SlideShare a Scribd company logo
1 of 88
ฟิสิกส์
คลื่น เสียง แสง
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Wave Sound Light for learning
ประเภทโครงงาน สื่อการเรียนการสอน
ชื่อผู้จัดทา 1.นายพงปภัส ภัทรวีร์ธัญวิชย์
2.นายอิศรพงษ์ แก้ววัน
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 3 เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากเนื้อหาวิชาฟิสิกส์ในเรื่องของคลื่น เสียง แสง เป็นสิ่งที่มองไม่เห็น จึงทาให้
ทาให้เข้าใจเนื้อหาได้ยาก มองไม่เห็นภาพ จึงได้คิดทาสื่อการเรียนรู้ในเรื่ องของคลื่น เสียง
เสียง แสง ซึ่งเป็นเนื้อหาที่ค่อนข้าวอธิบายได้ยาก โดยการที่จะนาเสนอในรูปแบบของภาพ
ภาพและมีคาบรรยายประกอบ ซึ่งสื่อการเรียนรู้นี้จะช่วยให้ผู้ที่กาลังศึกษารายวิชาฟิสิกส์ ใน
ฟิสิกส์ ในเรื่องของคลื่น เสียง แสง ได้เข้าใจ เนื้อหาและเห็นภาพประกอบชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง คลื่น เสียง แสง
2.เพื่อนาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
3.เพื่อเป็นสื่อการเรียนการสอนในเรื่อง คลื่น เสียง แสง
คลื่น
แสง
เสียง
แหล่งอ้างอิง ผู้จัดทา
คลื่น
เช่น คลื่นน้า คลื่นในเส้นเชือก และคลื่นเสียง เป็นต้น แต่สาหรับคลื่น
แสง วิทยุ รังสีเอกซ์เหล่านี้ ไม่ต้องการอนุภาคตัวกลาง แต่ทว่าจะมีการ
เปลี่ยนแปลงของขนาดเวกเตอร์ความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า
Main Manu Manu คลื่น
คลื่นดลและคลื่น
ต่อเนื่อง
ประเภทคลื่น
หลักเบื้องต้นของการ
เปรียบเทียบการเกิดคลื่น
Main Manu
ความหมายของปริมาณ
เบื้องต้นของคลื่น
คลื่น
สมบัติของคลื่นหลักการรวมได้ของ
คลื่น
คลื่น
คลื่นดลและคลื่นต่อเนื่อง
คลื่นดล(pulse) คือ คลื่นจานวนน้อย ที่ได้จากการทาให้เกิดคลื่น
เสียงช่วงสั้นๆ จะเกิดเพียง 2-3 คลื่นเท่านั้น เช่น การสัมผัสน้าเพียงครั้งเดียว
ก็จะเกิดคลื่นดลขึ้น แต่ถ้าสัมผัสผิวน้าให้เป็นจังหวะติดต่อกันไป จะเกิดคลื่น
ต่อเนื่องกันไปอย่างสม่าเสมอ ตามจังหวะการสัมผัสน้า คลื่นชนิดนี้เรียกว่า
คลื่นต่อเนื่อง(continuous wave)
Main Manu คลื่น
คลื่น
ประเภทของคลื่น แบ่งตามลักษณะการเคลื่อนที่ของตัวกลาง คือ
1.คลื่นตามขวาง(transverse wave) อนุภาคของตัวกลาง เคลื่อนที่
กลับไปมา ในทิศทางตั้งฉากกับแนวการเคลื่อนที่ของคลื่น
เช่น คลื่นน้า และคลื่นจากการสะบัดเส้นเชือก หรือถ้าเป็นคลื่นที่ไม่
ต้องการตัวกลาง เช่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าชนิดต่างๆ
Main Manu คลื่น
คลื่น
2.คลื่นตามยาว(longitudinal wave) เกิดขึ้นเฉพาะในตัวกลาง
โดยอนุภาคตัวกลางมีการเคลื่อนไหวไปมอยู่บนแนวการเคลื่อนที่ของ
คลื่น
เช่น การอัดหรือดึงสปริงแล้วปล่อยให้มีการสั่น หรือคลื่นเสียงอัน
เกิดจากการอัดและขยายตัวต่อเนื่องของอากาศไปตามแนวการ
เคลื่อนที่ของคลื่นเสียง
Main Manu คลื่น
คลื่น
การเปรียบเทียบกันระหว่างคลื่นตามขวางและคลื่นตามยาว
แม้ว่าจะเป็นคลื่นต่างชนิดกัน แต่สามารถจะเปรียบเทียบเพื่อเป็นหลัก
ในการคานวณขั้นต่อไปอย่างเป็นกลางได้คือ เมื่อคลื่นตามขวางเกิดขึ้น
ส่วนที่ตรงกับการเคลื่อนที่ ห่างจากแนวสมดุลของอนุภาคไปไกลสุดทางหนึ่ง
หนึ่งนั้น เทียบได้กับการขยายตัวมากที่สุดของอนุภาคในการเกิดคลื่น
ตามยาว ส่วนที่ตรงกับการเคลื่อนที่ตั้งฉากออกไปไกลสุดทางอีกทางหนึ่ง
หนึ่ง ของคลื่นตามขวางนั้น เทียบได้กับการอัดตัวมากที่สุดของอนุภาคใน
ในคลื่นตามยาว
Main Manu คลื่น
คลื่น
Main Manu คลื่น
คลื่น
หลักเบื้องต้นของการเปรียบเทียบการเกิดคลื่น
ให้เทียบการเกิดคลื่นกับการหมุนเป็นวงกลมของวัตถุดังต่อไปนี้
เริ่มต้นจากวัตถุอยู่ที่ A หมุนเป็นวงกลมรอบจุด O โดยหมุนไปสู่จุด
B,C และ D แล้ววนไปครบที่จุด A
Main Manu คลื่น
คลื่น
เมื่อเปรียบเทียบคลื่นก็เสมือนว่าคลื่นปรากฏส่วนครึ่งวงกลมตาม
ส่วนโค้ง ABC พอไปถึงจุด C ก็เสมือนว่าจับจุด C ไว้ให้แน่น แล้วตัด
เอาส่วนโค้งส่วนล่าง CDA ออกไปทางขวาเป็นการครบคลื่น จึงสรุปได้
ว่า การหมุนเป็นวงกลมครบหนึ่งรอบเทียบได้กับหนึ่งคลื่นพอดี
การหมุนรอบต่อไปก็เทียบเป็นคลื่นถัดไป ด้วยเหตุนี้การหมุนเป็น
วงกลมไปเรื่อยๆก็เทียบได้กับคลื่นต่อเนื่องนั่นเอง
Main Manu คลื่น
คลื่น
ความหมายของปริมาณเบื้องต้นของคลื่น
จากการพิจารณารูปต่อไปนี้ ถ้าถือว่า OA อยู่ในแนวเทียบเริ่มต้น มุม
มุมเป็น 0 องศา เมื่อหมุนไปถึงจุด B จุด B จะอยู่ห่างจากแนวเทียบเป็น
ระยะ YB และมุมที่หมุนไปคือ ØB เมื่อหมุนไปถึงจุด D จุด D ก็จะห่างจาก
จากแนวเทียบเป็นระยะ YD และมีมุมหมุนไป ØD
Main Manu คลื่น
คลื่น
เมื่อเทียบกับคลื่นดังปรากฏในรูปก็จะกาหนดปริมาณเบื้องต้นไว้คือ
1.ขนาดของการขจัด(displacement) หมายถึงระยะที่คลื่นห่างออกไป
จากแนวสมดุลใดๆ ในที่นี้คือ YB และ YD
2.แอมปลิจูด(amplitude) หมายถึงระยะที่คลื่นห่างจากแนวสมดุลไกล
สุด ในที่นี้คือ Ymax ซึ่งรวมถึงระยะสูงสุดและต่าสุดของคลื่นวัดจากแนว
สมดุลเ
Main Manu คลื่น
คลื่น
3.เฟส(phase) เป็นคาซึ่งใช้ในสาหรับกาหนดถึงลักษณะใดลักษณะ
หนึ่งของการเคลื่อนที่ซึ่งเป็นรอบ เช่น การบอกคลื่นที่จุด B ก็บอกว่ามี
เฟส ØB คลื่นที่จุด D มีเฟส ØD เป็นต้น โดยมากมักจะบอกความต่าง
ของเฟสจากจุดคู่หนึ่งแทนเพราะการกาหนดว่าที่ใดมีเฟสเป็นศูนย์นั้นไม่
สาคัญนัก
Main Manu คลื่น
คลื่น
4.ความยาวคลื่น(wavelenght) คือระยะทางวัดระหว่างจุดบนลูกคลื่น
หนึ่ง ไปถึงจุดที่มีเฟสเหมือกันบนคลื่นถัดไป รวมทั้งการวัดระหว่างหัว
คลื่นหรือระหว่างท้องคลื่นที่อยู่ถัดกันก็ได้ ซึ่งต่างก็เป็นความยาวคลื่น
ทั้งนั้น
5.ความถี่(frequency,f) คือจานวนรอบที่มีการหมุนเป็นวงกลมในเวลา
จากัด เช่น 1 วินาที อันจะทาให้เกิดคลื่นขึ้นเป็นจานวนนั้นในเวลาอันนั้น
ด้วย หน่วยของความถี่เป็น รอบ/วินาที หรือ ครั้ง/วินาที ในหน่วยเอสไอ
เรียกว่า เฮิร์ตซ์ (hertz,Hz)
Main Manu คลื่น
คลื่น
6.เวลาครอบรอบ(period,T) เป็นเวลาการหมุนครอบ 1 รอบ หรือเวลา
ที่ทาให้เกิด 1 คลื่น อาจจะเทียบกับเวลาที่น้าที่ตาแหน่งหนึ่ง เคลื่อนที่มี
ลักษณะขึ้นเป็นสัน แล้วเคลื่อนที่ลงจนกลับมาขึ้นมาเป็นลักษณะเดิมอีก
ดังนั้น
Main Manu คลื่น
คลื่น
7.ความเร็วคลื่น(velocity) เป็นการเรียกอย่างสั้นๆ ของความเร็วเฟส
ของคลื่น หมายถึง ความเร็วที่คลื่นเคลื่อนที่ไปใน 1 หน่วยเวลา เช่น
คลื่นน้า จะสามารถสังเกตเห็นสันคลื่นน้า เคลื่อนที่ไปในเวลาจากัด
อันหนึ่งได้
สมมตว่าคลื่นมีความถี่ f Hz ระยะทางใน 1 วินาทีก็คือ fλ นั่นคือ
ความเร็ว v จะเป็นไปตาม
V = f λ
Main Manu คลื่น
คลื่น
หลักการรวมได้ของคลื่น(superposition principle)
1.เมื่อคลื่นตั้งแต่ 2 คลื่นขึ้นไป มาพบกัน ขนาดของการขจัดของ
คลื่นรวม จะเท่ากับผลบวกพีชคณิตของขนาดการขจัดของแต่ละคลื่น
2.เมื่อคลื่นเหล่านั้นผ่านพ้นกันไปแล้ว แต่ละคลื่นจะยังคงมีรูปร่าง
อย่างเดิมเหมือนเมื่อตอนยังไม่พบกัน
Main Manu คลื่น
คลื่น
สมบัติของคลื่น
1.การสะท้อน(reflection) จะเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปถึงเขต
(boundary) ซึ่งอาจจะเป็นปลายสุด หรือเป็นเขตระหว่างตัวกลาง การ
สะท้อนของคลื่นมีข้อสังเกตเกี่ยวกับเฟสของคลื่น คือ
1.ถ้าคลื่นเคลื่อนที่ไปในตัวกลาง ที่มีความหนาแน่นมากกว่า คลื่นสะท้อน
สะท้อนจากเขตจะมีเฟสเปลี่ยนไป 180 องศา
Main Manu คลื่น
คลื่น
2.ถ้าคลื่นเคลื่อนที่ไปในตัวกลาง ที่มีความหนาแน่นมากกว่า ไปยัง
ตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า คลื่นสะท้อนจากเขตจะไม่เปลี่ยน
เฟส
3.ในกรณีที่คลื่นเคลื่อนที่ไปยังเขต ในแนวที่ไม่ตั้งฉากคลื่นสะท้อนจะ
เกิดขึ้นไปในทิศทามุมสะท้อนเท่ากับมุมตกกระทบเสมอ
Main Manu คลื่น
คลื่น
2.การหักเห(refraction) จะเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวกลาง
หนึ่งไปสู่อีกตัวกลางหนึ่งในแนวไม่ตั้งฉากกับเขตต่อระหว่างผิว ผลจะทาให้
ให้แนวหารเดินของคลื่นเบนไป ทั้งนี้เพราะความเร็วคลื่นจะเปลี่ยนไป แต่
แต่ความถี่ของคลื่นจะยังคงเดิม
ในกรณีของคลื่นผิวน้า ความเร็วคลื่นบริเวณน้าลึกจะเร็วกว่าบริเวณน้า
ตื้น ดังนั้นคลื่นจะเกิดการหักเหได้แม้จะเป็นตัวกลางชนิดเดียวกันก็ตาม
Main Manu คลื่น
คลื่น
สาหรับกรณีตัวกลางเดียวกันแต่อุณหภูมิไม่เท่ากัน ความเร็วคลื่น
ในตัวกลางแต่ละส่วนอาจจะไม่เท่ากันได้ ทั้งนี้เพราะว่าความเร็วคลื่นใน
ตัวกลางชนิดหนึ่งๆขึ้นอยู่กับอุณหภูมิเคลวินด้วย คือ
Main Manu คลื่น
คลื่น
ค่าอัตราส่วนของความเร็วคลื่นในตัวกลางคู่หนึ่ง จะคงที่และ
เรียกว่า ค่าดัชนีหักเห(n) กล่าวคือ
Main Manu คลื่น
คลื่น
3.การแทรกสอด(interference) เป็นการเสริมกันหรือหักลบกัน
ของคลื่น 2 คลื่นขึ้นไป การแทรกสอดนั้นจะเห็นผลชัดเจนเมื่อ
แหล่งกาเนิดนั้นๆส่งคลื่นที่มีความถี่เดียวกันและในเฟสเดียวกัน
แหล่งกาเนิดที่ให้คลื่นเช่นนี้เรียกว่าเป็น แหล่งกาเนิดอาพันธ์
การแทรกสอดเกิดจากคลื่นที่ส่งมาจากแหล่งกาเนิดอาพันธ์คู่หนึ่ง
จะเกิดการเสริมและหักลบกันได้มากที่สุดที่จุดใดจุดหนึ่งนั้น เป็นไปตาม
เงื่อนไขดังนี้
Main Manu คลื่น
คลื่น
1.เสริมกันมากที่สุด(maximum) เมื่อระยะทางจากจุดนั้นถึง
แหล่งกาเนิดแต่ละแหล่งต่างกันอยู่ = nλ
2.หักลบกันหมดไป(minimum) เมื่อระยะทางจากจุดนั้นถึง
แหล่งกาเนิดแต่ละแหล่งต่างกันอยู่ = (n+1/2)λ
เมื่อ n = 0,1,2,… เลขจานวนเต็มใดๆ
การแทรกสอดอันเกิดจากคลื่นหนึ่งๆกับคลื่นอันเดิมที่มีการสะท้อน
กลับทาง จะทาให้มีโอกาสเกิด คลื่นนิ่ง ได้ ถ้าระยะระหว่างแหล่งกาเนิด
กับจุดสะท้อนนั้นเป็นจานวนเต็มของ λ/2
Main Manu คลื่น
คลื่น
4.การเลี้ยวเบน(diffraction) เกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปถึงขอบ
สิ่งกีดขวาง เมื่อถึงจุดนั้นแล้วก็เสมือนกับว่าเป็นจุดกาเนิดคลื่นใหม่
กระจายคลื่นออกไปได้รอบๆ ด้วยเหตุนี้จึงเกิดการเลี้ยวเบนได้ เมื่อ
พิจารณาร่วมกับคลื่นเดิมที่เคลื่อนที่เข้ามา
หลักการที่อ้างถึงนี้คือ หลักของ ฮอยเกนส์(Huygen’s principle)
ซึ่งกล่าวว่า “แต่ลุดบนหน้าคลื่น ถือได้ว่าเป็นจุดกาเนิดของคลื่นใหม่ได้”
เมื่อเกิดการเลี้ยวเบนแล้ว เมื่อคลื่นคู่หนึ่งไปพบกัน ณ จุดใดๆก็จะ
ทาให้เกิดการแทรกสอดตามมาเสมอไป
Main Manu คลื่น
คลื่นเสียง
สมบัติของคลื่นเสียง
ความยาวคลื่น
และความถี่ของคลื่นเสียง
Main Manu
ปรากฏการณ์
การแทรกสอดของเสียง
เสียง
การได้ยิน
อัตราเร็วคลื่นเสียง ปรากฏการณ์ดอป
เปลอร์
คลื่นกระแทก
กาทอน
เสียง
1.คลื่นเสียง เป็นคลื่นตามยาว จาเป็นต้องอาศัยตัวกลาง เมื่อมี
คลื่นเสียงถูกส่งออกมาจากแหล่งกาเนิด จะทาให้โมเลกุลของตัวกลาง
เกิดการอัดตัว แล้วแผ่ออกไปเป็นการชยายตัว สลับกันต่อเนื่องกัน
ออกไปรอบๆจนถึงผู้ฟัง
2.ความยาวคลื่นและความถี่ของคลื่นเสียง ระยะทางจากส่วน
ที่อัดกัน หรือส่วนขยายที่อยู่ถัดกัน คือความยาวคลื่นเสียง
เมื่อแหล่งกาเนิดเสียงมีการการสั่นด้วยความถี่เท่าใด เสียงนั้นก็จะ
มีความถี่ของคลื่นเสียงเท่านั้นด้วย
Main Manu เสียง
เสียง
3.อัตราเร็วคลื่นเสียง อัตราเร็ว v , ความถี่ f และความยาวคลื่น
λ มีความสัมพันธ์กันตามลักษณะของคลื่นโดยทั่วไปคือ
V = f λ
จากการทดลองยังพบว่าอัตราเร็วของเสียงจะสัมพันธ์กับอุณหภูมิ
ของตัวกลางที่เคลื่อนที่ผ่าน
Main Manu เสียง
เสียง
4.สมบัติของคลื่นเสียง จะเป็นไปตามสมบัติของคลื่นโดยทั่วไป
คือจะเกิดปรากฏการณ์ต่างๆเหล่านี้ได้
1.การสะท้อน เมื่อคลื่นเสียงไปถึงตัวสะท้อน
2.การหักเห เมื่อคลื่นเสียงผ่านไปในตัวกลางแตกต่างกัน
3.การแทรกสอด เมื่อคลื่นเสียงตั้งแต่ 2 คลื่นขึ้นไปมาพบกัน จะ
เสริมกันหรือขัดกันได้
4.การเลี้ยวเบน เมื่อคลื่นไปถึงขอบของสิ่งกีดขวาง การเลี้ยวเบน
ของเสียงเป็นปรากฏการณ์ที่ชัดเจนกว่าคลื่นอย่างอื่นๆ
Main Manu เสียง
เสียง
5.ปรากฏการณ์การแทรกสอดของเสียง
เสียงจะมีการแทรกสอดกันได้เสมอ แต่จะสังเกตได้ง่ายขึ้นในกรณี
ดังต่อไปนี้
1.คลื่นเสียงความถี่เท่ากัน คลื่นเสียง 2 คลื่น เคลื่อนที่จาก
แหล่งกาเนิดอาพันธ์มาพบกัน จะเกิดการเสริมกันหรือขัดกัน ทาให้เกิด
เสียงดังแรงขั้น หรือเสียงค่อยลงได้
Main Manu เสียง
เสียง
2.คลื่นเสียงมีความถี่เท่ากัน แต่เคลื่อนที่สวนทางกัน จะมีโอกาส
เกิดคลื่นนิ่งได้ ในระยะทางระหว่างการเคลื่อนที่จะพบว่าเกิดเสียงดัง
และค่อยสลับกันไป แต่ต้องมีเงื่อนไขว่า
ก.แหล่งกาเนิดทั้งสองต้องให้คลื่นสวนทางในแนวตรงกันพอดี
ข.แหล่งกาเนิดทั้งสองต้องส่งคลื่นโดยมีเฟสเหมือนกัน หรือต่างกัน
180 องศาเท่านั้น
ค.ถ้าต้องการให้เกิดจุดบัพ ที่แหล่งกาเนิดคลื่นพอดี จะต้องวาง
แหล่งกาเนิดห่างกัน L เป็นไปตามเงื่อนไข
Main Manu เสียง
เสียง
L = 2n* λ/2 เมื่อมีเฟสเริ่มตรงกัน
L = (2n-1)* λ/2 เมื่อมีเฟสเริ่มต่างกัน 180 องศา
n = 1,2,3,4,…
Main Manu เสียง
เสียง
ในทางปฏิบัตินั้น จะใช้เครื่องกาเนิดเสียงเครื่องเดียว ส่งไปสู่ตัว
สะท้อน โดยมีระยะห่างเป็นจานวนเต็มใดๆ ของ λ/2 ทั้งนี้ก็เพราะคลื่น
สะท้อนจะเปลี่ยนเฟสไป 180 องศา ที่จะสะท้อนอยู่แล้ว
Main Manu เสียง
เสียง
3.คลื่นเสียงที่มีความถี่ต่างกัน คลื่นเสียง 2 คลื่นจากแหล่งกาเนิด
ต่างกัน ส่งคลื่นความถี่ต่างกัน จะเกิดการผสมกัน เรียกว่า โมดูเลชั่น ซึ่ง
ก็คือการแทรกสอดให้เกิดเสียงดังแรงและค่อยเป็นจังหวะ เมื่อเวลาผ่าน
ไป ทั้งๆที่ผู้ฟังยังอยู่ตาแหน่งเดิม การแทรกสอดชนิดนี้เรียกว่า การเกิด
บีตส์ เสียงดังและค่อยเป็นจังหวะเรียกว่า บีตส์
ความถี่ของบีตส์หรือความถี่ที่เสียงดังขึ้นแต่ละครั้งจะมีค้เท่ากับ
ผลต่างของความถี่ทั้งสองนั้น
Main Manu เสียง
เสียง
Main Manu เสียง
เสียง
มีข้อสังเกตที่สาคัญคือ
1.จะเกิดบีตส์ได้ชัด ถ้า f1 และ f2 มีค่าใกล้เคียงกัน คือ มีค่าบีตส์
2.เสียงมีหน่วยเป็นรอบต่อวินาที เกิดจากการอัดขยายของ
โมเลกุลตัวกลางมีจานวนครั้งต่อวินาที แต่บีตว์แม้ว่าจะมีหน่วยเป็นครั้ง
ต่อวินาที ก็ไม่ได้มีความหมายอย่างเดียวกัน
Main Manu เสียง
เสียง
6.การได้ยิน
การที่ผู้ฟังจะได้ยินเสียงใดๆได้นั้นจะมีเงื่อนไขที่สาคัญคือ ประสาท
ผิดปกติ และเสียงต้องมีความเหมาะสมที่จะให้ประสาทหูรับรู้ได้
1.ความเข้มเสียง หมายถึงอัตราพลังงานของคลื่นเสียงที่เคลื่อนไป
ตกบน1หน่วยพื้นที่รับเสียงในแนวตั้งฉาก โดยทั่วไปนั้นความเข้มเสียง
น้อยที่สุดที่มนุษย์ได้ยินได้ คือ w/m2 ส่วนความเข้มเสียงที่
มากที่สุดที่หูมนุษย์จะทนได้ คือ
เมิอ I คือความเข้มเสียงใดๆ ความเข้มสัมพัทธ์
Main Manu เสียง
เสียง
เมื่อแหล่งกาเนิดเสียง มีกาลังในการส่งพลังงานออกไป P W ซึ่ง
ส่งออกไปรอบตัว ที่ตาแหน่งห่างออกไป r m กาลังของเสียงย่อมถือว่า
ได้ส่งผ่านพื้นที่ผิวทรงกลมออกไป
ความเข้มเสียงที่จุดนั้น
2.ระดับความเข้มเสียง กาหนดให้มีหน่วยเป็น เดซิเบล ซึ่งมีค่าเป็น
10 เท่าของ log ของความเข้มสัมพัทธ์
Main Manu เสียง
เสียง
3.ความถี่เสียง โดยเฉลี่ยแล้วหูมนุษย์จะรับรู้เสียงได้ระหว่าง
ความถี่ 20-20,000 Hz แต่เครื่องมือที่สร้างขึ้นหรือสัตว์อื่นๆ อาจรับรู้
เสียงที่มีความถี่ต่าหรือสูงกว่านี้ได้
Main Manu เสียง
เสียง
7.ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์
เป็นปรากฏการณ์ที่ความถี่ หรือระดับเสียงที่ผู้สังเกตได้ยินนั้น
เมื่อแหล่งกาเนิดเสียงหรือผู้สังเกต อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งสองอย่าง
มีการเคลื่อนที่ ให้พิจารณารูปแล้วใช้หลักการในหัวข้อต่างๆต่อไปนี้
Main Manu เสียง
เสียง
1.เมื่อผู้สังเกตอยู่ดานหน้า
ก.ยืนอยู่กับที่ เสียงเคลื่อนที่เข้าสู่ผู้ฟังด้วยความเร็ว V
ความถี่ที่ได้ยิน
ข.เดินเข้าหาแหล่งกาเนิดด้วยอัตราเร็ว Vo เสียงจะเคลื่อนที่เข้าสู่
ผู้ฟัง ด้วยความเร็วสัมพัทธ์ V+Vo
ความถี่ที่ได้ยิน
ค.เดินออกจากแหล่งกาเนิดด้วยอัตราเร็ว Vo เสียงจะเคลื่อนที่เข้า
สู่ผู้ฟังด้วยความเร็วสัมพัทธ์ V-Vo
ความถี่ที่ได้ยินMain Manu เสียง
เสียง
2.เมื่อผู้สังเกตอยู่ด้านหลัง
ก.ยืนอยู่กับที่ เสียงเคลื่อนที่เข้สู่ผู้ฟังด้วยความเร็ว V
ความถี่ที่ได้ยิน
ข.เดินเข้าหาแหล่งกาเนิดด้วยอัตราเร็ว Vo เสียงจะเคลื่อนที่เข้าสู่
ผู้ฟัง ด้วยความเร็วสัมพัทธ์ V+Vo
ความถี่ที่ได้ยิน
ค.เดินออกจากแหล่งกาเนิดด้วยอัตราเร็ว Vo เสียงจะเคลื่อนที่เข้า
สู่ผู้ฟังด้วยความเร็วสัมพัทธ์ V-Vo
ความถี่ที่ได้ยินMain Manu เสียง
เสียง
ทั้ง 6 สมการนี้ จะเขียนรวมกันและประกอบกับหลักการใช้
เครื่องหมายดังนี้คือ
ผู้สังเกตอยู่ด้านหน้า Vs เป็น +
ผู้สังเกตอยู่ด้านหลัง Vs เป็น -
ผู้สังเกตเดินเข้าไปหา Vo เป็น +
ผู้สังเกตเดินออกไป Vo เป็น -
Main Manu เสียง
เสียง
8.คลื่นกระแทก ในกรณีที่แหล่งเคลื่อนที่เร็วกว่าคลื่นที่เกิดขึ้น เช่น
เครื่องบินที่บินเร็วเหนือเสียง เทียบกับปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ที่กล่าว
มาแล้ว จะเป็นกรณีที่ Vs > V
Main Manu เสียง
Main Manu เสียง
Main Manu เสียง
Main Manu เสียง
Main Manu เสียง
Main Manu เสียง
Main Manu เสียง
Main Manu
แสง
สมบัติทางกายภาพของ
แสงธรรมชาติของแสง
ความยาวคลื่นและอัตราเร็วแสง
การแทรกสอดและการเลี้ยวเบน
สีของแสง
สมบัติทางเรขาคณิตของ
แสงความหมายของสมบัติ
การหักเหที่ผิวเรียบโค้งทรงกลม
การสะท้อนจากผิวตรง
การสะท้อนจากผิวโค้งเรียบทรง
กลมการหักเหที่ผิวเรียบตรง
การกระเจิงของแสง
เลนซ์
แสง
สมบัติทางกายภาพของแสง
1.ธรรมชาติของแสง
มีปรากฏการณ์ที่แสดงว่าแสงเป็นคลื่น เช่น การเลี้ยวเบน การสะท้อน
การหักเห เละการแทรกสอด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแทรกสอด เป็นสิ่งแสดง
แสดงได้ชัดเจนถึงความแตกต่างระหว่างคลื่นกับอนุภาค ดังนั้นแสงจึงมี
สมบัติเป็นคลื่นตามขวางและอนุภาคในเวลาเดียวกัน
กล่าวโดยทั่วไป แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าชนิดหนึ่ง มีพลังงานควบคู่
เป็นควอนตัม เช่นเดียวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าอื่นๆ
Main Manu แสง
แสง
2.ความยาวคลื่นและอัตราเร็วของแสง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าโดยทั่วๆไปนั้น มีอัตรเร็วเป็นค่าคงที่เดียวกัน
ผ่านไปในตัวกลางสภาวะเดียวกัน คือ
แสงสว่าง หมายถึงแสงที่ให้การรู้ได้ต่อสายตานั้น เป็นแต่เพียงส่วน
หนึ่งเท่านั้น คือมีความยาวคลื่นโดยประมาณ อยู่ระหว่าง 380 nm ถึง
780 nm หรือในหน่วยแบบเดิมคือ 3800-7800 อังสตอม สเปคตรัมของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าถูกเรียกชื่อตามช่วงของความยาวคลื่น
เช่นเดียวกับคลื่นทั่วๆไป ความยาวคลื่น ความถี่ และอัตราเร็วของ
แสงก็ยังคงมีความสัมพันธ์ในลักษณะเดียวกันคือ c = f λ
Main Manu แสง
Main Manu แสง
แสง
3.การแทรกสอดและการเลี้ยวเบนของแสง
แสงจะเกิดการแทรกสอดกันได้นั้น จะต้องเป็นแสงที่ถูกส่งมาจาก
แหล่งกาเนิดอาพันธ์ นั่นคือแสงที่ส่งออกมานั้น จะต้องมีเฟสตรงกัน
และรักษาสมบัติเช่นนั้นไว้ตลอดเวลาจนกว่าจะถึงจุดที่มีการแทรกสอด
แสงที่มีสมบัติเช่นนี้เรียกว่า แสงอาพันธ์ คลื่นแสงอาพันธ์คู่หนึ่ง จะแทรก
สอดกันด้วยเงื่อนไขดังนี้
ผลต่างของระยะทาง = nλ จะเกิดการเสริมกัน
ผลต่างของระยะทาง = (n+1/2) λ จะเกิดการขัดกัน
Main Manu แสง
แสง
1.การแทรกสอดเกิดจากช่องเจาะคู่
พิจารณาเฉพาะเมื่อมีลาแสงขนาน ส่องมาให้แนวตั้งฉากกับแผ่น
กั้นที่มีช่องเล็กๆ 2 ช่อง ห่างกัน d นาฉากรับภาพในแนวนขนานกับแผ่น
กั้นเป็นระยะทาง D ซึ่งไกลออกไปพอควร พิจารณาเฉพาะกรณีที่
D >> d
Main Manu แสง
แสง
ด้วยเงื่อนไข D >> d และ P ไม่ไกลจาก O มากนัก ทาให้ϴเป็น
มุมค่อนข้างเล็ก ถ้าลากเส้นจาก A มาตั้งฉากกับ BP ที่จุด A’
Main Manu แสง
แสง
จะพบว่า A’P = AP
ดังนั้นระยะทางที่แสงเดินทางจะต่างกันอยู่ = BP – AP
= BP – A’P
= A’B
= dsinϴ
เงื่อนไขของการแทรกสอที่จุด P หรือตาแหน่งใดๆบนฉากคือ
Main Manu แสง
แสง
2.การแทรกสอดเกิดจากเกรตติง
สืบเนื่องมาจากการแทรกสอดเกิดจากช่องเจาะคู่ โดยพิจารณา
จากสมการ
sinϴ = nλ/d
จะเห็นได้ว่า d เป็นตัวหาร ถ้าทาให้มีค่าน้อยลงได้ มุมϴจะโตขึ้น
นั่นคือจุดที่มีการแทรกสอดบนฉากจะอยู่ห่างกันมากขึ้นทาให้ผู้ทดลอง
สังเกตและได้ข้อมูลของการวัดดีขึ้น โดยไม่ต้องเลื่อนออกไปไกล
Main Manu แสง
แสง
หลักการของเกรตติงนี้ยังนาไปใช้เป็นประโยชน์ในการศึกษา
โครงสร้างของสสารโดยรังสีเอกซ์ คือ ระนาบที่มีอะตอมอยู่นั้น อยู่อย่าง
มีระเบียบติดชิดกันมาก เปรียบเหมือนเป็นเกรดตติงรังสีเอกซ์ก็เปรียบได้
กับแสงที่ผ่านเข้ามา จะเกิดการเลี้ยวเบนและแทรกสอดได้ในที่สุด แล้ว
ตรวจวัดได้ด้วยเครื่องมือที่เหมาะสมกับงานนั้นๆ
Main Manu แสง
แสง
4.สีของแสง
แสงสีต่างๆเมื่อตรวจสอบโดยการแทรกสอด ไม่ว่าจะใช้ช่องเจาะคู่
เกรตติงก็ตาม จะสามารถหาความยาวคลื่นได้แน่ชัดจากการการทดลอง
ว่า แสงสีหนึ่งๆจะมีความยาวคลื่นเป็นค่าเฉพาะ แตกต่างไปจากความ
ยาวคลื่นของแสงสีอื่นๆ
Main Manu แสง
แสง
แสงไม่มีสี หรือที่เรียกกันว่า แสงสีขาว เช่น แสงจากดวงอาทิตย์
พบว่าประกอบขึ้นจากแสง 7 สี คือ ม่วง คราม น้าเงิน เขียว เหลือง แสด
แดง มีความยาวคลื่นและความถี่ดังที่รวบรวมไว้นี้
Main Manu แสง
แสง
ขอให้สังเกตว่า แสงเหนือม่วง ความถี่จะอยู่ เหนือความถี่ ของแสง
ม่วงขึ้นไป และแสงให้แดง ความถี่อยู่ ให้ความถี่ ของแสงแดงลงมา
5.การกระเจิงของแสง
สมบัติบางประการหนึ่งที่เกี่ยวกับคลื่น คือ การกระเจิง ยกตัวอย่าง
ชีวิตประจาวันที่เห็นได้ง่าย เช่น คลื่นน้า ถ้าเป็นคลื่นเล็กๆ ความยาว
คลื่นน้อยๆเคลื่อนไปถึงเรือลาหนึ่ง จะไม่ค่อยมีผลต่อเรือเลย แต่ทว่า
คลื่นนั้นจะมีการสะท้อนหรือกระจายเลี้ยวออกไปจากเรือ ในทาง
กลับกัน ถ้าเป้ นคลื่นใหญ่ๆความยาวคลื่นมาก
Main Manu แสง
แสง
สมบัติทางเรขาคณิตของแสง
1.ความหมายของสมบัติทางเรขาคณิตของแสง
หมายถึงสมบัติของแสงอันศึกษาโดยวิธีการใช้แนวทางเดินของแสง
หรือรังสีเพื่อศึกษาการเคลื่อนที่ของแสงในตัวกลสง แทนที่จะพิจารณาใน
ในลักษณะคลื่นแผ่ออกไปจากต้นกาเนิด การศึกษาเช่นนี้เกี่ยวข้องส่วนใหญ่
ใหญ่อยู่กับตาแหน่ง และแนวทางเดินของลาแสงหนึ่งสามารถจะหา
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณต่างๆที่เกี่ยวข้องโดยวิธีพิสูจน์ในทางเรขาคณิต
เรขาคณิต ตรีโกณมิติ และการสร้างรูปโดยตรง
Main Manu แสง
แสง
2.การสะท้อนจากผิวเรียบตรง
พิจารณาถึงการสะท้อนจากผิวใดๆจุดซึ่งมีการสะท้อนประกอบกับเส้น
สัมผัสผิว ณ จุดๆนั้น จะเป็นไปตามกฎการสะท้อน
มุมตก = มุมสะท้อน
ถ้าเป็นผิวเรียบ จะมีแนวแสงสะท้อนมีลุกษณะเป็นระเบียบอันตรงกัน
ข้ามกับการสะท้อนบนผิวขรุขระ แสงสะท้อนจากผิวจะไร้ระเบียบ
การสะท้อนที่มีระเบียบ เกิดจากผิวเรียบ แบ่งได้เป็น 2 อย่างคือ จากผิว
ราบ และจากผิวโค้ง
Main Manu แสง
แสง
การสะท้อนจากผิวราบ เช่น การสะท้อนจากกระจกเงาราบ จะ
พบว่า
(ก) มุมตก = มุมสะท้อน
(ข) ระยะจากวัตถุถึงผิวสะท้อน = ระยะภาพจากภาพถึงผิว
สะท้อน
(ค) ขนาดของภาพ = ขนาดของวัตถุ
Main Manu แสง
แสง
3.การสะท้อนจากผิวเรียบโค้งทรงกลม
ถ้าผิวสะท้อนเป็นผิวนูน ก็มักจะเรียกว่าเป็น กระจกนูน ถ้าผิว
เป็นผิวเว้า เรียกว่าเป็น กระจกเว้า
การสะท้อนเช่นนี้ก็ยังคงอาศัยหลักการ
(ก) มุมตก = มุมสะท้อน มุมเหล่านี้วัดเทียบกับเส้นปกติ
(ข) แสงขนานกับแกนกระจกโค้ง จะเกิดการสะท้อนในแนวผ่านจุด
คงที่จุดหนึ่งเสมอ จุดนั้น เรียกว่า จุดโฟกัส ถ้าลาแสงผ่านจริง เรียกว่า
โฟกัสจริง ถ้าลาแสงไม่ได้ผ่าน แต่หากมีแนวกระจายออกไปจากจุดนั้น
เรียกว่า โฟกัสเสมือน
Main Manu แสง
แสง
1.สมการแสดงความสัมพันธ์ของปริมาณต่างๆ คือ
เมื่อ s = ระยะวัตถุ s’ = ระยะภาพ
f = ระยะความยาวโฟกัส R = รัศมีความโค้ง
โดยมีหลักการคือ
1. ระยะต่างๆวัดไปถึงกระจกแสมอ
2.ปริมาณจริงเป็น + เสมือนเป็น -
การพิสูจน์หาสมการนี้เป็นสิ่งที่จาเป็นต้องทาความเข้าใจ
Main Manu แสง
แสง
2.หลักการเขียนภาพทางเดินของแสง เพื่อการหาตาแหน่งภาพ
1.เขียนแนวทางเดินรังสีของแสงจากวัตถุขนานกับแกนไปยัง
กระจก ให้สะท้อนในแนวผ่านจุดโฟกัส
2.เขียนแนวทางเดินรังสีของแสงจากวัตถุ ผ่านจุดศูนย์กลางความ
โค้ง ไปยังกระจก สะท้อนกลับทางเดิม
3.จุดตัดกันของแนวรังสีในข้อ 1 และข้อ 2 จะเป็นตาแหน่งภาพจริง
และถ้าเป็นจุดตัดของแนวต่อของรังสีในข้อ 1 และข้อ 2 จะเป็นตาแน่ง
ภาพเสมือน
Main Manu แสง
แสง
4.การหักเหที่ผิวเรียบตรง
จะเกิดขึ้นเมื่อรังสีของแสง ผ่านรอยต่อของตัวกลางต่างกัน จึง
ขัดเจนอีกได้ว่า ตราบเท่าที่แสงเดินทางอยู่ในตัวกลางเดิมที่เป็นเนื้อ
เดียวกันจะไม่เกิดการหักเหขึ้นเลย เมื่อแสงส่องจากตัวกลางหนึ่งไปยัง
อีกตัวกลางหนึ่ง โดยทั่วไปจะเกิดขึ้นทั้งการหักเหและการสะท้อนพร้อมๆ
กัน ซึ่งอาจจะพบว่าอย่างใดหอย่างหนึ่งเกิดขึ้นมากหรือน้อยกว่าอีก
อย่างหนึ่งได้
Main Manu แสง
แสง
1.มุมตกและมุมหักเห วัดเทียบกับแนวเส้นปกติ อันเป็นเส้นลากตั้งฉากกับผิว
ให้ ϴ1 เป็นมุมตกจากตัวกลาง 1 ซึ่งเท่ากับ
มุมสะท้อนในตัวกลาง 1
ϴ2 เป็นมุมหักเหในตัวกลาง 2
n1,n2 เป็นดัชนีหักเหของตัวกลาง 1 และ 2
พิสูจน์ได้เป็นกฎของสเนล คือ
n1sinϴ1 = n2sinϴ2
Main Manu แสง
แสง
โดยทั่วไป ถ้าตัวกลาง 1 เป็นอากาศ n1 = 1 และตัวกลาง 2 เป็น
ตัวกลางใดๆ n2 เป็นดัชนีหักเหของตัวกลางนั้นเขียนเป็น n จึงมักจะ
เขียนกันโดยง่ายๆว่า
ในที่นี้ϴi คือ ϴ1 เป็นมุมตก และ ϴr คือ ϴ2 เป็นมุมหักเห
Main Manu แสง
แสง
2.การสะท้อนกลับหมด จะเกิดขึ้นได้เฉพาะในกรณรที่แสงตกใน
ตัวกลางที่มี n สูงกว่าไปยังผิวตัวกลางที่มี n น้อยกว่า ถ้าทามุมตกโตก
ว่ามุมจากัดอันหนึ่งซึ่งเรียกว่า มุมวิกฤต จะไม่มีแสงหักเหออกไป
หากแต่จะสะท้อนกลับมาหมด ภายในตัวกลางเดิม
สังเกตได้ว่า ถ้าแสงตกทามุม
เท่ากับมุมวิกฤตพอดี แสงจะหักเหไป
ตามผิวรอยต่อ คือทามุมหักเหเป็น
90 องศา นั่นเอง
Main Manu แสง
แสง
4.การกระจายของแสง
เมื่อแสงมีการหักเหหรือเลี้ยวเบนไปจากแนวเดิม มุมที่มีรังสีหักเห
ทากับแนวรังสีเดิมก่อนหักเห เรียกว่า มุมเบี่ยงเบน แสงที่มีความยาว
คลื่นต่างกัน จะกระจายได้ต่างกัน
Main Manu แสง
แสง
5.ความลึกของวัตถุ ที่ปรากฏต่อผู้สังเกต
เมื่อผู้สังเกตอยู่ในตัวกลางหนึ่ง มองไปยังวัตถุซึ่งอยู่ในอีกตัวกลาง
หนึ่ง จะพบว่าวัตถุนั้นอยู่ห่างจากผิวรอยต่อของตัวกลาง แตกต่างไป
จากระยะห่างจริง จะสัมพันธ์กันในรูปสมการคือ
Main Manu แสง
แสง
ความสัมพันธ์ในรูปสมการนี้มีประโยชน์มาก เพราะจะกลับวัตถุ
และผู้สังเกตให้อยู่ในตัวกลางที่กลับกันได้
โดยทั่วไป ถ้าตัวกลาง 1 เป็นอากาศ มักจะเขียนง่ายๆในรูป
Main Manu แสง
แสง
5.การหักเหที่ผิวเรียบโค้งทรงกลม
กฎการหักเหที่เกี่ยวข้องกับดัชนีหักเหของสเนลยังคงเป็นจริง วัตถุ
ในตัวกลาง 1 จะทาให้เกิดภาพจริง อยู่ในตัวกลาง 2 ได้ ตาแหน่งวัตถุ
ตาแหน่งภาพ รัศมี ความโค้งของผิว จะมีความสัมพันธ์กับค่าดัชนีหักเห
ในลักษณะสมการ
ประกอบกับหลักการใช้เครื่องหมายว่า
1.จริงเป็น + เหมือนเป็น –
2.ผิวนูน R เป็น + ผิวเว้าเป็น -
Main Manu แสง
แสง
6.เลนซ์
เป็นวัตถุโปร่งใส เช่น แก้ว พลาสติก หรือแม้แต่ก้อนน้าแข็ง รวมทั้ง
วัสดุอื่นๆมีผิวโค้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1.เลนซ์นูน มีส่วนกลางหนากว่าส่วนริม
2.เลนซ์เว้า มีส่วนกลางบางกว่าส่วนริม
เมื่อกล่าวถึงเลนซ์โดยทั่วไปจะเข้าใจกันว่ามีผิวโค้งทรงกลม แต่จะ
มีเลนซ์ที่มีผิวโค้งอย่างอื่นได้ เช่นโค้งแบบกาบกล้วยใช้ในอุปกรณ์ทาง
แสงเป็นกรณีเฉพาะ
Main Manu แสง
แสง
1.เลนซ์หนา จะเป็นชนิดนูนหรือเว้าก็ตามที่มีความหนา
จาเป็นต้องคิดการหักเหที่ผิวเรียบโค้งทรงกลม เพื่อหาตาแหน่งภาพ
เกิดขึ้นจากผิวแรก แล้วนาไปคิดเป็นวัตถุผิวโค้งที่สอง แม้ว่าจะมีความ
ยุ่งยากพอควร แต่ก็อยู่ในวิสัยที่ผู้ศึกษาจะทาได้
2.เลนซ์บาง จะเป็นชนิดนูนหรือเว้าก็ตาม ความหนาไม่มากนัก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเทียบกับขนาดของเลนซ์และระยะที่วางวัตถุไว้
หน้าเลนซ์นั้น ความหนาของเลนซ์จะมีค่าน้อย จนละเว้นระยะห่าง
ระหว่างผิวของเลนซ์ไปได้
Main Manu แสง
แสง
ถ้าวัสดุทาเป็นเลนซ์มีค่าดัชนีหักเห n2 แล้วทาการทดลองอยู่ใน
ตัวกลางที่มีค่าดัชนีหักเห n1 จะได้ความสัมพันธ์ของปริมาณต่างๆคือ
ทั้งนี้s และ s’ คือระยะภาพและระยะวัตถุจากเลนซ์
f คือ ความยาวโฟกัส R1 และ R2 คือ รัศมีความโค้งของเลนซ์
ประกอบกับหลักการใช้เครื่องหมายว่า
1.จริงเป็น + เหมือนเป็น -
2.ผิวนูน R เป็น + ผิวเว้าเป็น -
Main Manu แสง
แสง
ข้อสังเกตที่สาคัญ
1.ความยาวโฟกัสของเลนซ์ เกี่ยวข้องกับรัศมีความโค้งในลักษณะ
ดังนั้นโดยทั่วไปแล้ว f ≠ R/2 ซึ่งต่างกับเรื่องของกระจะโค้ง
2.ความยาวโฟกัสของเลนซ์หาได้จากสมการใน 1. จึงอาจจะมีค่าเป็น
+ หรือ – ก็ได้ เลนซ์นูนจะมีค่า f เป็น + และเลนซ์เว้าจะมีค่า f เป็น –
Main Manu แสง
แสง
3.เลนซ์บางในอากาศ
ในที่นี้n1 = 1 และ n2 เขียนเป็น n สมการจึงเป็นในลักษณะ
ประกอบเข้ากับหลักการใช้เครื่องหมายเช่นเดิม สมการที่ใช้กันมาก
ในการเรียนระดับนี้คือ
ซึ่งมีรูปสมการเหมือนกับสมการของกระจกโค้ง
Main Manu แสง
แสง
4.หลักการเขียนทางเดินของแสงเพื่อหาตาแหน่งภาพ
1.เขียนแนวทางเดินรังสีของแสงจากวัตถุขนานกับแกนไปยังเลนซื
บาง เสมือนว่ามีการหักเหทันทีในแนวผ่านจุดโฟกัสด้านหลัง ถ้าเป็น
เลนซ์นูน และจุดโฟกัสด้านหน้าถ้าเป็นเลนซ์เว้า
2.เขียนแนวทางเดินของแสงผ่านจุดกลางเลนซ์ตรงไปในแนวเดิม
3.จุดตัดกันของ 1. และ 2. เป็นตาแหน่งของภาพ
Main Manu แสง
แหล่งอ้างอิง
http://www.neutron.rmutphysics.com/news/index.php?option=com
_content&task=view&id=1603
Main Manu
ผู้จัดทา
นายพงปภัส ภัทรวีร์ธัญวิชย์ ชื่อเล่น ซี
ชั้น ม.6/8 เลขที่ 31
นายอิศรพงษ์ แก้ววัน ชื่อเล่น มาร์ค
ชั้น ม.6/8 เลขที่ 33
Main Manu

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2supphawan
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาNadeeya Benlateh
 
วิธีการสอนโดยใช้เกม
วิธีการสอนโดยใช้เกมวิธีการสอนโดยใช้เกม
วิธีการสอนโดยใช้เกมPrincess Mind
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6thnaporn999
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอBiobiome
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 
วิธีการสอนโดยใช้เกม
วิธีการสอนโดยใช้เกมวิธีการสอนโดยใช้เกม
วิธีการสอนโดยใช้เกม
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 

Viewers also liked

โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์Phiromporn Norachan
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงnatjira
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2poonwork
 
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ dgnjamez
 
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมPannathat Champakul
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Nomjeab Nook
 
โครงงานพัดลม
โครงงานพัดลมโครงงานพัดลม
โครงงานพัดลมmingcloud
 
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์Nattanan Thammakhankhang
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 

Viewers also liked (14)

โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2
 
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
 
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
โครงงานพัดลม
โครงงานพัดลมโครงงานพัดลม
โครงงานพัดลม
 
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียงของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
 

Similar to สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง

สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงnatjira
 
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxssuser7ea064
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นSom Kechacupt
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงSunanthaIamprasert
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 

Similar to สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง (14)

สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
 
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
 
Sound
SoundSound
Sound
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 

More from natjira

Interesting Expressions In English
Interesting Expressions In EnglishInteresting Expressions In English
Interesting Expressions In Englishnatjira
 
Expressions In English
Expressions In EnglishExpressions In English
Expressions In Englishnatjira
 
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in englishโครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in englishnatjira
 
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in englishโครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in englishnatjira
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม natjira
 

More from natjira (8)

Interesting Expressions In English
Interesting Expressions In EnglishInteresting Expressions In English
Interesting Expressions In English
 
Expressions In English
Expressions In EnglishExpressions In English
Expressions In English
 
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in englishโครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
 
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in englishโครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Blog[1]
Blog[1]Blog[1]
Blog[1]
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 

สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง