SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
นำเสนอ
    อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร



           สมาชิก
  นาย ภคพล ชมแสง 27 ม.4/5
นาย ธีรวีร์ กะรัสนันทน์ 25 ม.4/5
คลื่นวิทยุ (Radio waves)
เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงความถี่วิทยุบนเส้น
สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าซึงสามารไช้ต้มนาร้อนได้แล้วช่วยลอโลก
ร้อนได้เป็นการบวกที่ดี
     คลื่นวิทยุถูกค้นพบครั้งแรกระหว่างการตรวจสอบทาง
คณิตศาสตร์โดยเจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ ในปี ค.ศ. 1865
แมกซ์เวลล์สังเกตพบคุณสมบัติของแสงบางประการที่คล้ายคลึง
กับคลื่น และคล้ายคลึงกับผลการเฝ้าสังเกตกระแสไฟฟ้าและ
แม่เหล็ก เขาจึงนาเสนอสมการที่อธิบายคลื่นแสงและคลื่นวิทยุใน
รูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางในอวกาศ ปี ค.ศ.
1887 เฮนริค เฮิร์ตซ ได้สาธิตสมการของแมกซ์เวลล์ว่าเป็น
ความจริงโดยจาลองการสร้างคลื่นวิทยุขึ้นในห้องทดลองของเขา
หลังจากนั้นก็มีสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย และทาให้เรา
สามารถนาคลื่นวิทยุมาใช้ในการส่งข้อมูลผ่านห้วงอวกาศได้
องค์ประกอบของคลื่น
       องค์ประกอบของคลื่น แบ่ง
  ออกเป็น 4 องค์ประกอบ
 คลื่นผิวดิน หมายถึง คลื่นทีเ่ ดินตามไปยังผิวโลกอาจเป็นผิว
  ดิน หรือผิวน้าก็ได้ พิสัยของการกระจายคลื่นชนิดนี้ขึ้นอยู่กับค่า
  ความนาทางไฟฟ้าของผิวที่คลืนนี้เดินทางผ่านไป เพราะค่าความ
                               ่
  นาจะเป็นตัวกาหนดการถูกดูดกลืนพลังงานของคลื่นผิว
  โลก การถูกดูดกลืนของคลื่นผิวนี้จะเพิ่มขึนตามความถี่ที่สูงขึ้น
                                          ้
 คลื่นตรง หมายถึง คลื่นที่เดินทางออกไปเป็นเส้นตรงจาก
  สายอากาศ ส่งผ่านบรรยากาศตรงไปยังสายอากาศรับโดยมิได้มี
  การสะท้อนใด ๆ
องค์ประกอบของคลื่น(ต่อ)

 คลื่นสะท้อนดิน หมายถึง คลื่นที่ออกมาจากสายอากาศ ไป
  กระทบผิวดินแล้วเกิดการสะท้อนไปเข้าที่สายอากาศรับ
 คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึง คลื่นหักเหในบรรยากาศชั้น
  ต่าของโลกที่เรียกว่า โทรโปสเฟียร์ การหักเหนี้มิใช่เป็นการหักเห
  แบบปกติที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้น
  บรรยากาศของโลกกับความสูง แต่เป็นการหักเหที่เกิดการ
  เปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศอย่างทันทีทนใด และั
  ไม่สม่าเสมอของความหนาแน่นและในความชื้นของบรรยากาศ
  ได้แก่ ปรากฏการณ์ที่เรียกว่า อุณหภูมิแปรกลับ
คลื่นวิทยุ ใช้ในการสื่อสาร


 คลื่นวิทยุ ใช้ในการสื่อสาร
      1.1 ระบบ A.M. (amplitude
  modulation) ส่งสัญญาณได้ทั้งคลื่นดินและคลืนฟ้า
                                            ่
  (สะท้อนได้ดีที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์)
      1.2 ระบบ F.M. (frequency
  modulation) ส่งสัญญาณได้เฉพาะคลื่นดิน
 สามารถเดินทางทะลุผ่านกาแพงได้
ผลกระทบของคลื่นวิทยุ

              ผลของคลื่นวิทยุทมีต่อร่างกาย คลื่นวิทยุสามารถทะลุ
                                   ี่
  เข้าไปในร่างกายมนุษย์ได้ลึกประมาณ 1/10 ของความยาวคลื่น
  ทีตกกระทบ และอาจทาลายเนือเยือของอวัยวะภายในบางชนิดได้
    ่                             ้ ่
  ผลการทาลายจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับความเข้ม ช่วงเวลาที่
  ร่างกายได้รับคลื่นและชนิดของเนื้อเยื่อ อวัยวะที่มความไวต่อ
                                                      ี
  คลื่นวิทยุ ได้แก่ นัยน์ตา ปอด ถุงน้าดี กระเพาะปัสสาวะ อัณฑะ
  และบางส่วนของระบบทางเดินอาหาร โดยเฉพาะนัยน์ตา และอัณฑะ
  เป็นอวัยวะที่อ่อนแอที่สุดเมื่อได้รับคลื่นวิทยุช่วงไมโครเวฟ
ผลกระทบต่อร่างกายของคลื่นวิทยุ

คลื่นวิทยุช่วงความถี่ต่าง ๆ อาจมีผลต่อร่างกายดังนี้
        1. คลื่นวิทยุที่มีความถี่น้อยกว่า 150 เมกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นมากกว่า 2
     เมตร) คลื่นจะทะลุผ่านร่างกายโดยไม่ก่อให้เกิดผลใด ๆ เนื่องจากไม่มีการดูดกลืน
     พลังงานของคลื่นไว้ ร่างกายจึงเปรียบเสมือนเป็นวัตถุโปร่งใสต่อคลื่นวิทยุช่วงนี้
        2. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 150 เมกะเฮิรตซ์ ถึง 1.2 จิกะเฮิรตซ์ (มีความ
     ยาวคลื่นระหว่าง 2.00 ถึง 0.25 เมตร) คลื่นวิทยุช่วงนี้สามารถทะลุผ่านเข้าไปใน
     ร่างกายได้ลึกประมาณ 2.5 ถึง 20 เซนติเมตร ทาให้เกิดความร้อนขึ้นในเนื้อเยื่อ
     โดยที่ร่างกายไม่สามารถรู้สึกได้ อุณหภูมิหรือระดับความร้อนของร่างกายจะสูงขึ้น
     เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อร่างกาย ความร้อนในร่างกายที่สูงกว่าระดับปกติอาจ
     ก่อให้เกิดผลหลายประการ เช่น
            - เลือดจะแข็งตัวช้ากว่าปกติ ผลอันนี้ถ้ามีการเสียเลือดเกิดขึ้น อาการจะมี
     ความรุนแรง
            - การหมุนเวียนของเลือดเร็วขึ้น
            - ฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดงจะมีความจุออกซิเจนลดลง ทาให้เลือดมี
     ออกซิเจนไม่เพียงพอเลี้ยงเนื้อเยื่อต่าง อาจทาให้มีการกระตุกของกล้ามเนื้อจนถึงชัก
     ผลที่ตามมาก็คือ ไม่รสึกตัวและอาจเสียชีวิตได้
                            ู้
ผลกระทบต่อร่างกายของคลื่นวิทยุ(ต่อ)

      3. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 1-3 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่น
    ระหว่าง 30 ถึง 10 เซนติเมตร) ทั้งผิวหนังและเนื้อเยื่อลึกลงไปดูดกลืน
    พลังงานได้ราวร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 100 ขึ้นอยู่กับชนิดของเนื้อเยื่อ
    คลื่นวิทยุเช่นนี้เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อนัยน์ตา โดยเฉพาะเลนส์ตาจะมีความ
    ไวเป็นพิเศษต่อคลื่นวิทยุความถี่ประมาณ 3 จิกะเฮิรตซ์ เพราะเลนส์ตามี
    ความแตกต่างจากอวัยวะอื่นตรงที่ไม่มีเลือดมาหล่อเลี้ยงและไม่มีกลไกซ่อม
    เซลล์ ดังนั้นเมื่อนัยน์ตาได้รับคลื่นอย่างต่อเนื่องจะทาให้ของเหลวภายในตามี
    อุณหภูมิสูงขึ้น โดยไม่สามารถถ่ายโอนความร้อน เพื่อให้อุณหภูมิลดลงได้
    เหมือนเนื้อเยื่อของอวัยวะอื่น ๆ จึงจะก่อให้เกิดอันตรายอย่างรุนแรงตามมา
    พบว่าถ้าอุณหภูมิของตาสูงขึ้นเซลล์เลนส์ตาบางส่วนอาจถูกทาลายอย่างช้า
    ๆ ทาให้ความโปร่งแสงของเลนส์ตาลดลง ตาจะขุ่นลงเรื่อย ๆ ในที่สุดจะเกิด
    เป็นต้อกระจก สายตาผิดปกติ และสุดท้ายอาจมองไม่เห็น
    4. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 3-10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นระหว่าง 10
    ถึง 3 เซนติเมตร) ผิวหนังชั้นบนสามารถดูดกลืนพลังงานมากที่สุด เราจะรู้สึกว่า
    เหมือนกับถูกแสงอาทิตย์

     5. คลื่นวิทยุที่มีความถี่สูงกว่า 10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 3
    เซนติเมตร) ผิวหนังจะสะท้อนให้กลับออกไป โดยมีการดูดกลืนพลังงานเล็กน้อย
ผลกระทบต่อร่างกายของคลื่นวิทยุ(ต่อ)

    4. คลื่นวิทยุทมีความถี่ระหว่าง 3-10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความ
                   ี่
    ยาวคลื่นระหว่าง 10 ถึง 3 เซนติเมตร) ผิวหนังชั้นบนสามารถ
    ดูดกลืนพลังงานมากที่สุด เราจะรู้สึกว่าเหมือนกับถูกแสงอาทิตย์

     5. คลื่นวิทยุทมีความถี่สูงกว่า 10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาว
                    ี่
    คลื่นน้อยกว่า 3 เซนติเมตร) ผิวหนังจะสะท้อนให้กลับออกไป
    โดยมีการดูดกลืนพลังงานเล็กน้อย
ลักษณะการเกิดคลื่น

   สมมุติว่าเราโยนก้อนหินลงไปในน้า ทันทีทกอนหินกระทบผิวน้าจะ
                                              ่ี ้
    เกิดลูกคลืนของน้ากระจายไปโดยรอบ เป็นวงกลม สังเกตเห็นว่า
               ่
    รูปคลื่นกระจายกว้างออกไปเรื่อย ๆ แต่ผิวน้านั้นเพียงกระเพื่อม
    ขึ้นลงเท่านั้น ดังนั้นกล่าวได้ว่า การเดินทางของคลื่นเป็นการ
    เดินทางของพลังงานชนิดหนึ่ง ซึ่งถ้าสังเกตผิวน้าที่กระเพื่อมขึ้น
    ลง จะเห็นว่ามีลักษณะเป็นลอนคล้ายลอนของสังกะสีหลังคา
    บ้าน หากดูทางภาคตัดขวางจะมีลักษณะเป็นคลืนซายน์ ่
    (SINE WAVE ) ดังรูปที่ 1 (ภาพตัดขวางของ
    รูปคลื่น)
ลักษณะการเกิดคลื่น(ต่อ)

              จุดสูงสุดของคลื่นเรียกว่า ยอดคลื่น และจุดต่าสุด
    ของคลื่นเรียกว่า ท้องคลื่น ลูกคลื่นแต่ละลูกคลื่นจะแสดงการ
    เปลี่ยนแปลงทางกายภาพครบหนึ่งรอบพอดี จากรูปที่ 1 การ
    เปลี่ยนแปลง
    จาก A ถึง E คือ A B C D E จะแทน
    คลื่น 1 ลูก หลังจากนั้นจะเริ่มรอบใหม่หรือคลื่นลูกใหม่ต่อไป
                  ถ้าเราปักไม้ไว้ในน้าแล้วคอยสังเกตดูลูกคลืนที่ผ่านไม้
                                                           ่
    นั้น จานวนลูกคลื่นที่ผ่านจุดใดจุดหนึ่งกาหนดต่อวินาที เรา
    เรียกว่า ความถี่ ซึ่งหมายถึง จานวนรอบของการเปลี่ยนแปลงต่อ
    วินาที (CYCLE PER SECOND) ในปัจจุบัน
    เรียกว่า เฮริตซ์ (HERTZ)
ลักษณะการเกิดคลื่น(ต่อ)
     การวัดระยะห่างระหว่างยอดคลื่นของคลื่นแต่ละลูก ค่าที่ได้
    เรียกว่า ความยาวคลื่น (WAVELENGTH) ใช้
    สัญลักษณ์ l มีหน่วยเป็นเมตร ระยะเวลาที่คลื่นใช้ไปในการเดินทาง
    เป็นระยะทาง 1 ความยาวคลื่น เรียกว่า คาบ(PERIOD) ใช้
    แทนด้วยตัวอักษร T มีหน่วยเป็นวินาที
                คลื่นวิทยุก็มความคล้ายคลึงกันกับคลื่นในน้า คลื่นจะ
                             ี
    เกิดได้จะต้องมีแหล่งกาเนิด ใน กรณีของคลื่นในน้านั้นเกิดจากการ
    โยนก้อนหินกระทบผิวน้า แต่คลื่นวิทยุนั้น เกิดจากการเคลื่อนที่
    ของกระแสไฟฟ้าในอากาศ ซึ่งจะเกิดคลื่นวิทยุกระจายออกไป
    รอบๆ สายอากาศ ดังรูปที่ 2
คาถาม?

 คลื่นวิทยุที่ใช้ในการสื่อสารมีกี้ชนิดและอะไรบ้างยกตัวอย่างมา2
  ชนิด(มี2ชนิดอยู่แล้ว.)
 ยกตัวอย่างข้อดีและข้อเสียของคลื่นวิทยุมาอย่างละ2ข้อ

 จานวนลูกคลื่นทีผ่านจุดใดจุดหนึ่งกาหนดต่อวินาที เรียกว่าอะไร
                     ่
 คลื่นสะท้อนดิน หมายถึงอะไร

 คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึงอะไร
เฉลยคาภาม
 คลื่นวิทยุที่ใช้ในการสื่อสารมีกี้ชนิดและอะไรบ้างยกตัวอย่างมา2ชนิด
  (มี2ชนิดอยู่แล้ว.) (1.1 ระบบ A.M. (amplitude
  modulation) ส่งสัญญาณได้ทั้งคลื่นดินและคลื่นฟ้า
  (สะท้อนได้ดีที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์) 1.2 ระบบ F.M.
  (frequency modulation) ส่งสัญญาณได้เฉพาะ
  คลื่นดิน)
 ยกตัวอย่างข้อดีและข้อเสียของคลื่นวิทยุมาอย่างละ2ข้อ(ข้อดี..ใช้เพื่อ
  การสื่อสารระยะไกล...ทาให้เป็นมะเร็งสมอง(หมอได้เงิน) ข้อเสียมีโอกาส
  ที่จะเป็นมะเร็งสมอง... ไม่สามารถควบคุมการแพร่กระจายของ
  สัญญาณให้อยู่เฉพาะภายในหรือภายนอกอาคาร เนื่องจากสัญญาณ
  ผ่านกาแพงได้)
 จานวนลูกคลื่นทีผ่านจุดใดจุดหนึ่งกาหนดต่อวินาที เรียกว่าอะไร
                     ่
 (ความถี)  ่
เฉลยคาถาม(ต่อ)

 คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึงอะไร
 คลื่นหักเหในบรรยากาศชั้นต่าของโลกที่เรียกว่า โทรโปส
  เฟียร์ การหักเหนี้มิใช่เป็นการหักเหแบบปกติที่เกิดขึ้นจากการ
  เปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศของโลกกับความสูง
  แต่เป็นการหักเหที่เกิดการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้น
  บรรยากาศอย่างทันทีทันใด และไม่สม่าเสมอของความหนาแน่นและ
  ในความชื้นของบรรยากาศ ได้แก่ ปรากฏการณ์ที่
  เรียกว่า อุณหภูมิแปรกลับ
อ้างอิง

  http://th.wikipedia.org/wiki/
  http://irrigation.rid.go.th/rid17/My
   web/machanical/commu/vorapot.
   html
  http://www.eschool.su.ac.th/scho
   ol12/M4_2546/4-
   3/3_008/Title%203.htm

More Related Content

What's hot

คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอwattumplavittayacom
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นrumpin
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401Apinya Singsopa
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)Salin Satheinmars
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงApinya Phuadsing
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงApinya Phuadsing
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงTom Vipguest
 

What's hot (15)

คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
P12
P12P12
P12
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
 
P11
P11P11
P11
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสง
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียง
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
Problem1364
Problem1364Problem1364
Problem1364
 

Viewers also liked

คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
Fermentasi (autosaved)
Fermentasi (autosaved)Fermentasi (autosaved)
Fermentasi (autosaved)Defa Itemjelex
 
Fermentasi (autosaved)
Fermentasi (autosaved)Fermentasi (autosaved)
Fermentasi (autosaved)Defa Itemjelex
 
Baral comunicaciòn efectiva
Baral comunicaciòn efectivaBaral comunicaciòn efectiva
Baral comunicaciòn efectiva4637267
 
Infographic - How big will be the Agriculture Robotics & Drone Market
Infographic - How big will be the Agriculture Robotics & Drone MarketInfographic - How big will be the Agriculture Robotics & Drone Market
Infographic - How big will be the Agriculture Robotics & Drone MarketGeospatial Media & Communications
 

Viewers also liked (8)

ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟ
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
Fermentasi (autosaved)
Fermentasi (autosaved)Fermentasi (autosaved)
Fermentasi (autosaved)
 
Materi pembahasan
Materi pembahasanMateri pembahasan
Materi pembahasan
 
Fermentasi (autosaved)
Fermentasi (autosaved)Fermentasi (autosaved)
Fermentasi (autosaved)
 
Baral comunicaciòn efectiva
Baral comunicaciòn efectivaBaral comunicaciòn efectiva
Baral comunicaciòn efectiva
 
Materi pembahasan
Materi pembahasanMateri pembahasan
Materi pembahasan
 
Infographic - How big will be the Agriculture Robotics & Drone Market
Infographic - How big will be the Agriculture Robotics & Drone MarketInfographic - How big will be the Agriculture Robotics & Drone Market
Infographic - How big will be the Agriculture Robotics & Drone Market
 

Similar to คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402Petch Tongthummachat
 
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047Chania Asmodeus
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุSomporn Laothongsarn
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403Piyawan
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403Piyawan
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721CUPress
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคChanthawan Suwanhitathorn
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2GanKotchawet
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Watcharinz
 
Hamornics wave
Hamornics waveHamornics wave
Hamornics waverapinn
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 

Similar to คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405 (20)

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
 
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 
20012554 1005492525
20012554 100549252520012554 1005492525
20012554 1005492525
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่นฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2
 
Hamornics wave
Hamornics waveHamornics wave
Hamornics wave
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 

คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405

  • 1. นำเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร สมาชิก นาย ภคพล ชมแสง 27 ม.4/5 นาย ธีรวีร์ กะรัสนันทน์ 25 ม.4/5
  • 2. คลื่นวิทยุ (Radio waves) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงความถี่วิทยุบนเส้น สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าซึงสามารไช้ต้มนาร้อนได้แล้วช่วยลอโลก ร้อนได้เป็นการบวกที่ดี คลื่นวิทยุถูกค้นพบครั้งแรกระหว่างการตรวจสอบทาง คณิตศาสตร์โดยเจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ ในปี ค.ศ. 1865 แมกซ์เวลล์สังเกตพบคุณสมบัติของแสงบางประการที่คล้ายคลึง กับคลื่น และคล้ายคลึงกับผลการเฝ้าสังเกตกระแสไฟฟ้าและ แม่เหล็ก เขาจึงนาเสนอสมการที่อธิบายคลื่นแสงและคลื่นวิทยุใน รูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางในอวกาศ ปี ค.ศ. 1887 เฮนริค เฮิร์ตซ ได้สาธิตสมการของแมกซ์เวลล์ว่าเป็น ความจริงโดยจาลองการสร้างคลื่นวิทยุขึ้นในห้องทดลองของเขา หลังจากนั้นก็มีสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย และทาให้เรา สามารถนาคลื่นวิทยุมาใช้ในการส่งข้อมูลผ่านห้วงอวกาศได้
  • 3. องค์ประกอบของคลื่น องค์ประกอบของคลื่น แบ่ง ออกเป็น 4 องค์ประกอบ  คลื่นผิวดิน หมายถึง คลื่นทีเ่ ดินตามไปยังผิวโลกอาจเป็นผิว ดิน หรือผิวน้าก็ได้ พิสัยของการกระจายคลื่นชนิดนี้ขึ้นอยู่กับค่า ความนาทางไฟฟ้าของผิวที่คลืนนี้เดินทางผ่านไป เพราะค่าความ ่ นาจะเป็นตัวกาหนดการถูกดูดกลืนพลังงานของคลื่นผิว โลก การถูกดูดกลืนของคลื่นผิวนี้จะเพิ่มขึนตามความถี่ที่สูงขึ้น ้  คลื่นตรง หมายถึง คลื่นที่เดินทางออกไปเป็นเส้นตรงจาก สายอากาศ ส่งผ่านบรรยากาศตรงไปยังสายอากาศรับโดยมิได้มี การสะท้อนใด ๆ
  • 4. องค์ประกอบของคลื่น(ต่อ)  คลื่นสะท้อนดิน หมายถึง คลื่นที่ออกมาจากสายอากาศ ไป กระทบผิวดินแล้วเกิดการสะท้อนไปเข้าที่สายอากาศรับ  คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึง คลื่นหักเหในบรรยากาศชั้น ต่าของโลกที่เรียกว่า โทรโปสเฟียร์ การหักเหนี้มิใช่เป็นการหักเห แบบปกติที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้น บรรยากาศของโลกกับความสูง แต่เป็นการหักเหที่เกิดการ เปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศอย่างทันทีทนใด และั ไม่สม่าเสมอของความหนาแน่นและในความชื้นของบรรยากาศ ได้แก่ ปรากฏการณ์ที่เรียกว่า อุณหภูมิแปรกลับ
  • 5. คลื่นวิทยุ ใช้ในการสื่อสาร  คลื่นวิทยุ ใช้ในการสื่อสาร  1.1 ระบบ A.M. (amplitude modulation) ส่งสัญญาณได้ทั้งคลื่นดินและคลืนฟ้า ่ (สะท้อนได้ดีที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์)  1.2 ระบบ F.M. (frequency modulation) ส่งสัญญาณได้เฉพาะคลื่นดิน  สามารถเดินทางทะลุผ่านกาแพงได้
  • 6. ผลกระทบของคลื่นวิทยุ ผลของคลื่นวิทยุทมีต่อร่างกาย คลื่นวิทยุสามารถทะลุ ี่ เข้าไปในร่างกายมนุษย์ได้ลึกประมาณ 1/10 ของความยาวคลื่น ทีตกกระทบ และอาจทาลายเนือเยือของอวัยวะภายในบางชนิดได้ ่ ้ ่ ผลการทาลายจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับความเข้ม ช่วงเวลาที่ ร่างกายได้รับคลื่นและชนิดของเนื้อเยื่อ อวัยวะที่มความไวต่อ ี คลื่นวิทยุ ได้แก่ นัยน์ตา ปอด ถุงน้าดี กระเพาะปัสสาวะ อัณฑะ และบางส่วนของระบบทางเดินอาหาร โดยเฉพาะนัยน์ตา และอัณฑะ เป็นอวัยวะที่อ่อนแอที่สุดเมื่อได้รับคลื่นวิทยุช่วงไมโครเวฟ
  • 7. ผลกระทบต่อร่างกายของคลื่นวิทยุ คลื่นวิทยุช่วงความถี่ต่าง ๆ อาจมีผลต่อร่างกายดังนี้ 1. คลื่นวิทยุที่มีความถี่น้อยกว่า 150 เมกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นมากกว่า 2 เมตร) คลื่นจะทะลุผ่านร่างกายโดยไม่ก่อให้เกิดผลใด ๆ เนื่องจากไม่มีการดูดกลืน พลังงานของคลื่นไว้ ร่างกายจึงเปรียบเสมือนเป็นวัตถุโปร่งใสต่อคลื่นวิทยุช่วงนี้ 2. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 150 เมกะเฮิรตซ์ ถึง 1.2 จิกะเฮิรตซ์ (มีความ ยาวคลื่นระหว่าง 2.00 ถึง 0.25 เมตร) คลื่นวิทยุช่วงนี้สามารถทะลุผ่านเข้าไปใน ร่างกายได้ลึกประมาณ 2.5 ถึง 20 เซนติเมตร ทาให้เกิดความร้อนขึ้นในเนื้อเยื่อ โดยที่ร่างกายไม่สามารถรู้สึกได้ อุณหภูมิหรือระดับความร้อนของร่างกายจะสูงขึ้น เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อร่างกาย ความร้อนในร่างกายที่สูงกว่าระดับปกติอาจ ก่อให้เกิดผลหลายประการ เช่น - เลือดจะแข็งตัวช้ากว่าปกติ ผลอันนี้ถ้ามีการเสียเลือดเกิดขึ้น อาการจะมี ความรุนแรง - การหมุนเวียนของเลือดเร็วขึ้น - ฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดงจะมีความจุออกซิเจนลดลง ทาให้เลือดมี ออกซิเจนไม่เพียงพอเลี้ยงเนื้อเยื่อต่าง อาจทาให้มีการกระตุกของกล้ามเนื้อจนถึงชัก ผลที่ตามมาก็คือ ไม่รสึกตัวและอาจเสียชีวิตได้ ู้
  • 8. ผลกระทบต่อร่างกายของคลื่นวิทยุ(ต่อ)  3. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 1-3 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่น ระหว่าง 30 ถึง 10 เซนติเมตร) ทั้งผิวหนังและเนื้อเยื่อลึกลงไปดูดกลืน พลังงานได้ราวร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 100 ขึ้นอยู่กับชนิดของเนื้อเยื่อ คลื่นวิทยุเช่นนี้เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อนัยน์ตา โดยเฉพาะเลนส์ตาจะมีความ ไวเป็นพิเศษต่อคลื่นวิทยุความถี่ประมาณ 3 จิกะเฮิรตซ์ เพราะเลนส์ตามี ความแตกต่างจากอวัยวะอื่นตรงที่ไม่มีเลือดมาหล่อเลี้ยงและไม่มีกลไกซ่อม เซลล์ ดังนั้นเมื่อนัยน์ตาได้รับคลื่นอย่างต่อเนื่องจะทาให้ของเหลวภายในตามี อุณหภูมิสูงขึ้น โดยไม่สามารถถ่ายโอนความร้อน เพื่อให้อุณหภูมิลดลงได้ เหมือนเนื้อเยื่อของอวัยวะอื่น ๆ จึงจะก่อให้เกิดอันตรายอย่างรุนแรงตามมา พบว่าถ้าอุณหภูมิของตาสูงขึ้นเซลล์เลนส์ตาบางส่วนอาจถูกทาลายอย่างช้า ๆ ทาให้ความโปร่งแสงของเลนส์ตาลดลง ตาจะขุ่นลงเรื่อย ๆ ในที่สุดจะเกิด เป็นต้อกระจก สายตาผิดปกติ และสุดท้ายอาจมองไม่เห็น  4. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 3-10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นระหว่าง 10 ถึง 3 เซนติเมตร) ผิวหนังชั้นบนสามารถดูดกลืนพลังงานมากที่สุด เราจะรู้สึกว่า เหมือนกับถูกแสงอาทิตย์  5. คลื่นวิทยุที่มีความถี่สูงกว่า 10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 3 เซนติเมตร) ผิวหนังจะสะท้อนให้กลับออกไป โดยมีการดูดกลืนพลังงานเล็กน้อย
  • 9. ผลกระทบต่อร่างกายของคลื่นวิทยุ(ต่อ)  4. คลื่นวิทยุทมีความถี่ระหว่าง 3-10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความ ี่ ยาวคลื่นระหว่าง 10 ถึง 3 เซนติเมตร) ผิวหนังชั้นบนสามารถ ดูดกลืนพลังงานมากที่สุด เราจะรู้สึกว่าเหมือนกับถูกแสงอาทิตย์  5. คลื่นวิทยุทมีความถี่สูงกว่า 10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาว ี่ คลื่นน้อยกว่า 3 เซนติเมตร) ผิวหนังจะสะท้อนให้กลับออกไป โดยมีการดูดกลืนพลังงานเล็กน้อย
  • 10. ลักษณะการเกิดคลื่น  สมมุติว่าเราโยนก้อนหินลงไปในน้า ทันทีทกอนหินกระทบผิวน้าจะ ่ี ้ เกิดลูกคลืนของน้ากระจายไปโดยรอบ เป็นวงกลม สังเกตเห็นว่า ่ รูปคลื่นกระจายกว้างออกไปเรื่อย ๆ แต่ผิวน้านั้นเพียงกระเพื่อม ขึ้นลงเท่านั้น ดังนั้นกล่าวได้ว่า การเดินทางของคลื่นเป็นการ เดินทางของพลังงานชนิดหนึ่ง ซึ่งถ้าสังเกตผิวน้าที่กระเพื่อมขึ้น ลง จะเห็นว่ามีลักษณะเป็นลอนคล้ายลอนของสังกะสีหลังคา บ้าน หากดูทางภาคตัดขวางจะมีลักษณะเป็นคลืนซายน์ ่ (SINE WAVE ) ดังรูปที่ 1 (ภาพตัดขวางของ รูปคลื่น)
  • 11. ลักษณะการเกิดคลื่น(ต่อ)  จุดสูงสุดของคลื่นเรียกว่า ยอดคลื่น และจุดต่าสุด ของคลื่นเรียกว่า ท้องคลื่น ลูกคลื่นแต่ละลูกคลื่นจะแสดงการ เปลี่ยนแปลงทางกายภาพครบหนึ่งรอบพอดี จากรูปที่ 1 การ เปลี่ยนแปลง จาก A ถึง E คือ A B C D E จะแทน คลื่น 1 ลูก หลังจากนั้นจะเริ่มรอบใหม่หรือคลื่นลูกใหม่ต่อไป ถ้าเราปักไม้ไว้ในน้าแล้วคอยสังเกตดูลูกคลืนที่ผ่านไม้ ่ นั้น จานวนลูกคลื่นที่ผ่านจุดใดจุดหนึ่งกาหนดต่อวินาที เรา เรียกว่า ความถี่ ซึ่งหมายถึง จานวนรอบของการเปลี่ยนแปลงต่อ วินาที (CYCLE PER SECOND) ในปัจจุบัน เรียกว่า เฮริตซ์ (HERTZ)
  • 12. ลักษณะการเกิดคลื่น(ต่อ)  การวัดระยะห่างระหว่างยอดคลื่นของคลื่นแต่ละลูก ค่าที่ได้ เรียกว่า ความยาวคลื่น (WAVELENGTH) ใช้ สัญลักษณ์ l มีหน่วยเป็นเมตร ระยะเวลาที่คลื่นใช้ไปในการเดินทาง เป็นระยะทาง 1 ความยาวคลื่น เรียกว่า คาบ(PERIOD) ใช้ แทนด้วยตัวอักษร T มีหน่วยเป็นวินาที คลื่นวิทยุก็มความคล้ายคลึงกันกับคลื่นในน้า คลื่นจะ ี เกิดได้จะต้องมีแหล่งกาเนิด ใน กรณีของคลื่นในน้านั้นเกิดจากการ โยนก้อนหินกระทบผิวน้า แต่คลื่นวิทยุนั้น เกิดจากการเคลื่อนที่ ของกระแสไฟฟ้าในอากาศ ซึ่งจะเกิดคลื่นวิทยุกระจายออกไป รอบๆ สายอากาศ ดังรูปที่ 2
  • 13. คาถาม?  คลื่นวิทยุที่ใช้ในการสื่อสารมีกี้ชนิดและอะไรบ้างยกตัวอย่างมา2 ชนิด(มี2ชนิดอยู่แล้ว.)  ยกตัวอย่างข้อดีและข้อเสียของคลื่นวิทยุมาอย่างละ2ข้อ  จานวนลูกคลื่นทีผ่านจุดใดจุดหนึ่งกาหนดต่อวินาที เรียกว่าอะไร ่  คลื่นสะท้อนดิน หมายถึงอะไร  คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึงอะไร
  • 14. เฉลยคาภาม  คลื่นวิทยุที่ใช้ในการสื่อสารมีกี้ชนิดและอะไรบ้างยกตัวอย่างมา2ชนิด (มี2ชนิดอยู่แล้ว.) (1.1 ระบบ A.M. (amplitude modulation) ส่งสัญญาณได้ทั้งคลื่นดินและคลื่นฟ้า (สะท้อนได้ดีที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์) 1.2 ระบบ F.M. (frequency modulation) ส่งสัญญาณได้เฉพาะ คลื่นดิน)  ยกตัวอย่างข้อดีและข้อเสียของคลื่นวิทยุมาอย่างละ2ข้อ(ข้อดี..ใช้เพื่อ การสื่อสารระยะไกล...ทาให้เป็นมะเร็งสมอง(หมอได้เงิน) ข้อเสียมีโอกาส ที่จะเป็นมะเร็งสมอง... ไม่สามารถควบคุมการแพร่กระจายของ สัญญาณให้อยู่เฉพาะภายในหรือภายนอกอาคาร เนื่องจากสัญญาณ ผ่านกาแพงได้)  จานวนลูกคลื่นทีผ่านจุดใดจุดหนึ่งกาหนดต่อวินาที เรียกว่าอะไร ่  (ความถี) ่
  • 15. เฉลยคาถาม(ต่อ)  คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึงอะไร  คลื่นหักเหในบรรยากาศชั้นต่าของโลกที่เรียกว่า โทรโปส เฟียร์ การหักเหนี้มิใช่เป็นการหักเหแบบปกติที่เกิดขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศของโลกกับความสูง แต่เป็นการหักเหที่เกิดการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้น บรรยากาศอย่างทันทีทันใด และไม่สม่าเสมอของความหนาแน่นและ ในความชื้นของบรรยากาศ ได้แก่ ปรากฏการณ์ที่ เรียกว่า อุณหภูมิแปรกลับ
  • 16. อ้างอิง  http://th.wikipedia.org/wiki/  http://irrigation.rid.go.th/rid17/My web/machanical/commu/vorapot. html  http://www.eschool.su.ac.th/scho ol12/M4_2546/4- 3/3_008/Title%203.htm