดของหลักสูตร
หลักสูตรอนุปริญญาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖
19คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
		 ๑.๒ วัตถุประสงค์
	 	 	 ๑.๒.๑ เพื่อให้ผู้เรียนมีความตระหนักถึงคุณธรรม จริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร
ตามจรรยาบรรณของนักวิชาชีพคอมพิวเตอร์
	 	 	 ๑.๒.๒ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักการทางคอมพิวเตอร์ และหลักการทางธุรกิจ
	 	 	 ๑.๒.๓ เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำ�เนินงานใน
ธุรกิจ
	 	 	 ๑.๒.๔ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสื่อสารและประสานการทำ�งานร่วมกับหน่วยงานองค์กร หน่วยงาน
ชุมชน เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลสารสนเทศทางธุรกิจ
	 	 	 ๑.๒.๕ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ และนำ�เสนอข้อมูลสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
	 	 ๓.๑ หลักสูตร หลักสูตรอนุปริญญาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มีโครงสร้างหลักสูตร
ดังต่อไปนี้
	 	 	 ๓.๑.๑ จำ�นวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๙๐ หน่วยกิต
	 	 	 ๓.๑.๒ โครงสร้างหลักสูตร (๙๐ หน่วยกิต) แบ่งออกเป็นหมวดวิชา ดังนี้
	 	 	 	 ๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป	 	 ไม่น้อยกว่า	 ๓๐ 	 หน่วยกิต
	 	 		 ๒. หมวดวิชาเฉพาะ	 	 	 ไม่น้อยกว่า	 ๕๗	 หน่วยกิต
	 	 			 ๒.๑ วิชาพื้นฐานวิชาชีพ	 	 ไม่น้อยกว่า	 ๒๑	 หน่วยกิต
	 	 			 ๒.๒ วิชาชีพ	 	 	 ไม่น้อยกว่า	 ๓๖	 หน่วยกิต
	 	 				 ๒.๒.๑ วิชาบังคับ	 	 	 	 	 ๒๔	 หน่วยกิต
	 	 				 ๒.๒.๒ วิชาเลือก	 	 	 	 	   ๙	 หน่วยกิต
	 	 				 ๒.๒.๓ วิชาการฝึกงาน	 	 	 	   ๓	 หน่วยกิต
	 	 	 	 ๓. หมวดวิชาเลือกเสรี	 	 	 ไม่น้อยกว่า	   ๓	 หน่วยกิต
	
		 ๓.๑.๓ รายวิชาและรหัสรายวิชา
				 รายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
	 	 	 	 	 	 รหัสวิชาของรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปให้เป็นไปตามที่หลักเกณฑ์ของ
วิทยาลัยชุมชนกำ�หนด
				 รายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ มีหลักเกณฑ์กำ�หนดรหัสวิชาดังนี้
			 บธ ๐๑ ๐๑
	 	 	 	 	 	 	 ลำ�ดับที่รายวิชาของสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
							 ลำ�ดับของสาขาวิชาในหลักสูตร
							 ชื่อหลักสูตรบริหารธุรกิจ
20 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
	 รายวิชาในโครงสร้างหลักสูตร
		 ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป			 จำ�นวน 	 ๓๐ หน่วยกิต
			 ๑) กลุ่มวิชาภาษา			 จำ�นวน 	 ๖ หน่วยกิต
			 โดยเลือกจากรายวิชาต่อไปนี้
			 รหัสวิชา		 ชื่อวิชา							น(ท-ป-ศ)
	 	 	 ศท ๐๑๐๑	 สมรรถภาพทางภาษาไทย(Thai Language Competency)	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศท ๐๑๐๒	 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑
	 	 	 	 	 		 	 (English for Communication ๑)	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
			 ศท ๐๑๐๓	 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๒
	 	 	 	 	 		 	 (English for Communication ๒)	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
			 ศท ๐๑๐๔	 ทักษะการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ
	 	 	 	 	 		 	 (Reading and Writing Skills in English)	 	 	 	๓ (๒-๒-๕)
			 ศท ๐๑๐๕	 ภาษาประเทศเพื่อนบ้าน
	 	 	 	 	 		 	 (Neighboring Countries Language)	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
			 ๒) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์			 จำ�นวน 	 ๖ หน่วยกิต
	 	 	 โดยเลือกจากรายวิชาต่อไปนี้
			 รหัสวิชา		 ชื่อวิชา							น(ท-ป-ศ)
	 	 	 ศท ๐๒๐๑	 ความจริงของชีวิต
	 	 	 	 	 		 	 (Truth of Life)	 	 	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
			 ศท ๐๒๐๒	 การพัฒนาตน
	 							 (Self Development)	 	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
	 	 	 ศท ๐๒๐๓	 สุนทรียภาพของชีวิต
	 	 	 	 	 		 	 (Aesthetic Appreciation)	 	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
	 	 	 ศท ๐๒๐๔	 มนุษย์และคุณค่า
	 	 	 	 	 		 	 (Human and Value)	 	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
			 ๓) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์		 จำ�นวน 	 ๑๒ หน่วยกิต
			 รหัสวิชา		 ชื่อวิชา							น(ท-ป-ศ)
			 ศท ๐๓๐๑	 การคิดและการตัดสินใจ
	 							 (Thinking and Decision Making)	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
21คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
			 ศท ๐๓๐๒	 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
	 	 	 	 	 		 	 (Information Technology for Learning)	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศท ๐๓๐๓	 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต
	 	 	 	 	 		 	 (Science and Life Development)	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
	 	 	 ศท ๐๓๐๔	 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
	 	 	 	 	 		 	 (Life and Environment)	 	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
			 ๔) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์		 จำ�นวน 	 ๖ 	 หน่วยกิต
	 	 	 โดยเลือกจากรายวิชาต่อไปนี้
			 รหัสวิชา		 ชื่อวิชา						 น(ท-ป-ศ)
	 	 	 ศท ๐๔๐๑	 จังหวัดศึกษา
								 (Province Studies)		 	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
			 ศท ๐๔๐๒	 วิถีไทย
								 (Thai Living)	 	 	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
			 ศท ๐๔๐๓	 สังคมโลก
								 (Global Society)	 	 	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
			 ศท ๐๔๐๔	 กฎหมายและสิทธิมนุษยชน
								 (Laws and Human Rights)	 	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
		 ข. หมวดวิชาเฉพาะ			 จำ�นวน 	 ๕๗ 	หน่วยกิต
			 ๑) กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ				 ๒๑ 	หน่วยกิต
			 รหัสวิชา	 ชื่อรายวิชา						 น(ท-ป-ศ)
	 	 	 บธ ๐๑๐๑	 หลักเศรษฐศาสตร์
	 	 	 	 	 		 	 (Principles of Economics)	 	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
			 บธ ๐๑๐๒	 หลักการจัดการ
								 (Principles of Management)	 	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
			 บธ ๐๑๐๓	 หลักการตลาด
								 (Principles of Marketing)	 	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
			 บธ ๐๑๐๔	 กฎหมายธุรกิจ
								 (Business Law)	 	 	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
			 บธ ๐๑๐๕	 หลักการบัญชี
	 	 	 	 	 		 	 (Principles of Accounting)	 	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
22 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
	 			บธ ๐๑๐๖	 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
	 	 							 (Management Information System)	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
	 			บธ ๐๑๐๗	 โปรแกรมสำ�เร็จรูปทางธุรกิจ
	 	 							 (Business Program Package)	 	 	 	 	๓ (๒-๒-๕)
	 		 ๒) กลุ่มวิชาชีพ	 		 จำ�นวน 	 ๓๖ หน่วยกิต
	 			 ๒.๑ วิชาบังคับ 	 				 ๒๔ หน่วยกิต
	 			 รหัสวิชา		 ชื่อรายวิชา							น (ท-ป-ศ)
	 			บธ ๐๑๐๘	 ระบบคอมพิวเตอร์
	 	 							 (Computer System)	 	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 			บธ ๐๑๐๙	 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
	 	 							 (Introduction to Computer Programming)	 	 	๓ (๒-๒-๕)
	 			บธ ๐๑๑๐	 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
	 	 							 (Data Structure and Algorithm)	 	 	 	 	๓ (๓-๐-๖)
	 			บธ ๐๑๑๑	 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
	 	 							 (Introduction to Computer Network)	 	 	 	๓ (๒-๒-๕)
	 			บธ ๐๑๑๒	 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
	 	 							 (System Analysis and Design)	 	 	 	 	๓ (๒-๒-๕)
	 			บธ ๐๑๑๓	 ระบบฐานข้อมูล
	 	 							 (Database System)	 	 	 	 	 	๓ (๒-๒-๕)
	 			บธ ๐๑๑๔	 การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
	 	 							 (Web Base Programming)	 	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 			บธ ๐๑๑๕	 โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อธุรกิจ
	 	 							 (Project in Business Computer)	 	 	 	 	๓ (๐-๖-๓)
	 			 ๒.๒ วิชาเลือก 			 จำ�นวน 	 ๙ หน่วยกิต
	 			 โดยให้เลือกจากรายวิชาต่อไปนี้
	 			 รหัสวิชา		 ชื่อรายวิชา						 น (ท-ป-ศ)
	 			บธ ๐๑๑๖	 การออกแบบสิ่งพิมพ์ทางธุรกิจ
	 	 							 (Business Printing Design)	 	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 			บธ ๐๑๑๗	 การจัดการองค์ความรู้
	 	 	 						 (Knowledge Management)		 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
23คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
	 			บธ ๐๑๑๘	 เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
	 	 							 (Multimedia Technology)	 	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 			บธ ๐๑๑๙	 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
	 	 							 (Electronic Commerce)	 	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 			บธ ๐๑๒๐	 การจัดการห่วงโซ่อุปทาน
	 	 							 (Supply Chain Management) 	 	 	 	 	๓ (๓-๐-๖)
	 			บธ ๐๑๒๑	 กฎหมายและจริยธรรมสำ�หรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
	 	 							 (Laws and Ethics for Information Technology) 	 	 	๓ (๓-๐-๖)
	 			บธ ๐๑๒๒	 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
	 	 							 (Object-Oriented Programming)		 	 	 	๓ (๒-๒-๕)
	 			 ๒.๓ วิชาการฝึกงาน			 จำ�นวน 	 ๓ หน่วยกิต
				 รหัสวิชา		 ชื่อรายวิชา						 น (ชั่งโมง)
	 			บธ ๐๑๒๓	 การฝึกงาน
	 	 							 (On the Job Training)	 	 	 	 	 	๓ (๓๒๐)
			 ค. หมวดวิชาเลือกเสรี
	 	 	 ให้เลือกเรียนรายวิชาต่างๆ จากหมวดวิชาศึกษาทั่วไปหรือหมวดวิชาเฉพาะในสาขาวิชาเดียวกัน
หรือต่างสาขาวิชาก็ได้ หรือเลือกจากหลักสูตรอื่นใดในระดับเดียวกันจากวิทยาลัยชุมชนอื่นๆ โดยไม่ซํ้าซ้อน
กับวิชาที่เรียนมาแล้ว และต้องเป็นรายวิชาที่อยู่ในระดับเดียวกันกับที่กำ�ลังศึกษาอยู่ รายวิชาที่หลักสูตรระบุ
ไม่ให้นับหน่วยกิตในการขอจบหลักสูตรจะเลือกเรียนเป็นวิชาเลือกเสรีไม่ได้
24 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
๑. ชื่อหลักสูตร		 ภาษาไทย 	 :	หลักสูตรอนุปริญญาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
				ภาษาอังกฤษ 	 : 	Associate Degree of Education Early Childhood Education
				ชื่อย่อ (ไทย) 	 : 	อ.ศษ. (การศึกษาปฐมวัย)
				 ชื่อย่อ (อังกฤษ) : 	A.ED. (Early Childhood Education)
๒. ปรัชญาหลักสูตร
	 	 เพื่อสร้างบุคลากรทางการศึกษาปฐมวัยเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม รักและศรัทธาในวิชาชีพ มีความรู้
และทักษะในการอบรมเลี้ยงดูให้การศึกษาแก่เด็กปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ
๓. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
	 	 ๑) เพื่อให้ผู้เรียนผู้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวัย
	 	 ๒) เพื่อให้ผู้เรียนผู้มีความรู้และทักษะในการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาเด็กปฐมวัย
	 	 ๓) เพื่อให้ผู้เรียนผู้มีความรู้และความสามารถในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และแก้ปัญหาในการ
	 	     อบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาเด็กปฐมวัย
	 	 ๔) เพื่อให้ผู้เรียนผู้มีคุณธรรมจริยธรรม รักและศรัทธาในวิชาชีพในวิชาชีพ ตลอดจนมีคุณลักษณะที่
	 	     พึงประสงค์ของการศึกษาปฐมวัย
	 ๔.	 หลักสูตร
		 จำ�นวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๙๐ หน่วยกิต
		 โครงสร้างหลักสูตร
	 	 หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๙๐ หน่วยกิต โดยมีสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชา และ
แต่ละกลุ่มวิชาดังนี้
	 	 	 ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป	 	 ไม่น้อยกว่า	 ๓๐	 หน่วยกิต
	 	 	 ข. หมวดวิชาเฉพาะ	 	 ไม่น้อยกว่า	 ๕๗	 หน่วยกิต
	 	 	 	 (๑) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ	 	 ไม่น้อยกว่า	 ๑๒	 หน่วยกิต
	 	 	 	 (๒) วิชาชีพ	 	 ไม่น้อยกว่า	 ๔๕	 หน่วยกิต
	 	 	 	 		 	 (๒.๑) วิชาบังคับ	 	 	 ๓๓	 หน่วยกิต
	 	 	 	 		 	 (๒.๒) วิชาเลือก	 	 ไม่น้อยกว่า	 ๙	 หน่วยกิต
	 	 	 	 		 	 (๒.๓) วิชาการฝึกงาน	 	 ไม่น้อยกว่า	 ๓	 หน่วยกิต
	 	 	 	 ค. หมวดวิชาเลือกเสรี	 	 ไม่น้อยกว่า	 ๓	 หน่วยกิต
		 หลักเกณฑ์การใช้รหัสวิชาในหลักสูตร
	 	 รหัสวิชาของรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่สำ�นักบริหารงานวิทยาลัย
ชุมชนกำ�หนด
	 	 รายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ กำ�หนดรหัสวิชาเป็น ศษ ๐๑ xy
หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
25คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
			 ศษ 	หมายถึง เป็นรายวิชาทางด้านศึกษาศาสตร์
	 	 	 ๐๑ 	หมายถึง ลำ�ดับที่ของสาขาวิชาของหลักสูตรอนุปริญญาศึกษาศาสตร์
	 	 	 xy 	 หมายถึง ลำ�ดับที่ของรายวิชา
		 ๕. รายวิชา
			 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 				 ไม่น้อยกว่า๓๐หน่วยกิต
			 กลุ่มวิชาภาษา 	 		 ๙ 	 หน่วยกิต
	 	 	 ศท ๐๑๐๑	 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
	 	 	 	 		 	 	 	 Thai for Communication	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศท ๐๑๐๒	 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑
	 	 	 	 		 	 	 	 English for Communication ๑	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศท ๐๑๐๓	 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๒
	 	 	 	 		 	 	 	 English for Communication ๒	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศท ๐๑๐๔	 ทักษะการพูดและการเขียนภาษาอังกฤษ
	 	 	 	 		 	 	 	 English Speaking and Writing Skills	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศท ๐๑๐๕	 ภาษาประเทศเพื่อนบ้าน
	 	 	 	 		 	 	 	 Languages of Neighboring Countries	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
			 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 	 		 ๖ 	 หน่วยกิต
	 	 	 ศท ๐๒๐๑	 การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์
	 								 General Education for Human Development	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศท ๐๒๐๒	 มนุษย์กับวัฒนธรรม
	 	 	 	 		 	 	 	 Human and Culture	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕
	 	 	 ศท ๐๒๐๓	 สุนทรียภาพของชีวิต
	 	 	 	 		 	 	 	 Aesthetic Appreciation	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
	 		 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 	 		 ๖ 	 หน่วยกิต
	 		 ศท ๐๓๐๑	 จังหวัดศึกษา
									 Province Studies	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศท ๐๓๐๒	 สังคมไทยกับการพัฒนา
									 Thai Social and Development	 	 	 ๓ (๒-๒-๖)
	 		 ศท ๐๓๐๓	 อาเซียนศึกษา
									 ASEAN Studies		 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
	 		 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ 		 ๙	 หน่วยกิต
	 		 ศท ๐๔๐๑	 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
									 Information Technology for Learning	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
26 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
	 		 ศท ๐๔๐๒	 การคิดและการตัดสินใจ
	 								 Thinking and Decision Making	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 		 ศท ๐๔๐๓	 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต
	 								 Life and Environment	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
	 		 ศท ๐๔๐๔	 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
	 	 	 	 		 	 	 	 Science for Life	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
		 ๖.หมวดวิชาเฉพาะ 					 ไม่น้อยกว่า๕๗หน่วยกิต
			 วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 	 		 ๑๒ 	หน่วยกิต
			 ศษ ๐๑๐๑	 จิตวิทยาสำ�หรับครู
		 	 	 		 	 	 	 Psychology for Teacher	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศษ ๐๑๐๒	 จิตวิทยาพัฒนาการและการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย
		 	 	 		 	 	 	 Developmental Psychology and Child care	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศษ ๐๑๐๓	 การศึกษาปฐมวัย
		 	 	 		 	 	 	 Early Childhood Education		 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศษ ๐๑๐๔	 บุคลิกภาพครูปฐมวัย
		 	 	 		 	 	 	 Personality of Early Childhood Teachers	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 		 วิชาชีพ 						 ไม่น้อยกว่า ๔๕ หน่วยกิต
	 		 วิชาบังคับ 	 			 ๓๓ 	หน่วยกิต
	 	 	 ศษ ๐๑๐๕	 หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
	 	 	 	 		 	 	 	 Early Childhood Education Curriculum 		 	 ๓ (๒-๒-๕)
			 ศษ ๐๑๐๖	 การจัดการเรียนรู้
									 Learning and Teaching	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
			 ศษ ๐๑๐๗	 การศึกษาพฤติกรรมเด็ก
	 	 	 	 		 	 	 	 Children Behavior Education	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
			 ศษ ๐๑๐๘	 การจัดประสบการณ์สำ�หรับเด็กปฐมวัย
									 Experience for Early Childhood	 	 	 ๓ (๑-๔-๔)
			 ศษ ๐๑๐๙	 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย
									 Innovation for Early Childhood Development		 ๓ (๒-๒-๕)
			 ศษ ๐๑๑๐	 คุณธรรมและจริยธรรมสำ�หรับเด็กปฐมวัย
									 Ethical Socialization for Early Childhood	 	 ๓ (๒-๒-๕)
			 ศษ ๐๑๑๑	 สื่อการเรียนรู้สำ�หรับเด็กปฐมวัย
									 Learning Media for Early Childhood	 	 	 ๓ (๑-๔-๔)
27คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
			 ศษ ๐๑๑๒	 การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
									 Assessment for Early Childhood Development		 ๓ (๒-๒-๕)
			 ศษ ๐๑๑๓	 โภชนาการสำ�หรับเด็กปฐมวัย	 	 	 	 ๓ (๑-๔-๔)
			 ศษ ๐๑๑๔	 การศึกษาสำ�หรับผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
									 Nutrition for Early Childhood	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
			 ศษ ๐๑๑๕	 โครงการทางการศึกษาปฐมวัย
									 Early Childhood Education Project	 	 	 ๓ (๑-๔-๔)
			 วิชาเลือก					 ไม่น้อยกว่า ๙ หน่วยกิต
	 	 	 ศษ ๐๑๑๖	 สุขภาพอนามัยสำ�หรับมารดาและเด็ก
									 Health and Hygiene for Mother and Child	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศษ ๐๑๑๗	 ศิลปะสำ�หรับครูปฐมวัย
									 Arts for Early Childhood Teacher	 	 	 ๓ (๑-๔-๔)
	 	 	 ศษ ๐๑๑๘	 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ สำ�หรับเด็กปฐมวัย
									 Movement Activity and Rhythm for Early Childhood	 ๓(๑-๔-๔)
	 	 	 ศษ ๐๑๑๙	 นิทานและหุ่นสำ�หรับเด็กปฐมวัย
									 Tale and Puppet for Kids	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศษ ๐๑๒๐	 ภาษาอังกฤษสำ�หรับครูปฐมวัย
									 English for Early Childhood Teachers	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศษ ๐๑๒๑	 หนังสือสำ�หรับเด็กปฐมวัย
									 Books for Early Childhood 		 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศษ ๐๑๒๒	 คอมพิวเตอร์สำ�หรับเด็กปฐมวัย
									 Computer for Early Childhood 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศษ ๐๑๒๓	 สื่ออิเลคทรอนิกส์สำ�หรับครูปฐมวัย
									 Electronic media for Early Childhood teacher		 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศษ ๐๑๒๔	 การจัดการศึกษาสำ�หรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
									 Education for Children with Special Needs	 	 ๓ (๒-๒-๕)
			 วิชาการฝึกงาน	 			 ๓ หน่วยกิต
		 	 ศษ ๐๑๒๕	 ฝึกงาน 	 	 	 	             ๓ (๒๐๐ ชั่วโมง)
	 								 Practicum
		 ๗. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกิต
	 	 ให้เลือกเรียนรายวิชาต่างๆจากหมวดวิชาศึกษาทั่วไปหรือหมวดวิชาเฉพาะในสาขาวิชาเดียวกันหรือ
ต่างสาขาวิชาก็ได้ หรือเลือกจากหลักสูตรอื่นใดในระดับเดียวกันจากวิทยาลัยชุมชนอื่นๆ โดยไม่ซํ้าช้อนกับ
วิชาที่เรียนมาแล้วและต้องไม่เป็นรายวิชาที่อยู่ในระดับเดียวกันที่กำ�ลังศึกษาอยู่ รายวิชาที่หลักสูตรระบุไม่ให้
นับหน่วยกิตในการขอจบหลักสูตรจะเลือกเรียนเป็นวิชาเลือกเสรีไม่ได้
28 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
		 ๘. แผนการจัดการศึกษาตลอดหลักสูตรอนุปริญญาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
หมวดวิชา
จำ�นวนหน่วยกิต
ปีที่ ๑ ปีที่ ๒ ปีที่ ๓
ภาค
การศึกษา
ที่ ๑
ภาค
การศึกษา
ที่ ๒
ภาค
ฤดูร้อน
ภาค
การศึกษา
ที่ ๑
ภาค
การศึกษา
ที่ ๒
ภาค
ฤดูร้อน
ภาค
การศึกษา
ที่ ๑
๑. หมวดศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต ๓ ๙ ๓ ๙ ๖ - -
๒. หมวดวิชาเฉพาะ ๕๗ หน่วยกิต
๒.๑ วิชาพื้นฐานวิชาชีพ ๑๒ หน่วยกิต - - ๓ - - -
๒.๒ วิชาชีพ ๔๕ หน่วยกิต
๑) วิชาบังคับ ๓๓ หน่วยกิต ๓ ๖ ๓ ๓ ๖ ๖ ๖
๒) วิชาเลือก ๙ หน่วยกิต - - ๓ - - - ๖
๓) วิชาการฝึกงาน ๓ หน่วยกิต - - - - ๓ - -
๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๓ หน่วยกิต - - - - - ๓ -
รวม ๑๕ ๑๕ ๙ ๑๕ ๑๕ ๙ ๑๒
	 ๙. แสดงแผนการศึกษา
ปีที่ ๑ ภาคการศึกษาที่ ๑
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต(ท-ป-ศ)
ศึกษาทั่วไป ศท ๐๑๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑ ๓ (๒-๒-๕)
ศึกษาทั่วไป ศท ๐๓๐๒ สังคมไทยเพื่อการพัฒนา ๓ (๒-๒-๕)
ศึกษาทั่วไป ศท ๐๔๐๔ วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต ๓ (๓-๐-๖)
วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๐๖ การจัดการเรียนรู้ ๓ (๒-๒-๕)
วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๐๗ การศึกษาพฤติกรรมเด็ก ๓ (๒-๒-๕)
รวม ๑๕
ปีที่ ๑ ภาคการศึกษาที่ ๒
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต(ท-ป-ศ)
ศึกษาทั่วไป ศท ๐๑๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑ ๓ (๒-๒-๕)
ศึกษาทั่วไป ศท ๐๓๐๒ สังคมไทยเพื่อการพัฒนา ๓ (๒-๒-๕)
ศึกษาทั่วไป ศท ๐๔๐๔ วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต ๓ (๓-๐-๖)
วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๐๖ การจัดการเรียนรู้ ๓ (๒-๒-๕)
วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๐๗ การศึกษาพฤติกรรมเด็ก ๓ (๒-๒-๕)
รวม ๑๕
29คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
ภาคฤดูร้อน
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต(ท-ป-ศ)
ศึกษาทั่วไป ศท ๐๑๐๔ ทักษะการพูดและเขียนภาษาอังกฤษ ๓ (๒-๒-๕)
วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๑๑ สื่อการเรียนรู้สำ�หรับเด็กปฐมวัย ๓ (๑-๔-๔)
วิชาชีพเลือก ศษ ๐๑๑๖ สุขภาพอนามัยสำ�หรับมารดาและเด็ก ๓ (๒-๒-๕)
รวม ๙
ปีที่ ๒ ภาคการศึกษาที่ ๑
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต(ท-ป-ศ)
ศึกษาทั่วไป ศท ๐๔๐๓ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ๓ (๓-๐-๖)
ศึกษาทั่วไป ศษ ๐๔๐๒ การคิดและการตัดสินใจ ๓ (๒-๒-๕)
ศึกษาทั่วไป ศท ๐๒๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๓-๐-๖)
วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๐๕ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ๓ (๒-๒-๕)
วิชาชีพเลือก ศษ ๐๑๑๘ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะสำ�หรับเด็กปฐมวัย ๓ (๑-๔-๔)
รวม ๑๕
ปีที่ ๒ ภาคการศึกษาที่ ๒
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต(ท-ป-ศ)
ศึกษาทั่วไป ศษ ๐๔๐๑ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ๓ (๒-๒-๕)
ศึกษาทั่วไป ศษ ๐๔๐๑ จังหวัดศึกษา ๓ (๒-๒-๕)
วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๐๙ นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย ๓ (๒-๒- ๕)
วิชาชีพบังคับ ศท ๐๑๐๘ การจัดประสบการณ์สำ�หรับเด็กปฐมวัย ๓ (๑-๔-๔)
วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๑๔ การศึกษาสำ�หรับผู้ปกครองเด็กปฐมวัย ๓ (๒-๒- ๕)
รวม ๑๕
ภาคฤดูร้อน
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต(ท-ป-ศ)
วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๑๒ การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย ๓ (๒-๒-๕)
วิชาชีพเลือก ศษ ๐๑๑๙ นิทานและหุ่นสำ�หรับเด็กปฐมวัย ๓ (๒-๒-๕)
วิชาเลือกเสรี ศษ ๐๑๒๔ การจัดการศึกษาสำ�หรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ๓ (๒-๒-๕)
รวม ๙
	
ปีที่ ๓ ภาคการศึกษาที่ ๑
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต(ท-ป-ศ)
วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๑๐ คุณธรรมและจริยธรรมสำ�หรับเด็กปฐมวัย ๓ (๒-๒-๕)
วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๑๓ โภชนาการสำ�หรับเด็กปฐมวัย ๓ (๑-๔-๔)
วิชาการฝึกงาน ศษ ๐๑๒๕ ฝึกงาน ๓ (๒๐๐)
วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๑๕ โครงการทางการศึกษาปฐมวัย ๓(๑-๔-๔)
รวม ๑๒
30 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
หลักสูตรอนุปริญญาศิลปศาสตร์ สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น
๑. รหัสและชื่อหลักสูตร
	 ชื่อเต็ม (ไทย) : อนุปริญญาศิลปศาสตร์ สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น
		 ชื่อย่อ (ไทย) : อ.ศศ. (การปกครองท้องถิ่น)
		 ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Associate of Arts Program in Local Government
ชื่อย่อ (อังกฤษ) 	: A.A. (Local Government)
๒. ปรัชญาหลักสูตร
	 	 มุ่งสร้างปัญญา พัฒนาท้องถิ่น ใกล้ชิดประชาชน
๓. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
	 	 เพื่อสร้างผู้เรียนให้เป็นนักพัฒนาท้องถิ่น ที่มีคุณลักษณะ ดังนี้
	 	 ๓.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด หลักการ ที่สำ�คัญของสาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น.
		 ๓.๒สามารถใช้ความรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในท้องถิ่น
	 	 ๓.๓ มีความตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
	 	 ๓.๔ มีมนุษย์สัมพันธ์และมีความรับผิดชอบต่องาน ตนเอง และสังคม
	 	 ๓.๕ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมทั้งนำ�ข้อมูล สถิติ ตัวเลข
มาใช้ในการปฏิบัติงานในท้องถิ่น
๔. โครงสร้างหลักสูตร อนุปริญญาศิลปศาสตร์ สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น 	๙๑ หน่วยกิต
	 	 โดยมี รายละเอียดหลักสูตรแบ่งเป็นหมวดวิชา ดังนี้
	 	 ๔.๑ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป	 	 ไม่น้อยกว่า 	 ๓๐	 หน่วยกิต
	 	 ๔.๒ หมวดวิชาเฉพาะ		 	 ไม่น้อยกว่า	 ๕๘	 หน่วยกิต
	 	 ๔.๓ หมวดเลือกเสรี	 	 	 ไม่น้อยกว่า	 ๓	 หน่วยกิต
๕. รายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ 		 ไม่น้อยกว่า	 ๕๘ 	หน่วยกิต
		 ๕.๑) กลุ่มวิชาแกน 			 ไม่น้อยกว่า	 ๑๘	 หน่วยกิต
			 รหัสวิชา		 ชื่อวิชา 					 น(ท-ป-ศ)
	 	 	 ศศ ๐๒๐๑	 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์
		 							 (Introduction to Political Science)	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๐๒ 	 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
	 								 (Introduction to Laws) 	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
	 	 	 ศศ ๐๒๐๓	 การเมืองการปกครองของไทย
	 								 (Thai Politics and Government)	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
	 	 	 ศศ ๐๒๐๔	 การปกครองท้องถิ่นไทย
	 								 (Thai Local Governing)	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
31คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
	 	 	 ศศ ๐๒๐๕	 เศรษฐศาสตร์ทั่วไป
	 								 (General Economics)	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
	 	 	 ศศ ๐๒๐๖	 องค์การและการจัดการ
	 								 (Organization and Management)	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 ๕.๒) กลุ่มวิชาบังคับ 				 ไม่น้อยกว่า 	 ๓๐ 	หน่วยกิต	
			 รหัสวิชา		 ชื่อวิชา					 น(ท-ป-ศ)
	 	 	 ศศ ๐๒๐๗	 ภูมิปัญญาในหลวง
	 								 (The King Wisdom)	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๐๘	 การวิจัยทางสังคมศาสตร์เบื้องต้น
	 								 (Introduction to Social Science Research)	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๐๙	 การบริหารโครงการและงบประมาณ
	 								 (Project and Budget Management)	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๑๐	 การบริหารงานคลังท้องถิ่น
	 								 (Local Financial Management)	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๑๑	 การบริหารการพัฒนาท้องถิ่น
	 								 (Local Administrative Development)	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๑๒	 นโยบายสาธารณะและการวางแผน
	 								 (Public Policy and Planning)	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๑๓	 สังคมและวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น
	 								 (Society and Culture of Local Community)	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๑๔	 ภาวะผู้นำ�
	 								 (Leaderships)	 	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๑๕	 จิตวิทยาสังคม
	 								 (Social Psychology)	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๑๖	 สัมมนาการปกครองท้องถิ่น
	 								 (Seminar on Local Government)	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 ๕.๓) วิชาเลือก 				 ไม่น้อยกว่า	 ๖ 	 หน่วยกิต
			 รหัสวิชา		 ชื่อวิชา					 น(ท-ป-ศ)
	 	 	 ศศ ๐๒๑๗	 กฎหมายอาญา ๑ : ภาคทั่วไป
	 								 (Criminal Laws : General Principles)	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
	 	 	 ศศ ๐๒๑๘	 กฎหมายอาญา ๒ : ภาคความผิด
	 								 (Criminal Laws : Offense)	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
	 	 	 ศศ ๐๒๑๙	 กฎหมายปกครอง
	 								 (Administrative Laws)	 	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
32 คู่มือนักศึกษา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
	 	 	 ศศ ๐๒๒๐	 การจัดซื้อและจัดจ้าง
	 								 (Procurement)		 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๒๑	 การจัดสวัสดิการสังคม
	 								 (Social Welfare Management)	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๒๒	 สุขภาวะชุมชน
	 								 (Community Health)	 	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๒๓	 การจัดการท่องเที่ยวชุมชน
	 								 (Community Tourism Management)	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
	 	 	 ศศ ๐๒๒๔	 การจัดผังเมืองและการโยธา
	 								 (Public Works and Town & Country Planning)		 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๒๕	 การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
	 								 (Communication for local Development)	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๒๖	 การจัดการวิสาหกิจชุมชน
	 								 (Community Enterprise Management)	 	 	 ๓ (๒-๒-๕)
	 	 	 ศศ ๐๒๒๗	 รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง
	 								 (Constitution and Political Institutions)	 	 	 ๓ (๓-๐-๖)
		 ๕.๔) วิชาการฝึกงาน			 จำ�นวน 	 ๔ 	 หน่วยกิต
	 		 รหัสวิชา		 ชื่อวิชา					 น (ท-ป-ศ)
	 	 	 ศศ ๐๒๒๘	 การฝึกประสบการณ์การปกครองท้องถิ่น
	 								 (Field Experience in Local Governing)	 	 	 ๔  (๒๔๐ชม.)
		 ๖. หมวดเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกิต
	 	 ให้เลือกเรียนรายวิชาจากหลักสูตรอนุปริญญาของวิทยาลัยชุมชน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) และ
ต้องไม่ซํ้ากับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกิต
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57
คู่มือนักศึกษา57

More Related Content

Similar to คู่มือนักศึกษา57

แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนsompriaw aums
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนNatda Wanatda
 
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailแนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailxwarx
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57คมสัน คงเอี่ยม
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ยางนาสาร ฉบับที่ 70
ยางนาสาร ฉบับที่  70ยางนาสาร ฉบับที่  70
ยางนาสาร ฉบับที่ 70Mr-Dusit Kreachai
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55Montree Jareeyanuwat
 
ถอดบทเรียนครูสอนดี
ถอดบทเรียนครูสอนดีถอดบทเรียนครูสอนดี
ถอดบทเรียนครูสอนดีPinmanas Kotcha
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยpentanino
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเองการพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเองดำรง โยธารักษ์
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียนtomodachi7016
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนjulee2506
 

Similar to คู่มือนักศึกษา57 (20)

จุดเน้นที่ 2
จุดเน้นที่  2จุดเน้นที่  2
จุดเน้นที่ 2
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
Asean 007
Asean 007Asean 007
Asean 007
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailแนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
 
Rub 1
Rub 1Rub 1
Rub 1
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
 
ยางนาสาร ฉบับที่ 70
ยางนาสาร ฉบับที่  70ยางนาสาร ฉบับที่  70
ยางนาสาร ฉบับที่ 70
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
 
ถอดบทเรียนครูสอนดี
ถอดบทเรียนครูสอนดีถอดบทเรียนครูสอนดี
ถอดบทเรียนครูสอนดี
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเองการพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 

More from หนุ่ม ครูคอม

รับสมัครพนักงานจ้างเหมา 5 ตำแหน่ง
รับสมัครพนักงานจ้างเหมา 5 ตำแหน่งรับสมัครพนักงานจ้างเหมา 5 ตำแหน่ง
รับสมัครพนักงานจ้างเหมา 5 ตำแหน่งหนุ่ม ครูคอม
 
แต่งตั้งอาจารย์พิเศษหลักสูตรอนุปริญญา รหัส 57 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2557
แต่งตั้งอาจารย์พิเศษหลักสูตรอนุปริญญา รหัส 57 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2557แต่งตั้งอาจารย์พิเศษหลักสูตรอนุปริญญา รหัส 57 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2557
แต่งตั้งอาจารย์พิเศษหลักสูตรอนุปริญญา รหัส 57 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2557หนุ่ม ครูคอม
 
ประกาศรับสมัครจ้างเหมาพนักงานรักษาความปลอดภัย
ประกาศรับสมัครจ้างเหมาพนักงานรักษาความปลอดภัยประกาศรับสมัครจ้างเหมาพนักงานรักษาความปลอดภัย
ประกาศรับสมัครจ้างเหมาพนักงานรักษาความปลอดภัยหนุ่ม ครูคอม
 
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57com
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57comรายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57com
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57comหนุ่ม ครูคอม
 
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57en
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57enรายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57en
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57enหนุ่ม ครูคอม
 
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57si
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57siรายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57si
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57siหนุ่ม ครูคอม
 
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57 thai
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57 thaiรายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57 thai
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57 thaiหนุ่ม ครูคอม
 
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57ma
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57maรายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57ma
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57maหนุ่ม ครูคอม
 
ตารางเรียนปรับพื้นฐาน57
ตารางเรียนปรับพื้นฐาน57ตารางเรียนปรับพื้นฐาน57
ตารางเรียนปรับพื้นฐาน57หนุ่ม ครูคอม
 
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานการเงินและบัญชี
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานการเงินและบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานการเงินและบัญชี
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานการเงินและบัญชีหนุ่ม ครูคอม
 
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาละหานทราย
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาละหานทรายประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาละหานทราย
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาละหานทรายหนุ่ม ครูคอม
 
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาแม่ชีไทย
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาแม่ชีไทยประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาแม่ชีไทย
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาแม่ชีไทยหนุ่ม ครูคอม
 
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษบ้านกรวด
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษบ้านกรวดประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษบ้านกรวด
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษบ้านกรวดหนุ่ม ครูคอม
 
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษานางรอง
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษานางรองประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษานางรอง
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษานางรองหนุ่ม ครูคอม
 
ผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาดอนมนต์
ผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาดอนมนต์ผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาดอนมนต์
ผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาดอนมนต์หนุ่ม ครูคอม
 
ผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาคูเมือง
ผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาคูเมืองผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาคูเมือง
ผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาคูเมืองหนุ่ม ครูคอม
 

More from หนุ่ม ครูคอม (19)

รับสมัครพนักงานจ้างเหมา 5 ตำแหน่ง
รับสมัครพนักงานจ้างเหมา 5 ตำแหน่งรับสมัครพนักงานจ้างเหมา 5 ตำแหน่ง
รับสมัครพนักงานจ้างเหมา 5 ตำแหน่ง
 
แต่งตั้งอาจารย์พิเศษหลักสูตรอนุปริญญา รหัส 57 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2557
แต่งตั้งอาจารย์พิเศษหลักสูตรอนุปริญญา รหัส 57 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2557แต่งตั้งอาจารย์พิเศษหลักสูตรอนุปริญญา รหัส 57 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2557
แต่งตั้งอาจารย์พิเศษหลักสูตรอนุปริญญา รหัส 57 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2557
 
ประกาศรับสมัครจ้างเหมาพนักงานรักษาความปลอดภัย
ประกาศรับสมัครจ้างเหมาพนักงานรักษาความปลอดภัยประกาศรับสมัครจ้างเหมาพนักงานรักษาความปลอดภัย
ประกาศรับสมัครจ้างเหมาพนักงานรักษาความปลอดภัย
 
ปฏิทิน 57 นักศึกษารหัส55
ปฏิทิน 57 นักศึกษารหัส55ปฏิทิน 57 นักศึกษารหัส55
ปฏิทิน 57 นักศึกษารหัส55
 
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57com
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57comรายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57com
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57com
 
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57en
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57enรายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57en
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57en
 
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57si
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57siรายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57si
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57si
 
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57 thai
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57 thaiรายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57 thai
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57 thai
 
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57ma
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57maรายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57ma
รายชื่อนักศึกษาเรียนปรับพื้นฐาน57ma
 
ตารางเรียนปรับพื้นฐาน57
ตารางเรียนปรับพื้นฐาน57ตารางเรียนปรับพื้นฐาน57
ตารางเรียนปรับพื้นฐาน57
 
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานการเงินและบัญชี
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานการเงินและบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานการเงินและบัญชี
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานการเงินและบัญชี
 
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาละหานทราย
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาละหานทรายประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาละหานทราย
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาละหานทราย
 
แม่ข่าย
แม่ข่ายแม่ข่าย
แม่ข่าย
 
แม่ข่าย
แม่ข่ายแม่ข่าย
แม่ข่าย
 
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาแม่ชีไทย
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาแม่ชีไทยประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาแม่ชีไทย
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษาแม่ชีไทย
 
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษบ้านกรวด
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษบ้านกรวดประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษบ้านกรวด
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษบ้านกรวด
 
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษานางรอง
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษานางรองประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษานางรอง
ประกาศผลสอบวัดความรู้พื้่นฐานหน่วยจัดการศึกษานางรอง
 
ผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาดอนมนต์
ผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาดอนมนต์ผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาดอนมนต์
ผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาดอนมนต์
 
ผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาคูเมือง
ผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาคูเมืองผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาคูเมือง
ผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานหน่วยจัดการศึกษาคูเมือง
 

คู่มือนักศึกษา57

  • 1. 1คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์เล่มนี้ ประกอบด้วยเนื้อหาสาระสำ�คัญเกี่ยว กับวิทยาลัยชุมชน เช่น ประวัติวิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์พอสังเขป ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจของวิทยาลัย บุคลากรของวิทยาลัย โครงสร้างหลักสูตรอนุปริญญาของ วิทยาลัยชุมชน ข้อบังคับเกี่ยวกับสัญลักษณ์ เครื่องแต่งกายของนักศึกษาวิทยาลัยชุมชน ความรู้เรื่องเกี่ยวกับแนวปฏิบัติในการลงทะเบียน การเข้าเรียน การโอนผลการเรียน การ เข้าสอบ การพ้นสภาพ การเขียนคำ�ร้องต่างๆ นอกจากนั้น ยังมีรายละเอียดเกี่ยวกับทุน การศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา และแผนการจัดการเรียนของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ คู่มือนัก ศึกษาเล่มนี้ จะเป็นแนวทางให้นักศึกษาใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติตลอดระยะเวลาที่ศึกษา เล่าเรียนในวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ จึงหวังว่า นักศึกษาทุกคนจะได้ใช้ประโยชน์จากคู่มือเล่มนี้ อย่างมีคุณค่า ด้วยความปรารถนาดี งานกิจการนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ก คำ�นำ�
  • 2. 2 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ สารบัญ .......................................................................................................................หน้า คำ�นำ� ก สารจากประธานสภาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ข สารจากผู้อำ�นวยการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ค ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับวิทยาลัยชุมชน ๖ ✪ ช่วงที่ ๑ พ.ศ. ๑๕๔๔ ๖ ✪ ช่วงที่ ๒ พ.ศ. ๑๕๔๕-๒๕๔๖ ๖ ✪ ช่วงที่ ๓ พ.ศ. ๑๕๔๖-ปัจจุบัน ๗ ✪ ปรัชญา ๘ ✪ หลักการ ๘ ✪ วิสัยทัศน์ ๘ ✪ พันธกิจ ๘ ✪ โครงสร้างองค์กรวิทยาลัยชุมชน ๘ วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ๙ ✪ ปรัชญา ๑๐ ✪ วิสัยทัศน์ ๑๐ ✪ พันธกิจ ๑๐ ✪ โครงสร้างองค์กรวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ๑๑ ✪ สถานที่ตั้งวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๓ - ปัจจุบัน ๑๒ ✪ หน่วยจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ ๑๒ ✪ แผนภาพ แสดงที่ตั้งวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์และหน่วยจัดการศึกษาปี ๕๓-๕๖ ๑๓ คณะกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปี ๒๕๕๖ ๑๔ คณะกรรมการสภาวิชาการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปี ๒๕๕๖ ๑๕ ผู้อำ�นวยการ รองผู้อำ�นวยการ และหัวหน้าหน่วยจัดการศึกษา ปี ๒๕๕๖ ๑๖ รายชื่อผู้ประสานหน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปี ๒๕๕๖ ๑๖ ✪ บุคลากรวิทยาลัยชุมชน ปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ ๑๗ หัวข้อและรายละเอียดของหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ๑๘ หัวข้อและรายละเอียดของหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ๒๔ หัวข้อและรายละเอียดของหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น ๓๐ ✪ หลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสร้างประสบการณ์ด้านอาชีพและคุณภาพชีวิต ๓๓ ✪ ข้อบังคับสำ�นักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน ๓๖ ว่าด้วย เครื่องแต่งกายสำ�หรับผู้สำ�เร็จการศึกษาจากวิทยาลัยชุมชน ๓๖
  • 3. 3คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ สารบัญ .......................................................................................................................หน้า หมวดที่ ๑ เข็มวิทยฐานะ ๓๖ หมวดที่ ๒ ตรา เครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์ ๓๗ หมวดที่ ๓ เครื่องแบบ เครื่องหมาย เครื่องแต่งกายนักศึกษา ๓๗ หมวดที่ ๔ เครื่องแบบผู้สำ�เร็จการศึกษาหลักสูตรอนุปริญญาหรือเทียบเท่า ๓๘ ✪ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเก็บเงินบำ�รุงการศึกษาวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๕ ๔๑ ✪ ความรู้เรื่องเกี่ยวกับงานทะเบียนวัดผลและประเมินผล ๔๓ ✪ ความรู้เรื่องทุนการศึกษาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ๕๐ ✤ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ๕๐ ✤ ทุนให้เปล่า ๕๔ หลักเกณฑ์การพิจารณาทุนการศึกษา ๕๕ ✤ ทุนอุดหนุนทางการศึกษาสำ�หรับนักศึกษาพิการ ๕๖ ✪ ความรู้เรื่องนโยบายเกี่ยวกับอาจารย์ที่ปรึกษา ๕๗ แผนการเรียนหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น ๕๘ แผนการเรียนหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ๕๙ แผนการเรียนหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ๖๐ แผนการเรียนหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ๖๑ ภาคผนวก ๖๒ ✪ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการปฏิบัติของผู้เข้าสอบ พ.ศ. ๒๕๔๘ ๖๓ ✪ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอนุปริญญา พ.ศ. ๒๕๔๘ ๖๕ ✪ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาตามหลักสูตร วิทยาลัยชุมชน ระดับอนุปริญญา พุทธศักราช ๒๕๔๕ ๖๙ ✪ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการโอนผลการเรียนและการเทียบยกเว้นรายวิชา ตามหลักสูตรวิทยาลัยชุมชน ระดับอนุปริญญา พุทธศักราช ๒๕๔๕ ๗๔ ✪ แบบคำ�ขอกู้ยืมเงิน กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กยศ. ๑๐๑-๑ ถึง กยศ. ๑๐๑-๔ ๗๗ ✪ ตัวอย่างสำ�หรับผู้ขอกู้กรอกผ่านระบบ e-Studentloan (กยศ. ๑๐๑) ๘๑ ✪ ใบสมัครขอรับทุนการศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ๘๒ ความเห็นของอาจารย์ที่ปรึกษา
  • 4. 4 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ข ในนามของสภามหาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ขอต้อนรับและแสดงความยินดีกับ นักศึกษาทุกคน ที่ได้เข้ามาศึกษาเล่าเรียน ณ วิทยาลัยชุมชนแห่งนี้ ซึ่งมีความมุ่งมั่นในการ พัฒนาประชาชน ทุกเพศทุกวัย อย่างมีคุณภาพ และเพื่อให้ประชาชนที่มีคุณภาพเหล่านั้น ไปพัฒนาตนเองและประเทศชาติต่อไป มนุษย์ทุกคนมีศักยภาพในการศึกษาเล่าเรียนด้วยกัน ทั้งนั้น แต่หลายคนไม่ได้รับการศึกษาเนื่องจากขาดโอกาสด้วยเหตุผลบางประการวิทยาลัย ชุมชนจะทำ�หน้าที่เติมเต็มโอกาสทางการศึกษาที่ขาดไป สำ�หรับทุกคน ทุกเพศ และทุกวัย การศึกษาเป็นเครื่องมืออันสำ�คัญประการหนึ่ง ในการพัฒนาชีวิตมนุษย์ จึงหวัง ว่า นักศึกษาทุกคน จะใช้โอกาสที่ได้รับนี้อย่างเต็มที่ ผลของการศึกษาเล่าเรียนที่วิทยาลัย ชุมชนบุรีรัมย์ จะส่งเสริมให้นักศึกษาทุกคนเป็นคนดีของสังคม มีความรู้ความสามารถใน การประกอบอาชีพเป็นอย่างดี รวมทั้งชีวิตของตนเองและครอบครัวมีความสุข ขอให้นักศึกษา ศึกษาคู่มือนักศึกษาเล่มนี้ ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ และปฏิบัติตาม ระเบียบต่างๆ เพราะคู่มือนักศึกษา เป็นแนวทางให้นักศึกษาใช้ตลอดเวลาที่ศึกษาเล่าเรียน ขออวยพรให้นักศึกษาทุกคน ประสบความสำ�เร็จในการศึกษาเล่าเรียน และในการ ดำ�เนินชีวิตต่อไป ด้วยความปรารถนาดี (ผศ.ดร.ปราโมทย์ เบญจกาญจน์) ประธานสภาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ สารจากประธานสภาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
  • 5. 5คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ค วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ก่อตั้งขึ้นมาภายใต้ปรัชญาที่ว่า “การศึกษามีคุณค่า ต่อบุคคล และสังคม โดยรวม” จึงได้กำ�หนดพันธกิจของวิทยาลัยชุมชนไว้ดังนี้ จัดการศึกษาระดับ อนุปริญญา จัดหลักสูตรฝึกอบรมพัฒนาทักษะและประสบการณ์ด้านอาชีพ และส่งเสริม คุณภาพชีวิต และจัดการความรู้เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในระบบการเรียนการสอนของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ จึงได้จัดทำ�คู่มือนักศึกษาซึ่งมีองค์ประกอบ สำ�คัญดังนี้ 1. โครงสร้างหลักสูตรอนุปริญญาและหลักสูตรฝึกอบรม 2. ข้อบังคับสำ�นักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน 3. ความรู้เกี่ยวกับงานทะเบียน วัดผล 4. ความรู้เรื่องทุนการศึกษา 5. ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเก็บเงินบำ�รุงการศึกษา (ฉบับร่าง) หวังเป็นอย่างยิ่งว่านักศึกษา จะได้ศึกษาคู่มือนี้อย่างละเอียด เพื่อประโยชน์ในการ เรียนและการปฏิบัติตน ตลอดเวลาที่เป็นนักศึกษาของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ขอเป็นกำ�ลังใจให้นักศึกษาทุกท่าน ในการศึกษาทุกหลักสูตร และขอให้นักศึกษา ทุกท่านประสบความสำ�เร็จ และมีความเจริญก้าวหน้า เป็นสมาชิกที่ดี และร่วมกันสร้าง คุณภาพชีวิต ร่วมสร้างสรรค์สังคมที่น่าอยู่ต่อไป นายสุรศักดิ์ ศรีสว่างรัตน์ ผู้อำ�นวยการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ สารจากผู้อำ�นวยการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
  • 6. 6 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ วิทยาลัยชุมชน เป็นสถานศึกษาของรัฐในสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา มีหน้าที่จัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาระดับตํ่ากว่าปริญญา โดยมี“กฎกระทรวง ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาตํ่ากว่าปริญญาในรูปแบบวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๖” เป็นกฎหมายรองรับการดำ�เนินงานของวิทยาลัยชุมชน การจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนในประเทศไทยได้มีการวางรากฐาน และพัฒนาให้เจริญก้าวหน้า มาตลอด ๑๐ ปี ดังนี้ ช่วงที่ ๑ พ.ศ.๒๕๔๔ : จัดตั้งสำ�นักงานโครงการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชน ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธิการ (ในขณะนั้น) ได้จัดทำ� “แนวคิดและ หลักการวิทยาลัยชุมชน” ซึ่งเปรียบเสมือน พิมพ์เขียวในการดำ�เนินงานในประเทศไทย เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2544 มีการตั้งคณะ ทำ�งาน เตรียมการจัดตั้ง พร้อมจัดตั้งสำ�นักงานโครงการวิทยาลัยชุมชน เพื่อเป็นหน่วยงาน สนับสนุน ช่วงที่ ๒ พ.ศ.๒๕๔๕ - ๒๕๔๖ : จัดตั้งวิทยาลัยชุมชน คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๔๕ เห็นชอบในหลักการ โครงการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชน โดยแนวทางในการก่อตั้งวิทยาลัยชุมชน “นำ�ร่อง” คือการ หลอมรวมสถานศึกษาที่มีภารกิจใกล้เคียงกัน ให้ทำ�งานประสานเป็นเครือข่ายและจัดการ ศึกษาในส่วนที่ขาด เพื่อความเป็นเอกภาพทางการศึกษา โดยเลือกสถานศึกษา ๑๐ แห่ง มาเป็นวิทยาลัยชุมชน โดยได้สถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา ๓ แห่ง และกรมการศึกษา นอกโรงเรียน ๗ แห่ง พร้อมปรับระบบบริหารจัดการใหม่ตามหลักการวิทยาลัยชุมชน ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับวิทยาลัยชุมชน (Community College)
  • 7. 7คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ วันที่๑๗เมษายนพ.ศ.๒๕๔๕ได้ประกาศจัดตั้งวิทยาลัยชุมชน๑๐แห่งคือวิทยาลัย ชุมชนแม่ฮ่องสอน /ตาก /พิจิตร /อุทัยธานี /สระแก้ว /มุกดาหาร /บุรีรัมย์ /หนองบัวลำ�ภู/ ระนอง /นราธิวาส ช่วงที่ ๓ พ.ศ.๒๕๔๖ – ปัจจุบัน : วิทยาลัยชุมชนในสังกัดสำ�นักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา วันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๖ มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ ออกตามความในพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.๒๕๔๕ ได้บัญญัติให้มีกระทรวงศึกษาธิการ ตามพระราชพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ บัญญัติให้ ปรับสำ�นักงานส่งเสริมวิทยาลัยชุมชน เข้าสู่โครงสร้างใหม่สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ต่อมาประกาศใช้ “กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ตํ่ากว่าปริญญารูปแบบวิทยาลัยชุมชน พ.ศ.๒๕๔๖” ขึ้น โดยให้วิทยาลัยชุมชนเป็นส่วน ราชการในสำ�นักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน บริหาร งานโดยหน่วยนโยบาย ประกอบด้วย คณะกรรมการการอุดมศึกษา คณะกรรมการวิทยาลัย ชุมชน และสำ�นักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน หน่วยปฏิบัติการ ประกอบด้วยสภาวิทยาลัย ชุมชน และวิทยาลัยชุมชน (ผู้บริหารวิทยาลัย สภาวิชาการ และหน่วยจัดการศึกษา) โดยปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖ มีการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนทั่วประเทศทั้งสิ้น จำ�นวน ๒๐ แห่ง ได้แก่ วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน/ ตาก/ พิจิตร/ อุทัยธานี/ แพร่/ น่าน/ บุรีรัมย์/ มุกดาหาร/ หนองบัวลำ�ภู/ ยโสธร สระแก้ว/ ตราด/ สมุทรสาคร/ ระนอง/ นราธิวาส/ ยะลา/ พังงา/ สตูล/ ปัตตานี/ สงขลา
  • 8. 8 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปรัชญา เสริมสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อเพิ่มคุณค่าชีวิตและศักยภาพ ของบุคคลและชุมชน หลักการ ๑. บริการทีี่เปิดกว้าง เข้าถึงง่าย หลักสูตรหลากหลาย ๒. ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน ๓. ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ และผนึกกำ�ลังเครือข่ายชุมชน ๔. ใช้ทรัพยากรของรัฐและเอกชนที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ๕. การจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนเป็นการริเริ่มจากชุมชน วิสัยทัศน์ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาชองวิทยาลัยชุมชน เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิตชองชุมชน พันธกิจ ๑. จัดการศึกษาระดับตํ่ากว่าปริญญาทั้งสายวิชาการและวิชาชีพ ในหลักสูตร อนุปริญญา และหลักสูตรประกาศนียบัตรที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน ๒. ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ ทักษะการเรียนรู้ และทักษะชีวิต ๓. บริการทางวิชาการต่อชุมชน ๔. วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และวิจัยสถาบันเพื่อการพัฒนาการดำ�เนินงาน ๕. มีส่วนร่วมในการทำ�นุบำ�รุงศาสนาและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมกับชุมชน
  • 9. 9คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ โครงสร้างองค์กรวิทยาลัยชุมชน กระทรวงศึกษาธิการ สํานักบริหารงานวชช. คณะกรรมการ อุดมศึกษา หน่วยงาน/องค์กร คณะกรรมการวชช. นโยบาย ส่วนวิทยาลัย ส่วนกลาง นโยบาย เครือข่าย หน่วยปฏิบัติการ หน่วยนโยบาย นโยบาย ประชาชน การบริหารงานของระบบวิทยาลัยชุมชน สกอ. วิทยาลัยชุมชนจังหวัด สภาวิทยาลัยชุมชน สภาวิชาการวชช. คณะกรรมการ หน่วยจัด การศึกษา ความต้องการ หน่วยจัด ห้องเรียน งานบริการ และกิจการ นักศึกษา งานจัดตั้งและ บริการระบบ เครือข่าย งาน อํานวยการ และสนับสนุน งานจัดการ เรียนการสอน และวิชาการ การมีส่วนร่วม
  • 10. 10 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ (Buriram Community College) ปรัชญา การศึกษามีคุณค่า ต่อบุคคลและสังคมโดยส่วนรวม วิสัยทัศน์ ภายในปี ๒๕๖๐ วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์เป็นองค์กรหลักในการจัดการความรู้ เป็นแหล่งเรียนรู้ให้บริการทางการศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน พันธกิจ ๑. จัดการศึกษาระดับอนุปริญญาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอุดมศึกษา ๒. จัดฝึกอบรมและบริการทางวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ๓. ส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยเพื่อการเรียนการสอนและวิจัยชุมชน ๔. อนุรักษ์ สืบสานศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ๕. บริหารจัดการเชิงธรรมาภิบาล เอกลักษณ์ เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน อัตลักษณ์ ทำ�งานร่วมกับชุมชนไได้ สีประจำ�วิทยาลัย สีเขียวอ่อน - สีขาว ดอกไม้ประจำ�วิทยาลัย ดอกบัว ต้นไม้ประจำ�วิทยาลัย ต้นมะค่าแต้ สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
  • 11. 11คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ โครงสร้างองค์กรวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ คณะกรรมการสภา วชช.บุรีรัมย์ คณะกรรมการ สภาวิชาการ วชช.บุรีรัมย์ หน่วยจัด การศึกษา กลุ่มงาน อํานวยการ กลุ่มงาน นโยบายแผน และ งบประมาณ ๑. วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ๒.หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก ๓. หน่วยจัดการศึกษาอําเภอพลับพลาชัย ๔. หน่วยจัดการเทศบาลเมืองนางรอง ๕. หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนกระสังพิทยาคม ๖. หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านกรวดวิทยาคาร ๗. หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนเมืองตลุงพิทยาสรรพ์ ๘. หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนคูเมืองวิทยาคม ๙. หน่วยจัดการศึกษาเทศบาลต๋าบลดอนมนต์ ๑๐. หน่วยจัดการศึกษาสถาบันแม่ชีไทยสาขาที่ ๑๖ กลุ่มงานจัด การศึกษา และพัฒนา วิชาการ กลุ่มงาน กิจการ นักศึกษา กลุ่มงาน เชื่อมโยง เครือข่าย
  • 12. 12 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ สถานที่ตั้งวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๓ -ปัจจุบัน วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ถนนบุรีรัมย์-สตึก ตำ�บลบัวทอง อำ�เภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ รหัส ๓๑๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๔-๖๑๕๑๒๘ โทรสาร ๐๔๔-๖๑๕๑๒๙ หน่วยจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก โทรศัพท์ ๐๘๑-๒๖๕๐๓๐๓ หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนคูเมืองวิทยาคม โทรศัพท์ ๐๔๔-๖๙๙๐๕๕, ๐๔๔-๖๙๙๓๔๙ หน่วยจัดการศึกษาอำ�เภอพลับพลาชัย โทรศัพท์ ๐๔๔-๖๐๘๐๙๐ หน่วยจัดการศึกษาเทศบาลเมืองนางรอง โทรศัพท์ ๐๔๔-๖๓๒๑๗๑ หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านกรวดวิทยาคาร โทรศัพท์ ๐๔๔-๖๗๙๐๙๘ หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนกระสังพิทยาคม โทรศัพท์ ๐๔๔-๖๙๑๐๓๖ หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนเมืองตลุงพิทยาสรรค์ โทรศัพท์ ๐๔๔-๖๕๑๐๒๑ หน่วยจัดการศึกษาเทศบาลตำ�บลดอนมนต์ โทรศัพท์ ๐๘๗-๙๕๕๑๕๒๔ หน่วยจัดการศึกษาสถาบันแม่ชีไทย สาขาที่ ๑๖ โทรศัพท์ ๐๔๔-๖๖๙๑๐๑,๐๘๕-๒๐๒๓๗๗๐
  • 13. 13คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ หน่วยจัดฯ อบต.ศรีสว่าง หน่วยจัดฯ เทศบาลตำ�บลดอนมนต์ หน่วยจัดฯ โรงเรียนกระสังพิทยาคม หน่วยจัดฯ เทศบาลเมืองนางรอง หน่วยจัดฯ โรงเรียนเมืองตลุงพิทยาสรรพ์ หน่วยจัดฯ โรงเรียนบ้านกรวดวิทยาคาร หน่วยจัดฯ โรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก หน่วยจัดฯ โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม หน่วยจัดฯ โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม หน่วยจัดฯ สถาบันแม่ชีไทย สาขาที่ ๑๖ วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ (แม่ข่าย) อ.เมืองบุรีรัมย์ แผนภาพ แสดงสถานที่ตั้งวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ และหน่วยจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปี ๒๕๕๓ - ๒๕๕๖
  • 14. 14 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ คณะกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ผศ.ดร.ปราโมทย์ เบญจกาญจน์ ประธานกรรมการ นายเธียรชัย อุ่นจิตต์วรรธนะ รองประธานกรรมการ พระครูปริยัติภัทรคุณ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ รศ.โกวิท เชื่อมกลาง กรรมการผู้แทนสถาบันอุดมศึกษา นายสนธยา ไกรรณภูมิ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ นายทองคำ� แจ่มใส กรรมการผู้แทนองค์กรชุมชน ดร.สมศักดิ์ มัจฉาวิทยากุล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ นายรัชพล ตระหนักยศ กรรมการผู้แทนหอการค้าจังหวัด นางศิริกัญญา นามพิชญ์ กรรมการ ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมจังหวัด นายศุภวัฒน์ ปัญญาชัย กรรมการ ผู้แทนศิษย์เก่า นายธงชัย เนื่องจำ�นงค์ กรรมการ ผู้แทนองค์กรปกครองท้องถิ่น นายสุรศักดิ์ ศรีสว่างรัตน์ กรรมการและเลขานุการ ผู้อำ�นวยการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
  • 15. 15คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ คณะกรรมการสภาวิชาการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ นายสุรศักดิ์ ศรีสว่างรัตน์ ประธานกรรมการ ผศ.กำ�พล สินธุรัตน์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ นายชาคริต เชาวนกุล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ นางสาวมะลิวรรณ โคตรศรี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ผศ.ประกิจ จันตะเคียน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ นางสาวสุภาวดี อิสณพงษ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ รศ.มาลิณี จุโฑปะมา กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ นายชาญณรงค์ ศิริอำ�พันธ์กุล กรรมการและเลขานุการ
  • 16. 16 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ รายชื่อผู้อำ�นวยการ/รองผู้อำ�นวยการ/หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑. นายสุรศักดิ์ ศรีสว่างรัตน์ ผู้อำ�นวยการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ๒. นายชาญณรงค์ ศิริอำ�พันธ์กุล รองผู้อำ�นวยการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ๓. นายอรรณพ นามสวัสดิ์ รองผู้อำ�นวยการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ๔. นายสรายุทธ์ เสลารักษ์ หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก ๕. นายสราวุธ ทรงประโคน หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาอำ�เภอพลับพลาชัย ๖. นายประชุม พันธ์พงศ์ หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนคูเมืองวิทยาคม ๗. นายมาโนช ตันเจริญ หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาเทศบาลเมืองนางรอง ๘. นายนำ�ส่ง ทรงวัฒนสิน หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนกระสังพิทยาคม ๙. นายมุนินทร์ หลอมประโคน หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนเมืองตลุงพิทยาสรรพ์ ๑๐. นายสมเกียรติ วัฒนากรประสิทธ์ หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านกรวดวิทยาคาร ๑๑. นายทรงเดชา วันทา หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาเทศบาลตำ�บลดอนมนต์ ๑๒. แม่ชีสุแก่นธรรม คำ�ยอง หัวหน้าหน่วยจัดการศึกษาสถาบันแม่ชีไทย สาขาที่ ๑๖ รายชื่อผู้ประสานประจำ�หน่วยจัดการศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑. นายปรีชา พันธ์วรรณ หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก ๒. นายอนุรักษ์ ยืนยงชาติ หน่วยจัดการศึกษาอำ�เภอพลับพลาชัย ๓. นางบุญสม เหล่าอัจริยะพร หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนคูเมืองวิทยาคม ๔. นายสุพจน์ คะเชนเนียม หน่วยจัดการศึกษาเทศบาลเมืองนางรอง ๕. นายชยพล สมคิด หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนกระสังพิทยาคม ๖. นายอภิชา เสาวรส หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนเมืองตลุงพิทยาสรรพ์ ๗. นายสุบิน ฝ่ายเทศ หน่วยจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านกรวดวิทยาคาร ๘. นางยุภาพร สมศรี หน่วยจัดการศึกษาเทศบาลตำ�บลดอนมนต์ ๙. นางภาสิณี ภูคำ�วงศ์ หน่วยจัดการศึกษาสถาบันแม่ชีไทย สาขาที่ ๑๖
  • 17. 17คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ บุคลากรวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ ผู้อำ�นวยการ นายสุรศักดิ์ ศรีสว่างรัตน์ รองผู้อำ�นวยการ นายชาญณรงค์ ศิริอำ�พันธ์กุล นายอรรณพ นามสวัสดิ์ ครูชำ�นาญการ นางรัตนฉัตร์ ตาดร่ม นางสาวจารุภา แช่ฮ่อ นายนิรัญ อ่อนพันธ์ นางเสาวนีย์ อุตรวิเชียร นางสาวสุภาวดี อิสณพงษ์ นางพรวลัย ชัยสุวรรณ นายจำ�รูณ ศิขินารัมย์ นางสาวมะลิวรรณ โคตรศรี นายพรศักดิ์ พุทธมาตย์ นายรัตนชัย ชินานุปกรณ์ นางสาวศศิพิสุทธิ์ หงส์สมบัติ นายปฐม นิ่มหัตถา ครู คศ.๑ นายเพชร พันธ์ภา นางสาวทิวา เอมธานี นางสาวกฤษณียา ศังขจันทรานนท์ นักวิชาการศึกษา นางสกุณีย์ ธีระธำ�รงรักษ์ นายธัตติ เฉื่อยฉํ่า นางสาวพิกุลทอง อันมัย เจ้าหน้าที่งานทะเบียน นางสาวจุฑารัตน์ เพชรประไพ นางสาวอัญชนา ชาญนุวงศ์ เจ้าหน้าที่งานวัดผล นางสาววระวี จันทร์ซุย นางสาวปิยะกาญจน์ เจนถาวร นักวิชาการการเงินและบัญชี นางสาวกรวิการ์ เจริญรัมย์ นักวิชาการพัสดุ นายภัทรวรรธน์ วรเสฎฐ์ฐากูร นายสุร กุหลาบเพ็ชร์ เจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ นางสาวรวีวรรณ รัตนปู พนักงานการศึกษา นายเสกสรร อุไรแข นายเฉลิมวุฒิ วิชัยรัมย์ นางสาวสุนิสา ชนะเทพา พนักงานขับรถ นายบุญส่ง รัตนโพธิ์ นายศราวิน ยอดอภิญญาชัย พนักงานทำ�ความสะอาด นางสาวสุมาลี พวงประทิน นางสาวอิงออน จันทร์สิงห์ขะ พนักงานธุรการ นางสาวรัชฎาพร เวชพิทักษ์ พนักงานการเงินและบัญชี นางสาวสุปราณี การรัมย์ พนักงานพัสดุ นางสาวชรินรัตน์ พรหมปราณี พนักงานรักษาความปลอดภัย นายสุริยันห์ จอดสันเทียะ พนักงานทำ�สวน นายชล ละเมียดดี นายสุธร สุจิตร์ นักการภารโรง นายสมศักดิ์ เรืองไพศาล
  • 18. 18 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ หมวดที่ ๑. ข้อมูลทั่วไป ๑. รหัสและชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : อนุปริญญาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาษาอังกฤษ : Associate of Business Administration Program in Business Computer ๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ไทย) : อนุปริญญาบริหารธุรกิจ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) ชื่อย่อ (ไทย) : อ.บธ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Associate of Business Administration (Business Computer) ชื่อย่อ (อังกฤษ) : A.B.A. (Business Computer) ๓. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำ�เร็จการศึกษา (๑) เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (๒) เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ (๓) เจ้าหน้าที่ดูแลเว็บไซต์ (๔) นักเขียนโปรแกรม (๕) ผู้ประกอบการเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (๖) เจ้าหน้าที่ธุรการ (๗) เจ้าหน้าที่กราฟิกดีไซน์ (๘) เจ้าหน้าที่ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (๙) พนักงานขายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ๑. ปรัชญา ความสำ�คัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ๑.๑ ปรัชญา สร้างโอกาสทางการศึกษาให้สมาชิกชุมชนได้พัฒนาตนเองให้เป็นผู้ชำ�นาญงานด้านคอมพิวเตอร์ และเพิ่มคุณค่าเพื่อการสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์ ในการดำ�เนินชีวิตและเพิ่มศักยภาพของชุมชนในมิติต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจและด้านสังคม แก่ชุมชนและท้องถิ่น หัวข้อและรายละเอียดของหลักสูตร หลักสูตรอนุปริญญาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖
  • 19. 19คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ๑.๒ วัตถุประสงค์ ๑.๒.๑ เพื่อให้ผู้เรียนมีความตระหนักถึงคุณธรรม จริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร ตามจรรยาบรรณของนักวิชาชีพคอมพิวเตอร์ ๑.๒.๒ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักการทางคอมพิวเตอร์ และหลักการทางธุรกิจ ๑.๒.๓ เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำ�เนินงานใน ธุรกิจ ๑.๒.๔ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสื่อสารและประสานการทำ�งานร่วมกับหน่วยงานองค์กร หน่วยงาน ชุมชน เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลสารสนเทศทางธุรกิจ ๑.๒.๕ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ และนำ�เสนอข้อมูลสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ๓.๑ หลักสูตร หลักสูตรอนุปริญญาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มีโครงสร้างหลักสูตร ดังต่อไปนี้ ๓.๑.๑ จำ�นวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๙๐ หน่วยกิต ๓.๑.๒ โครงสร้างหลักสูตร (๙๐ หน่วยกิต) แบ่งออกเป็นหมวดวิชา ดังนี้ ๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต ๒. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า ๕๗ หน่วยกิต ๒.๑ วิชาพื้นฐานวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า ๒๑ หน่วยกิต ๒.๒ วิชาชีพ ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต ๒.๒.๑ วิชาบังคับ ๒๔ หน่วยกิต ๒.๒.๒ วิชาเลือก ๙ หน่วยกิต ๒.๒.๓ วิชาการฝึกงาน ๓ หน่วยกิต ๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกิต ๓.๑.๓ รายวิชาและรหัสรายวิชา รายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป รหัสวิชาของรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปให้เป็นไปตามที่หลักเกณฑ์ของ วิทยาลัยชุมชนกำ�หนด รายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ มีหลักเกณฑ์กำ�หนดรหัสวิชาดังนี้ บธ ๐๑ ๐๑ ลำ�ดับที่รายวิชาของสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ลำ�ดับของสาขาวิชาในหลักสูตร ชื่อหลักสูตรบริหารธุรกิจ
  • 20. 20 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ รายวิชาในโครงสร้างหลักสูตร ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำ�นวน ๓๐ หน่วยกิต ๑) กลุ่มวิชาภาษา จำ�นวน ๖ หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาต่อไปนี้ รหัสวิชา ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) ศท ๐๑๐๑ สมรรถภาพทางภาษาไทย(Thai Language Competency) ๓ (๒-๒-๕) ศท ๐๑๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑ (English for Communication ๑) ๓ (๒-๒-๕) ศท ๐๑๐๓ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๒ (English for Communication ๒) ๓ (๒-๒-๕) ศท ๐๑๐๔ ทักษะการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ (Reading and Writing Skills in English) ๓ (๒-๒-๕) ศท ๐๑๐๕ ภาษาประเทศเพื่อนบ้าน (Neighboring Countries Language) ๓ (๒-๒-๕) ๒) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ จำ�นวน ๖ หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาต่อไปนี้ รหัสวิชา ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) ศท ๐๒๐๑ ความจริงของชีวิต (Truth of Life) ๓ (๒-๒-๕) ศท ๐๒๐๒ การพัฒนาตน (Self Development) ๓ (๓-๐-๖) ศท ๐๒๐๓ สุนทรียภาพของชีวิต (Aesthetic Appreciation) ๓ (๓-๐-๖) ศท ๐๒๐๔ มนุษย์และคุณค่า (Human and Value) ๓ (๓-๐-๖) ๓) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ จำ�นวน ๑๒ หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) ศท ๐๓๐๑ การคิดและการตัดสินใจ (Thinking and Decision Making) ๓ (๒-๒-๕)
  • 21. 21คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ศท ๐๓๐๒ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Information Technology for Learning) ๓ (๒-๒-๕) ศท ๐๓๐๓ วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต (Science and Life Development) ๓ (๓-๐-๖) ศท ๐๓๐๔ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (Life and Environment) ๓ (๓-๐-๖) ๔) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ จำ�นวน ๖ หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาต่อไปนี้ รหัสวิชา ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) ศท ๐๔๐๑ จังหวัดศึกษา (Province Studies) ๓ (๒-๒-๕) ศท ๐๔๐๒ วิถีไทย (Thai Living) ๓ (๓-๐-๖) ศท ๐๔๐๓ สังคมโลก (Global Society) ๓ (๓-๐-๖) ศท ๐๔๐๔ กฎหมายและสิทธิมนุษยชน (Laws and Human Rights) ๓ (๓-๐-๖) ข. หมวดวิชาเฉพาะ จำ�นวน ๕๗ หน่วยกิต ๑) กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ ๒๑ หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อรายวิชา น(ท-ป-ศ) บธ ๐๑๐๑ หลักเศรษฐศาสตร์ (Principles of Economics) ๓ (๓-๐-๖) บธ ๐๑๐๒ หลักการจัดการ (Principles of Management) ๓ (๓-๐-๖) บธ ๐๑๐๓ หลักการตลาด (Principles of Marketing) ๓ (๓-๐-๖) บธ ๐๑๐๔ กฎหมายธุรกิจ (Business Law) ๓ (๓-๐-๖) บธ ๐๑๐๕ หลักการบัญชี (Principles of Accounting) ๓ (๓-๐-๖)
  • 22. 22 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ บธ ๐๑๐๖ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System) ๓ (๓-๐-๖) บธ ๐๑๐๗ โปรแกรมสำ�เร็จรูปทางธุรกิจ (Business Program Package) ๓ (๒-๒-๕) ๒) กลุ่มวิชาชีพ จำ�นวน ๓๖ หน่วยกิต ๒.๑ วิชาบังคับ ๒๔ หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อรายวิชา น (ท-ป-ศ) บธ ๐๑๐๘ ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System) ๓ (๒-๒-๕) บธ ๐๑๐๙ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น (Introduction to Computer Programming) ๓ (๒-๒-๕) บธ ๐๑๑๐ โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี (Data Structure and Algorithm) ๓ (๓-๐-๖) บธ ๐๑๑๑ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น (Introduction to Computer Network) ๓ (๒-๒-๕) บธ ๐๑๑๒ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design) ๓ (๒-๒-๕) บธ ๐๑๑๓ ระบบฐานข้อมูล (Database System) ๓ (๒-๒-๕) บธ ๐๑๑๔ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Base Programming) ๓ (๒-๒-๕) บธ ๐๑๑๕ โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อธุรกิจ (Project in Business Computer) ๓ (๐-๖-๓) ๒.๒ วิชาเลือก จำ�นวน ๙ หน่วยกิต โดยให้เลือกจากรายวิชาต่อไปนี้ รหัสวิชา ชื่อรายวิชา น (ท-ป-ศ) บธ ๐๑๑๖ การออกแบบสิ่งพิมพ์ทางธุรกิจ (Business Printing Design) ๓ (๒-๒-๕) บธ ๐๑๑๗ การจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ๓ (๒-๒-๕)
  • 23. 23คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ บธ ๐๑๑๘ เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) ๓ (๒-๒-๕) บธ ๐๑๑๙ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) ๓ (๒-๒-๕) บธ ๐๑๒๐ การจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) ๓ (๓-๐-๖) บธ ๐๑๒๑ กฎหมายและจริยธรรมสำ�หรับเทคโนโลยีสารสนเทศ (Laws and Ethics for Information Technology) ๓ (๓-๐-๖) บธ ๐๑๒๒ การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming) ๓ (๒-๒-๕) ๒.๓ วิชาการฝึกงาน จำ�นวน ๓ หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อรายวิชา น (ชั่งโมง) บธ ๐๑๒๓ การฝึกงาน (On the Job Training) ๓ (๓๒๐) ค. หมวดวิชาเลือกเสรี ให้เลือกเรียนรายวิชาต่างๆ จากหมวดวิชาศึกษาทั่วไปหรือหมวดวิชาเฉพาะในสาขาวิชาเดียวกัน หรือต่างสาขาวิชาก็ได้ หรือเลือกจากหลักสูตรอื่นใดในระดับเดียวกันจากวิทยาลัยชุมชนอื่นๆ โดยไม่ซํ้าซ้อน กับวิชาที่เรียนมาแล้ว และต้องเป็นรายวิชาที่อยู่ในระดับเดียวกันกับที่กำ�ลังศึกษาอยู่ รายวิชาที่หลักสูตรระบุ ไม่ให้นับหน่วยกิตในการขอจบหลักสูตรจะเลือกเรียนเป็นวิชาเลือกเสรีไม่ได้
  • 24. 24 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ๑. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรอนุปริญญาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาษาอังกฤษ : Associate Degree of Education Early Childhood Education ชื่อย่อ (ไทย) : อ.ศษ. (การศึกษาปฐมวัย) ชื่อย่อ (อังกฤษ) : A.ED. (Early Childhood Education) ๒. ปรัชญาหลักสูตร เพื่อสร้างบุคลากรทางการศึกษาปฐมวัยเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม รักและศรัทธาในวิชาชีพ มีความรู้ และทักษะในการอบรมเลี้ยงดูให้การศึกษาแก่เด็กปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ ๓. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ๑) เพื่อให้ผู้เรียนผู้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวัย ๒) เพื่อให้ผู้เรียนผู้มีความรู้และทักษะในการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาเด็กปฐมวัย ๓) เพื่อให้ผู้เรียนผู้มีความรู้และความสามารถในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และแก้ปัญหาในการ อบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาเด็กปฐมวัย ๔) เพื่อให้ผู้เรียนผู้มีคุณธรรมจริยธรรม รักและศรัทธาในวิชาชีพในวิชาชีพ ตลอดจนมีคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ของการศึกษาปฐมวัย ๔. หลักสูตร จำ�นวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๙๐ หน่วยกิต โครงสร้างหลักสูตร หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๙๐ หน่วยกิต โดยมีสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชา และ แต่ละกลุ่มวิชาดังนี้ ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต ข. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า ๕๗ หน่วยกิต (๑) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิต (๒) วิชาชีพ ไม่น้อยกว่า ๔๕ หน่วยกิต (๒.๑) วิชาบังคับ ๓๓ หน่วยกิต (๒.๒) วิชาเลือก ไม่น้อยกว่า ๙ หน่วยกิต (๒.๓) วิชาการฝึกงาน ไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกิต ค. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกิต หลักเกณฑ์การใช้รหัสวิชาในหลักสูตร รหัสวิชาของรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่สำ�นักบริหารงานวิทยาลัย ชุมชนกำ�หนด รายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ กำ�หนดรหัสวิชาเป็น ศษ ๐๑ xy หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
  • 25. 25คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ศษ หมายถึง เป็นรายวิชาทางด้านศึกษาศาสตร์ ๐๑ หมายถึง ลำ�ดับที่ของสาขาวิชาของหลักสูตรอนุปริญญาศึกษาศาสตร์ xy หมายถึง ลำ�ดับที่ของรายวิชา ๕. รายวิชา หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า๓๐หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษา ๙ หน่วยกิต ศท ๐๑๐๑ ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร Thai for Communication ๓ (๒-๒-๕) ศท ๐๑๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑ English for Communication ๑ ๓ (๒-๒-๕) ศท ๐๑๐๓ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๒ English for Communication ๒ ๓ (๒-๒-๕) ศท ๐๑๐๔ ทักษะการพูดและการเขียนภาษาอังกฤษ English Speaking and Writing Skills ๓ (๒-๒-๕) ศท ๐๑๐๕ ภาษาประเทศเพื่อนบ้าน Languages of Neighboring Countries ๓ (๒-๒-๕) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ๖ หน่วยกิต ศท ๐๒๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ General Education for Human Development ๓ (๒-๒-๕) ศท ๐๒๐๒ มนุษย์กับวัฒนธรรม Human and Culture ๓ (๒-๒-๕ ศท ๐๒๐๓ สุนทรียภาพของชีวิต Aesthetic Appreciation ๓ (๓-๐-๖) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ ๖ หน่วยกิต ศท ๐๓๐๑ จังหวัดศึกษา Province Studies ๓ (๒-๒-๕) ศท ๐๓๐๒ สังคมไทยกับการพัฒนา Thai Social and Development ๓ (๒-๒-๖) ศท ๐๓๐๓ อาเซียนศึกษา ASEAN Studies ๓ (๓-๐-๖) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ ๙ หน่วยกิต ศท ๐๔๐๑ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ Information Technology for Learning ๓ (๒-๒-๕)
  • 26. 26 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ศท ๐๔๐๒ การคิดและการตัดสินใจ Thinking and Decision Making ๓ (๒-๒-๕) ศท ๐๔๐๓ วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต Life and Environment ๓ (๓-๐-๖) ศท ๐๔๐๔ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม Science for Life ๓ (๓-๐-๖) ๖.หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า๕๗หน่วยกิต วิชาพื้นฐานวิชาชีพ ๑๒ หน่วยกิต ศษ ๐๑๐๑ จิตวิทยาสำ�หรับครู Psychology for Teacher ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๐๒ จิตวิทยาพัฒนาการและการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย Developmental Psychology and Child care ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๐๓ การศึกษาปฐมวัย Early Childhood Education ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๐๔ บุคลิกภาพครูปฐมวัย Personality of Early Childhood Teachers ๓ (๒-๒-๕) วิชาชีพ ไม่น้อยกว่า ๔๕ หน่วยกิต วิชาบังคับ ๓๓ หน่วยกิต ศษ ๐๑๐๕ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย Early Childhood Education Curriculum ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๐๖ การจัดการเรียนรู้ Learning and Teaching ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๐๗ การศึกษาพฤติกรรมเด็ก Children Behavior Education ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๐๘ การจัดประสบการณ์สำ�หรับเด็กปฐมวัย Experience for Early Childhood ๓ (๑-๔-๔) ศษ ๐๑๐๙ นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย Innovation for Early Childhood Development ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๑๐ คุณธรรมและจริยธรรมสำ�หรับเด็กปฐมวัย Ethical Socialization for Early Childhood ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๑๑ สื่อการเรียนรู้สำ�หรับเด็กปฐมวัย Learning Media for Early Childhood ๓ (๑-๔-๔)
  • 27. 27คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ศษ ๐๑๑๒ การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย Assessment for Early Childhood Development ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๑๓ โภชนาการสำ�หรับเด็กปฐมวัย ๓ (๑-๔-๔) ศษ ๐๑๑๔ การศึกษาสำ�หรับผู้ปกครองเด็กปฐมวัย Nutrition for Early Childhood ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๑๕ โครงการทางการศึกษาปฐมวัย Early Childhood Education Project ๓ (๑-๔-๔) วิชาเลือก ไม่น้อยกว่า ๙ หน่วยกิต ศษ ๐๑๑๖ สุขภาพอนามัยสำ�หรับมารดาและเด็ก Health and Hygiene for Mother and Child ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๑๗ ศิลปะสำ�หรับครูปฐมวัย Arts for Early Childhood Teacher ๓ (๑-๔-๔) ศษ ๐๑๑๘ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ สำ�หรับเด็กปฐมวัย Movement Activity and Rhythm for Early Childhood ๓(๑-๔-๔) ศษ ๐๑๑๙ นิทานและหุ่นสำ�หรับเด็กปฐมวัย Tale and Puppet for Kids ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๒๐ ภาษาอังกฤษสำ�หรับครูปฐมวัย English for Early Childhood Teachers ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๒๑ หนังสือสำ�หรับเด็กปฐมวัย Books for Early Childhood ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๒๒ คอมพิวเตอร์สำ�หรับเด็กปฐมวัย Computer for Early Childhood ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๒๓ สื่ออิเลคทรอนิกส์สำ�หรับครูปฐมวัย Electronic media for Early Childhood teacher ๓ (๒-๒-๕) ศษ ๐๑๒๔ การจัดการศึกษาสำ�หรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ Education for Children with Special Needs ๓ (๒-๒-๕) วิชาการฝึกงาน ๓ หน่วยกิต ศษ ๐๑๒๕ ฝึกงาน ๓ (๒๐๐ ชั่วโมง) Practicum ๗. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกิต ให้เลือกเรียนรายวิชาต่างๆจากหมวดวิชาศึกษาทั่วไปหรือหมวดวิชาเฉพาะในสาขาวิชาเดียวกันหรือ ต่างสาขาวิชาก็ได้ หรือเลือกจากหลักสูตรอื่นใดในระดับเดียวกันจากวิทยาลัยชุมชนอื่นๆ โดยไม่ซํ้าช้อนกับ วิชาที่เรียนมาแล้วและต้องไม่เป็นรายวิชาที่อยู่ในระดับเดียวกันที่กำ�ลังศึกษาอยู่ รายวิชาที่หลักสูตรระบุไม่ให้ นับหน่วยกิตในการขอจบหลักสูตรจะเลือกเรียนเป็นวิชาเลือกเสรีไม่ได้
  • 28. 28 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ๘. แผนการจัดการศึกษาตลอดหลักสูตรอนุปริญญาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หมวดวิชา จำ�นวนหน่วยกิต ปีที่ ๑ ปีที่ ๒ ปีที่ ๓ ภาค การศึกษา ที่ ๑ ภาค การศึกษา ที่ ๒ ภาค ฤดูร้อน ภาค การศึกษา ที่ ๑ ภาค การศึกษา ที่ ๒ ภาค ฤดูร้อน ภาค การศึกษา ที่ ๑ ๑. หมวดศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต ๓ ๙ ๓ ๙ ๖ - - ๒. หมวดวิชาเฉพาะ ๕๗ หน่วยกิต ๒.๑ วิชาพื้นฐานวิชาชีพ ๑๒ หน่วยกิต - - ๓ - - - ๒.๒ วิชาชีพ ๔๕ หน่วยกิต ๑) วิชาบังคับ ๓๓ หน่วยกิต ๓ ๖ ๓ ๓ ๖ ๖ ๖ ๒) วิชาเลือก ๙ หน่วยกิต - - ๓ - - - ๖ ๓) วิชาการฝึกงาน ๓ หน่วยกิต - - - - ๓ - - ๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๓ หน่วยกิต - - - - - ๓ - รวม ๑๕ ๑๕ ๙ ๑๕ ๑๕ ๙ ๑๒ ๙. แสดงแผนการศึกษา ปีที่ ๑ ภาคการศึกษาที่ ๑ หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต(ท-ป-ศ) ศึกษาทั่วไป ศท ๐๑๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑ ๓ (๒-๒-๕) ศึกษาทั่วไป ศท ๐๓๐๒ สังคมไทยเพื่อการพัฒนา ๓ (๒-๒-๕) ศึกษาทั่วไป ศท ๐๔๐๔ วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต ๓ (๓-๐-๖) วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๐๖ การจัดการเรียนรู้ ๓ (๒-๒-๕) วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๐๗ การศึกษาพฤติกรรมเด็ก ๓ (๒-๒-๕) รวม ๑๕ ปีที่ ๑ ภาคการศึกษาที่ ๒ หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต(ท-ป-ศ) ศึกษาทั่วไป ศท ๐๑๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑ ๓ (๒-๒-๕) ศึกษาทั่วไป ศท ๐๓๐๒ สังคมไทยเพื่อการพัฒนา ๓ (๒-๒-๕) ศึกษาทั่วไป ศท ๐๔๐๔ วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต ๓ (๓-๐-๖) วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๐๖ การจัดการเรียนรู้ ๓ (๒-๒-๕) วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๐๗ การศึกษาพฤติกรรมเด็ก ๓ (๒-๒-๕) รวม ๑๕
  • 29. 29คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ภาคฤดูร้อน หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต(ท-ป-ศ) ศึกษาทั่วไป ศท ๐๑๐๔ ทักษะการพูดและเขียนภาษาอังกฤษ ๓ (๒-๒-๕) วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๑๑ สื่อการเรียนรู้สำ�หรับเด็กปฐมวัย ๓ (๑-๔-๔) วิชาชีพเลือก ศษ ๐๑๑๖ สุขภาพอนามัยสำ�หรับมารดาและเด็ก ๓ (๒-๒-๕) รวม ๙ ปีที่ ๒ ภาคการศึกษาที่ ๑ หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต(ท-ป-ศ) ศึกษาทั่วไป ศท ๐๔๐๓ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ๓ (๓-๐-๖) ศึกษาทั่วไป ศษ ๐๔๐๒ การคิดและการตัดสินใจ ๓ (๒-๒-๕) ศึกษาทั่วไป ศท ๐๒๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๓-๐-๖) วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๐๕ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ๓ (๒-๒-๕) วิชาชีพเลือก ศษ ๐๑๑๘ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะสำ�หรับเด็กปฐมวัย ๓ (๑-๔-๔) รวม ๑๕ ปีที่ ๒ ภาคการศึกษาที่ ๒ หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต(ท-ป-ศ) ศึกษาทั่วไป ศษ ๐๔๐๑ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ๓ (๒-๒-๕) ศึกษาทั่วไป ศษ ๐๔๐๑ จังหวัดศึกษา ๓ (๒-๒-๕) วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๐๙ นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย ๓ (๒-๒- ๕) วิชาชีพบังคับ ศท ๐๑๐๘ การจัดประสบการณ์สำ�หรับเด็กปฐมวัย ๓ (๑-๔-๔) วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๑๔ การศึกษาสำ�หรับผู้ปกครองเด็กปฐมวัย ๓ (๒-๒- ๕) รวม ๑๕ ภาคฤดูร้อน หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต(ท-ป-ศ) วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๑๒ การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย ๓ (๒-๒-๕) วิชาชีพเลือก ศษ ๐๑๑๙ นิทานและหุ่นสำ�หรับเด็กปฐมวัย ๓ (๒-๒-๕) วิชาเลือกเสรี ศษ ๐๑๒๔ การจัดการศึกษาสำ�หรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ๓ (๒-๒-๕) รวม ๙ ปีที่ ๓ ภาคการศึกษาที่ ๑ หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต(ท-ป-ศ) วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๑๐ คุณธรรมและจริยธรรมสำ�หรับเด็กปฐมวัย ๓ (๒-๒-๕) วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๑๓ โภชนาการสำ�หรับเด็กปฐมวัย ๓ (๑-๔-๔) วิชาการฝึกงาน ศษ ๐๑๒๕ ฝึกงาน ๓ (๒๐๐) วิชาชีพบังคับ ศษ ๐๑๑๕ โครงการทางการศึกษาปฐมวัย ๓(๑-๔-๔) รวม ๑๒
  • 30. 30 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ หลักสูตรอนุปริญญาศิลปศาสตร์ สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น ๑. รหัสและชื่อหลักสูตร ชื่อเต็ม (ไทย) : อนุปริญญาศิลปศาสตร์ สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น ชื่อย่อ (ไทย) : อ.ศศ. (การปกครองท้องถิ่น) ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Associate of Arts Program in Local Government ชื่อย่อ (อังกฤษ) : A.A. (Local Government) ๒. ปรัชญาหลักสูตร มุ่งสร้างปัญญา พัฒนาท้องถิ่น ใกล้ชิดประชาชน ๓. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อสร้างผู้เรียนให้เป็นนักพัฒนาท้องถิ่น ที่มีคุณลักษณะ ดังนี้ ๓.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด หลักการ ที่สำ�คัญของสาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น. ๓.๒สามารถใช้ความรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในท้องถิ่น ๓.๓ มีความตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ๓.๔ มีมนุษย์สัมพันธ์และมีความรับผิดชอบต่องาน ตนเอง และสังคม ๓.๕ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมทั้งนำ�ข้อมูล สถิติ ตัวเลข มาใช้ในการปฏิบัติงานในท้องถิ่น ๔. โครงสร้างหลักสูตร อนุปริญญาศิลปศาสตร์ สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น ๙๑ หน่วยกิต โดยมี รายละเอียดหลักสูตรแบ่งเป็นหมวดวิชา ดังนี้ ๔.๑ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต ๔.๒ หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า ๕๘ หน่วยกิต ๔.๓ หมวดเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกิต ๕. รายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า ๕๘ หน่วยกิต ๕.๑) กลุ่มวิชาแกน ไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) ศศ ๐๒๐๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์ (Introduction to Political Science) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๐๒ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (Introduction to Laws) ๓ (๓-๐-๖) ศศ ๐๒๐๓ การเมืองการปกครองของไทย (Thai Politics and Government) ๓ (๓-๐-๖) ศศ ๐๒๐๔ การปกครองท้องถิ่นไทย (Thai Local Governing) ๓ (๒-๒-๕)
  • 31. 31คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ศศ ๐๒๐๕ เศรษฐศาสตร์ทั่วไป (General Economics) ๓ (๓-๐-๖) ศศ ๐๒๐๖ องค์การและการจัดการ (Organization and Management) ๓ (๒-๒-๕) ๕.๒) กลุ่มวิชาบังคับ ไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) ศศ ๐๒๐๗ ภูมิปัญญาในหลวง (The King Wisdom) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๐๘ การวิจัยทางสังคมศาสตร์เบื้องต้น (Introduction to Social Science Research) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๐๙ การบริหารโครงการและงบประมาณ (Project and Budget Management) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๑๐ การบริหารงานคลังท้องถิ่น (Local Financial Management) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๑๑ การบริหารการพัฒนาท้องถิ่น (Local Administrative Development) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๑๒ นโยบายสาธารณะและการวางแผน (Public Policy and Planning) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๑๓ สังคมและวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น (Society and Culture of Local Community) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๑๔ ภาวะผู้นำ� (Leaderships) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๑๕ จิตวิทยาสังคม (Social Psychology) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๑๖ สัมมนาการปกครองท้องถิ่น (Seminar on Local Government) ๓ (๒-๒-๕) ๕.๓) วิชาเลือก ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) ศศ ๐๒๑๗ กฎหมายอาญา ๑ : ภาคทั่วไป (Criminal Laws : General Principles) ๓ (๓-๐-๖) ศศ ๐๒๑๘ กฎหมายอาญา ๒ : ภาคความผิด (Criminal Laws : Offense) ๓ (๓-๐-๖) ศศ ๐๒๑๙ กฎหมายปกครอง (Administrative Laws) ๓ (๓-๐-๖)
  • 32. 32 คู่มือนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ศศ ๐๒๒๐ การจัดซื้อและจัดจ้าง (Procurement) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๒๑ การจัดสวัสดิการสังคม (Social Welfare Management) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๒๒ สุขภาวะชุมชน (Community Health) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๒๓ การจัดการท่องเที่ยวชุมชน (Community Tourism Management) ๓ (๓-๐-๖) ศศ ๐๒๒๔ การจัดผังเมืองและการโยธา (Public Works and Town & Country Planning) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๒๕ การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น (Communication for local Development) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๒๖ การจัดการวิสาหกิจชุมชน (Community Enterprise Management) ๓ (๒-๒-๕) ศศ ๐๒๒๗ รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง (Constitution and Political Institutions) ๓ (๓-๐-๖) ๕.๔) วิชาการฝึกงาน จำ�นวน ๔ หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา น (ท-ป-ศ) ศศ ๐๒๒๘ การฝึกประสบการณ์การปกครองท้องถิ่น (Field Experience in Local Governing) ๔ (๒๔๐ชม.) ๖. หมวดเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกิต ให้เลือกเรียนรายวิชาจากหลักสูตรอนุปริญญาของวิทยาลัยชุมชน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) และ ต้องไม่ซํ้ากับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกิต