SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
บทที่ 2

                                         เอกสารทีเ่ กียวข้ อง
                                                      ่

         ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress
เรื่ อง ระบบเครื อข่ายและการสื่ อสารบนเครื อข่าย นี้ ผูจดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจาก
                                                       ้ั
เว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

         2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต
         2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่ อสังคม Social Media
         2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)

2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต
ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

         เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ เป็ นอย่างมาก
                  ่
ตัวอย่างเช่น

1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยในด้านการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูล ทาให้การศึกษา
ง่ายขึ้นและไร้ขีดจากัด ผูเ้ รี ยนมีความสะดวกในการค้นคว้าวิจย
                                                           ั

2. การดารงชี วตประจาวัน ทาให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็ วในการทากิจกรรมต่าง ๆ ที่
              ิ
เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน สามารถทางานได้หลายอย่างในเวลาเดียวกันได้หรื อทางานใช้เวลาน้อยลง

3. การดาเนิ นธุ รกิจ ทาให้มีการแข่งขันระหว่างธุ รกิจมากขึ้น ทาให้ตองมีการพัฒนาองค์กรเพื่อให้
                                                                  ้
                      ่
ทันกับข้อมูลข่าวสารอยูตลอดเวลาอันส่ งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง

4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ด้านที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เพราะมีการติดต่อสื่ อสารที่เจริ ญก้าวหน้า
ทันสมัย รวดเร็ วถูกต้องและทาให้เป็ นโลกที่ไร้พรหรมแดน
5. ระบบการทางานมีคอมพิวเตอร์ มาใช้ซื่อสามารถทางานได้มากขึ้น งานบางอย่างมนุษย์ทาไม่ได้
ก็ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยทางานแทนซึ่ งได้ผลถูกต้องรวดเร็ ว

ความสาคัญของอินเทอร์ เน็ต

      ในปั จจุบนอินเทอร์ เน็ตมีบทบาทและมีความสาคัญต่อชีวิตประจาวันของคนเราเป็ นอย่างมาก
               ั
เพราะทาให้วถีชีวตเราทันสมัยและทันเหตุการณ์อยูเ่ สมอ เนื่องจากอินเทอร์ เน็ตจะมีการเสนอข้อมูล
           ิ ิ
ข่าวปั จจุบน และสิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้ผใช้ทราบเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน สารสนเทศที่เสนอใน
           ั                               ู้
อินเทอร์ เน็ตจะมีมากมายหลายรู ปแบบเพื่อสนองความสนใจและความต้องการของผูใช้ทุกกลุ่ม
                                                                      ้
อินเทอร์ เน็ตจึงเป็ นแหล่งสารสนเทศสาคัญสาหรับทุกคนเพราะสามารถค้นหาสิ่ งที่ตนสนใจได้
ในทันทีโดยไม่ตองเสี ยเวลาเดินทางไปค้นคว้าในห้องสมุด หรื อแม้แต่การรับรู ้ข่าวสารทัวโลกก็
              ้                                                                   ่
                                        ่
สามารถอ่านได้ในอินเทอร์ เน็ตจากเว็บไซต์ตาง ๆ ของหนังสื อพิมพ์

      ดังนั้นอินเทอร์ เน็ตจึงมีความสาคัญกับวิถีชีวตของคนเราในปั จจุบนเป็ นอย่างมากในทุก ๆ
                                                  ิ                 ั
         ่                  ่
ด้าน ไม่วาจะเป็ นบุคคลที่อยูในวงการธุ รกิจ การศึกษา ต่างก็ได้รับประโยชน์จากอินเทอร์ เน็ต
ด้วยกันทั้งนั้น

 1. ด้านการศึกษา อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญ ดังนี้

                                                        ่
             1.1 สามารถใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่วาจะเป็ นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้าน
การบันเทิง ด้านการแพทย์ และอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

            1.2 ระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต จะทาหน้าที่เปรี ยบเสมือนเป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่

             1.3 นักเรี ยนนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์ เน็ตติดต่อกับมหาวิทยาลัยหรื อโรงเรี ยนอื่น ๆ
                                ่
เพื่อค้นหาข้อมูลที่กาลังศึกษาอยูได้ ทั้งที่ขอมูลที่เป็ นข้อความเสี ยง ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ
                                            ้

      2. ด้านธุ รกิจและการพาณิ ชย์ อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญดังนี้

             2.1 ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสิ นใจทางธุ รกิจ

             2.2 สามารถซื้ อขายสิ นค้า ทาธุ รกรรมผ่านระบบเครื อข่าย
2.3 เป็ นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ โฆษณาสิ นค้า ติดต่อสื่ อสารทางธุ รกิจ

            2.4 ผูใช้ที่เป็ นบริ ษท หรื อองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิ ดให้บริ การ และสนับสนุน
                  ้               ั
ลูกค้าของตนผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ เช่น การให้คาแนะนา สอบถามปั ญหาต่าง ๆ
ให้แก่ลูกค้า แจกจ่ายตัวโปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) โปรแกรมแจกฟรี (Freeware)

      3. ด้านการบันเทิง อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญดังนี้

            3.1 การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การค้นหาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบ
เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ที่เรี ยกว่า Magazine Online รวมทั้งหนังสื อพิมพ์และข่าวสารอื่น ๆ โดยมี
ภาพประกอบที่จอคอมพิวเตอร์ เหมือนกับวารสารตามร้านหนังสื อทัว ๆ ไป
                                                          ่

                                                    ่
            3.2 สามารถฟังวิทยุหรื อดูรายการโทรทัศน์ผานระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้

            3.3 สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์มาดูได้

2.2 ข้ อมูลเกียวกับสื่ อสั งคม Social Media
              ่
        2.2.1 ความหมายของ Social Media

        โซเชียล (Social) หมายถึง สังคม

        มีเดีย (Madia) หมายถึง สื่ อหรื อเครื่ องมือที่ใช้ในการสื่ อสาร

        ในบริ บทของโซเชียลมีเดีย โซเชียลมีเดีย หมายถึง การแบ่งปั นในสังคม ซึ่ งอาจจะเป็ น
การแบ่งปั นเนื้อหา (ไฟล์ ,รสนิยม , ความเห็น เป็ นต้น ) หรื อปฏิสมพันธ์ในสังคม (การรวมกันเป็ น
                                                                ั
กลุ่ม… )และอีกในหนึ่ง โซเชียลมีเดีย หมายถึงสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ที่ทาให้ผใช้แสดงความเป็ นตัวตน
                                                                       ู้
                                ั
ของตนเองเพื่อที่จะมีปฏิสัมพันธ์กบบุคคลอื่นหรื อแบ่งปั นข้อมูลซึ่ งกันและกัน
2.2.2 ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการของ Social Media

           ยุคการใช้ Bulletin Board Systems (BBS’s) – (1979 - 1995) Bulletin Board Systems ใน
ยุคนั้น ใช้ PC หลายตัวเป็ นเซิ ร์ฟเวอร์ ผูใช้ติดต่อผ่านการใช้โมเด็ม และติดต่อเซิ ร์ฟเวอร์ ได้ทีละ
                                          ้
คน บริ การของ Bulletin Board Systems ตัวแรก คือการอภิปรายผ่านทางบอร์ ดข้อความ (message
boad) , ไฟล์ให้ดาวน์โหลด , ออนไลน์เกม

           ยุคการใช้ Commercial Online Services (1979 - 2001) เริ่ มมีการใช้วฒนธรรมสังคม
                                                                             ั
ออนไลน์ในความรัก และ ยุคของการใช้ World Wide Wed (1991)

Social Networking

           เครื อข่ายสังคมแรกคือ SixDegrees ซึ่ งให้ผใช้โพสต์ขอมูลเกี่ยวกับตนเอง (Profile) แล้ว
                                                     ู้       ้
เชื่อมต่อเพื่อน ระบบนี้ทาขึ้นในปี 1997 ต่อมามีระบบที่ทาลักษณะนี้ในรู ปแบบ “Web 2.0” ซึ่งทา
                      ั
ให้คนได้มีปฏิสัมพันธ์กนผ่านเว็บและเป็ นที่นิยมมากที่สุดดังนี้

           - Friendster (2002 - 2003)

           - MySpace (2004 - 2006)

           - Facebook (2007 >…)



            2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ ทให้ บริการ Social Media
                                  ี่
           ตีพิมพ์ : บล็อก , วิกิพเี ดีย , เว็บรวมที่ให้ทุกคนโพสต์ข่าว เช่น http://www.blogger.com/ ,
http://www.wordpress.com/ , http://www.exteen.com/ , http://www.bloggan.com/ ,
http://gotoknow.org , http://blognone.com , http://www.wikipedia.org/ , http://www.wikia.org ,
http://www.wetpaint.com , http://www.digg.com , http://www.newsvine.com , http://oknation.net
เป็ นต้น
แบ่งปั น : วิดีโอ , รู ปภาพ , ดนตรี , ลิงค์ เช่น http://www.youtube.com , http://vimeo.com
, http://www.flickr.com , http://picasaweb.google.com , http://multily.com เป็ นต้น

        การอภิปราย : การสนทนา , โปรแกรมสนทนาออนไลน์ เช่น http://skype.com ,
http://www.google.com/talk , http://www.phpbb.com , http://simplemachine.com ,
http://vanillaforums.org , http://dowload.live.com/messenger , http://www.ebuddy.com เป็ นต้น

        เครื อข่ายสังคม : เครื อข่ายสังคมโดยทัวไปและเครื อข่ายสังคมเฉพาะด้าน เช่น
                                              ่
http://www.facebook.com , http://www.facebakers.com เป็ นต้น

        การตีพิมพ์แบบไมโคร : ไมโครบล็อก เช่น http://twitter.com เป็ นต้น




2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)
        2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog)

        บล็อก (อังกฤษ: blog) เป็ นคารวมมาจากคาว่า เว็บล็อก (อังกฤษ: weblog) เป็ นรู ปแบบ
เว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ซึ่ งถูกเขียนขึ้นในลาดับที่เรี ยงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียน
ล่าสุ ดไว้แรกสุ ด บล็อกโดยปกติจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่ งบางครั้งจะรวมสื่ อต่างๆ ไม่
ว่า เพลง หรื อวิดีโอในหลายรู ปแบบได้ จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะ
เปิ ดให้ผเู ้ ข้ามาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็ นคนเขียน
ซึ่ งทาให้ผเู ้ ขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดยทันที คาว่า "บล็อก" ยังใช้เป็ นคากริ ยาได้ซ่ ึ งหมายถึง
การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผที่เขียนบล็อกเป็ นอาชีพก็จะถูกเรี ยกว่า "บล็อกเกอร์ "
                           ู้

                                                      ่ ั
        บล็อกเป็ นเว็บไซต์ที่มีเนื้ อหาหลากหลายขึ้นอยูกบเจ้าของบล็อก โดยสามารถใช้เป็ น
เครื่ องมือสื่ อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ ผลงาน ในหลายด้านไม่
ว่า อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรื อข่าวปั จจุบน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่ องส่ วนตัวหรื อ
                                             ั
จะเรี ยกว่าไดอารี ออนไลน์ ซึ่ งไดอารี ออนไลน์นี่เองเป็ นจุดเริ่ มต้นของการใช้บล็อกในปั จจุบน
                                                                                           ั
นอกจากนี้ ตามบริ ษทเอกชนหลายแห่งได้มีการจัดทาบล็อกของทางบริ ษทขึ้น เพื่อเสนอแนว
                  ั                                          ั
                ั
ความเห็นใหม่ใหักบลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับการ
ตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้าไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์



        2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก

        บล็อกมีดวยกันหลายชนิ ด แต่ละชนิ ดมีขอมูลที่แตกต่างกันไปทั้งผูเ้ ขียนและผูเ้ ข้าชม โดย
                ้                           ้
บล็อกจะเน้นไปที่เรื่ องต่างๆ เช่น learner blogs, political blogs, travel blogs, fashion blogs, project
                                            ่
blogs,legal blogs และอื่นๆบล็อกที่เราเห็นอยูในปั จจุบนนี้ ใช่มีเพียงแค่บล็อกที่เป็ นตัวหนังสื อและ
                                                     ั
รู ปภาพเท่านั้น หรื อ มีแค่ออนไลน์ไดอารี่ เราแบ่งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้

1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกได้แก่

        1.1. Linklog บล็อกแบบเป็ นบล็อกรุ่ นแรก ๆ ที่รวมลิ๊ งก์ที่เจ้าของบล็อกสนใจเอาไว้ แม้ว่า
จะบล็อกแบบนี้จะเป็ นการรวมลิ๊งก์เท่านั้น แต่ก็ไม่เรี ยงเหมือนว็บไดเร็ กทอรี่ เพราะเจ้าของบล็อกจะ
โพสต์ลิ๊งก์ของเขา 1 – 2 ลิ๊งก์ต่อโพสต์เท่านั้น

        1.2 Photoblog บล็อกประเภทนี้เน้นโพสต์ภาพถ่ายที่เจ้าของบล็อกอยากนาเสนอ และมักจะ
ไม่เน้นเขียนข้อความมากนัก

        1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ นบล็อกที่
เรี ยกได้ว่าเป็ นบล็อกที่ นิยมทากันมากในอนาคต เพราะการเจริ ญเติ บโตของไฮสปี ด อิ นเตอร์ เน็ ต
หรื อ อินเตอร์ เน็ตบอร์ ดแบนด์ ที่ทาให้การถ่ายทอดเสี ยง ภาพเคลื่อนไหว movie

2.แบ่งตามประเภทเนื้อหา ได้แก่

        2.1 บล็อกส่ วนตัว(Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็ น กิ จวัตรประจาวันของเจ้าของ
บล็อกเป็ นหลัก

        2.2 บล็อกข่าว(News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่าวเป็ นหลัก
2.3 บล็อกกลุ่ม(Collaborative Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม เช่น blognone.com

         2.4 บล็อกการเมือง(Politic Blog) ว่าด้วยเรื่ องการเมืองล้วน ๆ

         2.5 บล็อกเพื่อสิ่ งแวดล้อม(Environment Blog) พูดถึงเรื่ องราวของธรรมชาติและการรักษา
สิ่ งแวดล้อม

         2.6 มีเดียบล็อก(Media Blog) เป็ นบล็อกที่วิเคราะห์สื่อต่างๆ สารคดี และสิ่ งที่เกี่ยวกับสื่ อ
                                        ั ่
เช่น oknation.net/blog/black ของสุ ทธิ ชย หยุน

         2.7 บล็อกบันเทิง(Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่ องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว และ
จอเงิน เรื่ องซุ บซุ ดารา กองถ่าย ฯลฯ

         2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรี ยน หรื อมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ
มักจะใช้บล็อกเป็ นสื่ อในการสอนหรื อ แลกเปลี่ยนความคิดกัน

         2.9 ติวเตอร์บล็อก(Tutorial Blog) เป็ นบล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง

3.แบ่งตามรู ปแบบของเนื้อหาเฉพาะที่เห็นเด่นชัด

         3.1 Filter Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอแหล่งข้อมูลที่ตนสนใจ (เว็บเพจ
                                       ู้ ั
หรื อเว็บไซต์) โดยปกติมกจะเป็ นข่าว บทความ หรื อความคิดเห็ นของบุคคลในวงการที่เผยแพร่ ใน
                       ั
เว็บไซต์ต่าง ๆ อาจเรี ยกได้วา เป็ น บล็อก “Bookmark” หรื อ มีชื่อเฉพาะ ว่า Social Bookmarkบล็อก
                            ่
ลักษณะนี้ จะนาเสนอแค่หวข้อเรื่ อง และ URL ของเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ บางทีอาจเพิ่มคาอธิ บายเว็บ
                      ั
เพจหรื อเว็บไซต์น้ น ๆ ได้ดวย และบางที่อาจจะสามารถเพิ่มความคิดเห็ นของผูจดทาบล็อกได้อีก
                   ั       ้                                            ้ั
ด้วย เป็ นเหมือนการกลันกรองข้อมูลให้ทราบว่าเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ใดกาลังได้รับความนิ ยม ซึ่ งจะ
                      ่
เป็ นการช่ วยจัดล าดับ ความน่ า เชื่ อถื อของเว็บ เพจหรื อเว็บ ไซต์น้ ัน ๆ ได้เช่ นกัน ตัวอย่า งบล็ อก
ลักษณะนี้ได้แก่ http://del.icio.us/ เป็ นต้น

         3.2 Personal Journal Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอความคิดเห็นหรื อ
                                                 ู้ ั
ประสบการณ์ ของตนเองผ่านข้อเขี ยน โดยอาจจะมี ภาพประกอบ หรื อมี การเชื่ อมโยงออกไปยัง
เว็บไซต์อื่น ๆ เพื่อให้ขอมูลดู น่าเชื่ อถื อหรื อมี ความน่ าสนใจมากยิ่งขึ้ น ซึ่ งบล็ อกลักษณะนี้ เป็ น
                        ้
บล็อกตามความเข้าใจของบุคคลทัวไป ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ ได้แก่ http://www.exteen.comหรื อ
                            ่
http://www.blogger.com เป็ นต้น

         3.3 Photo Blog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บภาพ (ภาพถ่าย, ภาพวาด ฯลฯ) และสามารถใส่
รายละเอียดของภาพ ใส่ คาค้น (tag) ได้ ทาให้การเก็บภาพเป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหามากขึ้น
ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.flickr.com เป็ นต้น

         3.4 Video Blog หรื อ เรี ยกว่า Vlog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บวีดิทศน์ส่วนตัว สามารถใส่
                                                                            ั
รายละเอียดของวีดิทศน์ ใส่ คาค้น (tag) ได้ ทาให้การเก็บวีดิทศน์เป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหา
                  ั                                        ั
มากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.aolvideoblog.com เป็ นต้น

         3.5 บล็อกผสม มีลกษณะเป็ นบล็อกที่สามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้หลายประเภท ทั้งเก็บ
                         ั
รู ปภาพ เก็บเพลง เก็บวีดิโอ เก็บลิงค์ (link) ต่าง ๆ หรื อบันทึกประจาวัน และใส่ ปฏิทินรายการงานที่
ต้องทา ฯลฯ ได้ดวย ปั จจุบนเป็ นบริ การที่ได้รับความนิยมสู งมาก โดยมีชื่อเฉพาะด้วย เรี ยกว่าSocial
               ้         ั
Network Service ซึ่ งนอกจากจะมีจุดประสงค์เพื่อให้สมาชิ กแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ กันแล้ว ก็ยงมี
                                                                                          ั
จุดประสงค์หลักเพื่อการค้นหาและสะสมเพื่อนจากทัวโลก ตัวอย่าง Social NetworkingWebsites ซึ่ ง
                                             ่
ให้บริ การลักษณะนี้ ได้แก่ http://hi5.com หรื อ http://multiply.com หรื อhttp://spaces.live.com เป็ น
ต้น (ซึ่ งปั จจุบน คาว่า blog ใน Social Networking Websites นั้นจะกลายเป็ นแค่ส่วนที่ใช้เขียน
                 ั
ข้อความเช่ นบันทึกประจาวันแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น และยังอาจใช้คาว่า journal แทนคาว่า blog
ด้วย แต่ เนื่ องจากบริ ก ารนี้ เป็ นการรวมเอาบล็ อกลัก ษณะต่ า ง ๆที่ เคยมี มาอยู่ใ นที่ เ ดี ย ว ท าให้
ผูใ ช้ง านได้รับ ความสะดวกสบายมากยิ่ง ขึ้ น เพราะเพี ยงแค่เปิ ดใช้บ ริ ก ารที่ เดี ย ว ก็ ได้ใช้บ ริ ก าร
  ้
ครบถ้วน ไม่ตองเสี ยเวลาไปสมัครใช้งานจาก เว็บไซต์หลายที่ให้จดจายากอีกด้วย)
            ้

ตัวอย่างเว็บบล็อก

1.Bloggang
แหล่งชุมชน ชาวบล็อก ที่ชอบ สิ งสถิตย์ ในเว็บ พันธุ์ทิพย์ มีเว็บ บล็อกมากที่สุดในเวลานี้ แบ่งเป็ น
หมวดหมู่ หลากหลายประเภท

2 .Gotoknow




บล็อกชุ มชน ของ สถาบัน ส่ งเสริ ม การจัดการ ความรู ้ เพื่อสังคม มีคณาจารย์ และ ผูชานาญการ
                                                                                 ้
ร่ วมกัน มาเขียนบล็อก ถ่ายทอดวิชา

3. DiaryHub




แหล่งชุมชน นักเขียนไดอารี แห่งแรก ของประเทศไทย

 4. Blogger




ต้นกาเนิด เว็บบล็อก ต่างประเทศ ที่มีคนใช้มากที่สุด ในโลก

5. OKnation BLog




บล็อกนักข่าวอาสาสมัคร ของ เดอะเนชัน รายงานข่าว เกาะติด สถานการณ์ ทุกเรื่ องราวในสังคม
                                  ่
6. Exteen



ชุ มชน บล็อกวัยที น หน้าตา น่ ารั ก น่ าใช้ เขียนง่ าย สมัครฟรี เป็ นที่นิยม ในหมู่วยรุ่ น วัยมัน พันธุ์
                                                                                    ั
ใหม่

7. Window Live Spaces




เว็บสเปซ ของค่ายไมโครซอฟท์ ที่ชาว msn นิยมเล่น

8. Keng




บล็อกเก่ง เป็ น Event Blog นาเสนอ ความรู ้ เรื่ องราวต่างๆ เกี่ยวกับ Blog




9. Bird FC




เว็บสาหรับ แฟนคลับ เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย นักร้องซูเปอร์สตาร์

10. คาราบาว
โฮมเพจ คาราบาว เว็๋บไซต์ วงดนตรี เพื่อชีวต อันโด่งดังตลอดกาล
                                         ิ

11. tureLife




ชุมชนบล็อกแห่งใหม่ ของ คน รุ่ นใหม่ ที่ตองการสิ่ งใหม่ๆ
                                        ้

12. DiaryClub




รวมบล็อกคนไทย แบ่งเป็ นกลุ่ม มี ทั้ง คลิปวิดีโอ ข่าว บันเทิง ฯลฯ

13. M Blog



เว็บบล็อก ของผูจดการ เปิ ด มิติใหม่ ให้ โอกาสให้ ผูเ้ ขียน บล็อก ก้าวสู่ การเป็ น เจ้าของ หนังสื อที่
               ้ั
ตัวเอง เขียนขึ้น จากบล็อก สู่ บุค
                                ๊

14. Yahoo Geocities




สุ ดยอดของฟรี ที่ให้บริ การ พื้นที่ สร้างโฮมเพจฟรี ที่ใครๆก็เคยใช้
15. โชว์เด็ด




บล็อกวาไรตี้ ที่ให้คุณ แสดงภาพ หรื อ คลิปวิดีโอ แสดงความคิด ตาม ต้องการ และถ้าบล็อกใด โชว์
เด็ด โชว์ดี มีรางวัลให้

16. StoryThai




ศูนย์รวม ของ ผูรัก การอ่าน และ เขียน ถ่ายทอด เรื่ องราว
               ้

17. Mthai Blog




ชุมชนบล็อกวาไรตี้ ที่มี คนเข้ามา ใช้ บริ การมากแห่งหนึ่ง

18. Sanook Blog




ชุมชนบล็อกแห่งใหม่ ของ คน รุ่ นใหม่ ที่ตองการสิ่ งใหม่ๆ
                                        ้

19. Technorati
รวบรวม ค้นหา Blog จากทัวโลก แบ่งแยกเป็ นหมวดหมู่ จัดอันดับ
                       ่

20. ThaiBlog




สารบัญบล็อกไทย รวบรวมบล็อก ดีๆ สาหรับคนไทย แบ่งเป็ นหมวดหมู่



       2.3.3 เว็บไซต์ ทให้ บริการเว็บบล็อก
                       ี่
www.blogger.com
www.exteen.com
www.mapandy.com
www.buddythai.com
www.imigg.com
www.5iam.com
www.blogprathai.com
www.ndesignsblog.com
www.idatablog.com
www.inewblog.com
www.onblogme.com
www.freeseoblogs.com
www.sumhua.com
www.diaryi.net
www.istoreblog.com
www.skypream.com
www.thailandspace.com
www.sungson.com
www.gujaba.com
www.sabuyblog.com
www.ugetblog.com
www.jaideespace.com
www.maxsiteth.com
www.my2blog.com




        2.3.4 ประวัติของเว็บไซต์ Wordpress

        WordPress คือ โปรแกรมสาเร็ จรู ปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้าง บล็อก หรื อ เว็บไซต์
                            ่
สามารถใช้งานได้ฟรี ถูกจัดอยูในประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง
โปรแกรมสาเร็ จรู ปที่มีไว้สาหรับสร้างและบริ หารจัดการเนื้อหาและข้อมูลบนเว็บไซต์

        WordPress ได้รับการพัฒนาและเขียนชุ ดคาสั่งมาจากภาษา PHP (เป็ นภาษาโปรแกรมมิ่งตัว
หนึ่ง) ทางานบนฐานข้อมูล MySQL ซึ่ งเป็ นโปรแกรมสาหรับจัดการฐานข้อมูล มีหน้าที่เก็บ เรี ยกดู
                                                             ่
แก้ไข เพิ่มและลบข้อมูล การใช้งาน WordPress ร่ วมกับ MySQL อยูภายใต้สัญญาอนุ ญาตใช้งาน
แบบ GNU General Public License

        WordPress ปรากฏโฉมครั้งแรกในโลกเมื่อปี พ.ศ. 2546 (2003) เป็ นความร่ วมมือกัน
                                                         ่
ระหว่าง Matt Mullenweg และ Mike Littlej มีเว็บไซต์หลักอยูที่ http://wordpress.org และยังมี
บริ การ Free Hosting (พื้นที่สาหรับเก็บทุกอย่างของเว็บ/บล็อก) โดยขอใช้บริ การได้ที่
http://wordpress.com

        ปั จจุบนนี้ WordPress ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว จนมีผใช้งานมากกว่า 200 ล้าน
               ั                                                        ู้
                                          ่
เว็บบล็อกไปแล้ว แซงหน้า CMS ตัวอื่น ๆ ไม่วาจะเป็ น Drupal , Mambo และ Joomla สาเหตุเป็ น
เพราะ ใช้งานง่าย ไม่จาเป็ นต้องมีความรู ้ในเรื่ อง Programing มีรูปแบบที่สวยงาม อีกทั้งยังมีผพฒนา
                                                                                             ู้ ั
Theme (รู ปแบบการแสดงผล) และ Plugins (โปรแกรมเสริ ม) ให้เลือกใช้ฟรี อย่างมากมาย

        นอกจากนี้ สาหรับนักพัฒนา WordPress ยังมี Codex เอาไว้ให้เราได้เป็ นไกด์ไลน์ เพื่อ
                                 ่
ศึกษาองค์ประกอบส่ วนต่าง ๆ ที่อยูภายใน สาหรับพัฒนาต่อยอด หรื อ นาไปสร้าง Theme และ
Plugins ขึ้นมาเองได้อีกด้วย หนาซ้ า ยังมีรุ่นพิเศษ คือ WordPress MU สาหรับไว้ให้ผนาไปใช้
                                                                                 ู้
สามารถเปิ ดให้บริ การพื้นที่ทาเว็บบล็อกเป็ นของตนเอง เพื่อให้ผอื่นมาสมัครขอร่ วมใช้บริ การใน
                                                              ู้
การสร้างเว็บบล็อก ภายใต้ชื่อโดเมนของเขา หรื อที่เรี ยกว่า Sub-Domain
จากที่ได้เกริ่ นนาไปในบทความนี้ คงจะทาให้รู้จก และได้ทราบประวัติความเป็ นมา รวมถึง
                                                     ั
ความหมายกันไปบ้างแล้วว่า WordPress คือ อะไร ในบทความหน้า เราจะได้เริ่ มเรี ยนรู ้ถึงรู ปแบบ
และวิธีการใช้งาน ไปจนถึงการเพิ่มลูกเล่นต่าง ๆ ต่อไป

More Related Content

What's hot

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องMiw Inthuorn
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องSirintip Kongchanta
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
01 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ101 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ1M'suKanya MinHyuk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2She's Ning
 

What's hot (14)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
2
22
2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ101 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ1
 
3 32222
3 322223 32222
3 32222
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

Similar to 02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องKot สุรศักดิ์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องShe's Mammai
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างKanistha Chudchum
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2Tangkwa Tom
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPoonyapat Wongpong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำTanyarad Chansawang
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2teerarat55
 

Similar to 02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1 (20)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

More from Thanggwa Taemin

07 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 107 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 1Thanggwa Taemin
 
07 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 107 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 1Thanggwa Taemin
 
06 บรรณานุกรม 1
06 บรรณานุกรม 106 บรรณานุกรม 1
06 บรรณานุกรม 1Thanggwa Taemin
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 1
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 105 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 1
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 1Thanggwa Taemin
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 1
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 104 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 1
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 1Thanggwa Taemin
 
หัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงานหัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงานThanggwa Taemin
 
หัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงานหัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงานThanggwa Taemin
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Thanggwa Taemin
 
00 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.100 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.1Thanggwa Taemin
 
00 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.100 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.1Thanggwa Taemin
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1Thanggwa Taemin
 
00 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 100 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 1Thanggwa Taemin
 
00 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 100 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 1Thanggwa Taemin
 
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25Thanggwa Taemin
 
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25Thanggwa Taemin
 
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25Thanggwa Taemin
 

More from Thanggwa Taemin (18)

07 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 107 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 1
 
07 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 107 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 1
 
06 บรรณานุกรม 1
06 บรรณานุกรม 106 บรรณานุกรม 1
06 บรรณานุกรม 1
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 1
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 105 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 1
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 1
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 1
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 104 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 1
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 1
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
หัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงานหัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงาน
 
หัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงานหัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงาน
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
00 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.100 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.1
 
00 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.100 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.1
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
 
00 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 100 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 1
 
00 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 100 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 1
 
ขนิษฐา
ขนิษฐาขนิษฐา
ขนิษฐา
 
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
 
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
 
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
 

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1

  • 1. บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กียวข้ อง ่ ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ อง ระบบเครื อข่ายและการสื่ อสารบนเครื อข่าย นี้ ผูจดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจาก ้ั เว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่ อสังคม Social Media 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ เป็ นอย่างมาก ่ ตัวอย่างเช่น 1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยในด้านการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูล ทาให้การศึกษา ง่ายขึ้นและไร้ขีดจากัด ผูเ้ รี ยนมีความสะดวกในการค้นคว้าวิจย ั 2. การดารงชี วตประจาวัน ทาให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็ วในการทากิจกรรมต่าง ๆ ที่ ิ เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน สามารถทางานได้หลายอย่างในเวลาเดียวกันได้หรื อทางานใช้เวลาน้อยลง 3. การดาเนิ นธุ รกิจ ทาให้มีการแข่งขันระหว่างธุ รกิจมากขึ้น ทาให้ตองมีการพัฒนาองค์กรเพื่อให้ ้ ่ ทันกับข้อมูลข่าวสารอยูตลอดเวลาอันส่ งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง 4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ด้านที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เพราะมีการติดต่อสื่ อสารที่เจริ ญก้าวหน้า ทันสมัย รวดเร็ วถูกต้องและทาให้เป็ นโลกที่ไร้พรหรมแดน
  • 2. 5. ระบบการทางานมีคอมพิวเตอร์ มาใช้ซื่อสามารถทางานได้มากขึ้น งานบางอย่างมนุษย์ทาไม่ได้ ก็ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยทางานแทนซึ่ งได้ผลถูกต้องรวดเร็ ว ความสาคัญของอินเทอร์ เน็ต ในปั จจุบนอินเทอร์ เน็ตมีบทบาทและมีความสาคัญต่อชีวิตประจาวันของคนเราเป็ นอย่างมาก ั เพราะทาให้วถีชีวตเราทันสมัยและทันเหตุการณ์อยูเ่ สมอ เนื่องจากอินเทอร์ เน็ตจะมีการเสนอข้อมูล ิ ิ ข่าวปั จจุบน และสิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้ผใช้ทราบเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน สารสนเทศที่เสนอใน ั ู้ อินเทอร์ เน็ตจะมีมากมายหลายรู ปแบบเพื่อสนองความสนใจและความต้องการของผูใช้ทุกกลุ่ม ้ อินเทอร์ เน็ตจึงเป็ นแหล่งสารสนเทศสาคัญสาหรับทุกคนเพราะสามารถค้นหาสิ่ งที่ตนสนใจได้ ในทันทีโดยไม่ตองเสี ยเวลาเดินทางไปค้นคว้าในห้องสมุด หรื อแม้แต่การรับรู ้ข่าวสารทัวโลกก็ ้ ่ ่ สามารถอ่านได้ในอินเทอร์ เน็ตจากเว็บไซต์ตาง ๆ ของหนังสื อพิมพ์ ดังนั้นอินเทอร์ เน็ตจึงมีความสาคัญกับวิถีชีวตของคนเราในปั จจุบนเป็ นอย่างมากในทุก ๆ ิ ั ่ ่ ด้าน ไม่วาจะเป็ นบุคคลที่อยูในวงการธุ รกิจ การศึกษา ต่างก็ได้รับประโยชน์จากอินเทอร์ เน็ต ด้วยกันทั้งนั้น 1. ด้านการศึกษา อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญ ดังนี้ ่ 1.1 สามารถใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่วาจะเป็ นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้าน การบันเทิง ด้านการแพทย์ และอื่น ๆ ที่น่าสนใจ 1.2 ระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต จะทาหน้าที่เปรี ยบเสมือนเป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่ 1.3 นักเรี ยนนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์ เน็ตติดต่อกับมหาวิทยาลัยหรื อโรงเรี ยนอื่น ๆ ่ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กาลังศึกษาอยูได้ ทั้งที่ขอมูลที่เป็ นข้อความเสี ยง ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ ้ 2. ด้านธุ รกิจและการพาณิ ชย์ อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญดังนี้ 2.1 ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสิ นใจทางธุ รกิจ 2.2 สามารถซื้ อขายสิ นค้า ทาธุ รกรรมผ่านระบบเครื อข่าย
  • 3. 2.3 เป็ นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ โฆษณาสิ นค้า ติดต่อสื่ อสารทางธุ รกิจ 2.4 ผูใช้ที่เป็ นบริ ษท หรื อองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิ ดให้บริ การ และสนับสนุน ้ ั ลูกค้าของตนผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ เช่น การให้คาแนะนา สอบถามปั ญหาต่าง ๆ ให้แก่ลูกค้า แจกจ่ายตัวโปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) โปรแกรมแจกฟรี (Freeware) 3. ด้านการบันเทิง อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญดังนี้ 3.1 การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การค้นหาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ที่เรี ยกว่า Magazine Online รวมทั้งหนังสื อพิมพ์และข่าวสารอื่น ๆ โดยมี ภาพประกอบที่จอคอมพิวเตอร์ เหมือนกับวารสารตามร้านหนังสื อทัว ๆ ไป ่ ่ 3.2 สามารถฟังวิทยุหรื อดูรายการโทรทัศน์ผานระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ 3.3 สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์มาดูได้ 2.2 ข้ อมูลเกียวกับสื่ อสั งคม Social Media ่ 2.2.1 ความหมายของ Social Media โซเชียล (Social) หมายถึง สังคม มีเดีย (Madia) หมายถึง สื่ อหรื อเครื่ องมือที่ใช้ในการสื่ อสาร ในบริ บทของโซเชียลมีเดีย โซเชียลมีเดีย หมายถึง การแบ่งปั นในสังคม ซึ่ งอาจจะเป็ น การแบ่งปั นเนื้อหา (ไฟล์ ,รสนิยม , ความเห็น เป็ นต้น ) หรื อปฏิสมพันธ์ในสังคม (การรวมกันเป็ น ั กลุ่ม… )และอีกในหนึ่ง โซเชียลมีเดีย หมายถึงสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ที่ทาให้ผใช้แสดงความเป็ นตัวตน ู้ ั ของตนเองเพื่อที่จะมีปฏิสัมพันธ์กบบุคคลอื่นหรื อแบ่งปั นข้อมูลซึ่ งกันและกัน
  • 4. 2.2.2 ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการของ Social Media ยุคการใช้ Bulletin Board Systems (BBS’s) – (1979 - 1995) Bulletin Board Systems ใน ยุคนั้น ใช้ PC หลายตัวเป็ นเซิ ร์ฟเวอร์ ผูใช้ติดต่อผ่านการใช้โมเด็ม และติดต่อเซิ ร์ฟเวอร์ ได้ทีละ ้ คน บริ การของ Bulletin Board Systems ตัวแรก คือการอภิปรายผ่านทางบอร์ ดข้อความ (message boad) , ไฟล์ให้ดาวน์โหลด , ออนไลน์เกม ยุคการใช้ Commercial Online Services (1979 - 2001) เริ่ มมีการใช้วฒนธรรมสังคม ั ออนไลน์ในความรัก และ ยุคของการใช้ World Wide Wed (1991) Social Networking เครื อข่ายสังคมแรกคือ SixDegrees ซึ่ งให้ผใช้โพสต์ขอมูลเกี่ยวกับตนเอง (Profile) แล้ว ู้ ้ เชื่อมต่อเพื่อน ระบบนี้ทาขึ้นในปี 1997 ต่อมามีระบบที่ทาลักษณะนี้ในรู ปแบบ “Web 2.0” ซึ่งทา ั ให้คนได้มีปฏิสัมพันธ์กนผ่านเว็บและเป็ นที่นิยมมากที่สุดดังนี้ - Friendster (2002 - 2003) - MySpace (2004 - 2006) - Facebook (2007 >…) 2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ ทให้ บริการ Social Media ี่ ตีพิมพ์ : บล็อก , วิกิพเี ดีย , เว็บรวมที่ให้ทุกคนโพสต์ข่าว เช่น http://www.blogger.com/ , http://www.wordpress.com/ , http://www.exteen.com/ , http://www.bloggan.com/ , http://gotoknow.org , http://blognone.com , http://www.wikipedia.org/ , http://www.wikia.org , http://www.wetpaint.com , http://www.digg.com , http://www.newsvine.com , http://oknation.net เป็ นต้น
  • 5. แบ่งปั น : วิดีโอ , รู ปภาพ , ดนตรี , ลิงค์ เช่น http://www.youtube.com , http://vimeo.com , http://www.flickr.com , http://picasaweb.google.com , http://multily.com เป็ นต้น การอภิปราย : การสนทนา , โปรแกรมสนทนาออนไลน์ เช่น http://skype.com , http://www.google.com/talk , http://www.phpbb.com , http://simplemachine.com , http://vanillaforums.org , http://dowload.live.com/messenger , http://www.ebuddy.com เป็ นต้น เครื อข่ายสังคม : เครื อข่ายสังคมโดยทัวไปและเครื อข่ายสังคมเฉพาะด้าน เช่น ่ http://www.facebook.com , http://www.facebakers.com เป็ นต้น การตีพิมพ์แบบไมโคร : ไมโครบล็อก เช่น http://twitter.com เป็ นต้น 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog) บล็อก (อังกฤษ: blog) เป็ นคารวมมาจากคาว่า เว็บล็อก (อังกฤษ: weblog) เป็ นรู ปแบบ เว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ซึ่ งถูกเขียนขึ้นในลาดับที่เรี ยงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียน ล่าสุ ดไว้แรกสุ ด บล็อกโดยปกติจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่ งบางครั้งจะรวมสื่ อต่างๆ ไม่ ว่า เพลง หรื อวิดีโอในหลายรู ปแบบได้ จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะ เปิ ดให้ผเู ้ ข้ามาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็ นคนเขียน ซึ่ งทาให้ผเู ้ ขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดยทันที คาว่า "บล็อก" ยังใช้เป็ นคากริ ยาได้ซ่ ึ งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผที่เขียนบล็อกเป็ นอาชีพก็จะถูกเรี ยกว่า "บล็อกเกอร์ " ู้ ่ ั บล็อกเป็ นเว็บไซต์ที่มีเนื้ อหาหลากหลายขึ้นอยูกบเจ้าของบล็อก โดยสามารถใช้เป็ น เครื่ องมือสื่ อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ ผลงาน ในหลายด้านไม่ ว่า อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรื อข่าวปั จจุบน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่ องส่ วนตัวหรื อ ั จะเรี ยกว่าไดอารี ออนไลน์ ซึ่ งไดอารี ออนไลน์นี่เองเป็ นจุดเริ่ มต้นของการใช้บล็อกในปั จจุบน ั
  • 6. นอกจากนี้ ตามบริ ษทเอกชนหลายแห่งได้มีการจัดทาบล็อกของทางบริ ษทขึ้น เพื่อเสนอแนว ั ั ั ความเห็นใหม่ใหักบลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับการ ตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้าไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ 2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก บล็อกมีดวยกันหลายชนิ ด แต่ละชนิ ดมีขอมูลที่แตกต่างกันไปทั้งผูเ้ ขียนและผูเ้ ข้าชม โดย ้ ้ บล็อกจะเน้นไปที่เรื่ องต่างๆ เช่น learner blogs, political blogs, travel blogs, fashion blogs, project ่ blogs,legal blogs และอื่นๆบล็อกที่เราเห็นอยูในปั จจุบนนี้ ใช่มีเพียงแค่บล็อกที่เป็ นตัวหนังสื อและ ั รู ปภาพเท่านั้น หรื อ มีแค่ออนไลน์ไดอารี่ เราแบ่งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้ 1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกได้แก่ 1.1. Linklog บล็อกแบบเป็ นบล็อกรุ่ นแรก ๆ ที่รวมลิ๊ งก์ที่เจ้าของบล็อกสนใจเอาไว้ แม้ว่า จะบล็อกแบบนี้จะเป็ นการรวมลิ๊งก์เท่านั้น แต่ก็ไม่เรี ยงเหมือนว็บไดเร็ กทอรี่ เพราะเจ้าของบล็อกจะ โพสต์ลิ๊งก์ของเขา 1 – 2 ลิ๊งก์ต่อโพสต์เท่านั้น 1.2 Photoblog บล็อกประเภทนี้เน้นโพสต์ภาพถ่ายที่เจ้าของบล็อกอยากนาเสนอ และมักจะ ไม่เน้นเขียนข้อความมากนัก 1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ นบล็อกที่ เรี ยกได้ว่าเป็ นบล็อกที่ นิยมทากันมากในอนาคต เพราะการเจริ ญเติ บโตของไฮสปี ด อิ นเตอร์ เน็ ต หรื อ อินเตอร์ เน็ตบอร์ ดแบนด์ ที่ทาให้การถ่ายทอดเสี ยง ภาพเคลื่อนไหว movie 2.แบ่งตามประเภทเนื้อหา ได้แก่ 2.1 บล็อกส่ วนตัว(Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็ น กิ จวัตรประจาวันของเจ้าของ บล็อกเป็ นหลัก 2.2 บล็อกข่าว(News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่าวเป็ นหลัก
  • 7. 2.3 บล็อกกลุ่ม(Collaborative Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม เช่น blognone.com 2.4 บล็อกการเมือง(Politic Blog) ว่าด้วยเรื่ องการเมืองล้วน ๆ 2.5 บล็อกเพื่อสิ่ งแวดล้อม(Environment Blog) พูดถึงเรื่ องราวของธรรมชาติและการรักษา สิ่ งแวดล้อม 2.6 มีเดียบล็อก(Media Blog) เป็ นบล็อกที่วิเคราะห์สื่อต่างๆ สารคดี และสิ่ งที่เกี่ยวกับสื่ อ ั ่ เช่น oknation.net/blog/black ของสุ ทธิ ชย หยุน 2.7 บล็อกบันเทิง(Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่ องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว และ จอเงิน เรื่ องซุ บซุ ดารา กองถ่าย ฯลฯ 2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรี ยน หรื อมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ มักจะใช้บล็อกเป็ นสื่ อในการสอนหรื อ แลกเปลี่ยนความคิดกัน 2.9 ติวเตอร์บล็อก(Tutorial Blog) เป็ นบล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง 3.แบ่งตามรู ปแบบของเนื้อหาเฉพาะที่เห็นเด่นชัด 3.1 Filter Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอแหล่งข้อมูลที่ตนสนใจ (เว็บเพจ ู้ ั หรื อเว็บไซต์) โดยปกติมกจะเป็ นข่าว บทความ หรื อความคิดเห็ นของบุคคลในวงการที่เผยแพร่ ใน ั เว็บไซต์ต่าง ๆ อาจเรี ยกได้วา เป็ น บล็อก “Bookmark” หรื อ มีชื่อเฉพาะ ว่า Social Bookmarkบล็อก ่ ลักษณะนี้ จะนาเสนอแค่หวข้อเรื่ อง และ URL ของเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ บางทีอาจเพิ่มคาอธิ บายเว็บ ั เพจหรื อเว็บไซต์น้ น ๆ ได้ดวย และบางที่อาจจะสามารถเพิ่มความคิดเห็ นของผูจดทาบล็อกได้อีก ั ้ ้ั ด้วย เป็ นเหมือนการกลันกรองข้อมูลให้ทราบว่าเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ใดกาลังได้รับความนิ ยม ซึ่ งจะ ่ เป็ นการช่ วยจัดล าดับ ความน่ า เชื่ อถื อของเว็บ เพจหรื อเว็บ ไซต์น้ ัน ๆ ได้เช่ นกัน ตัวอย่า งบล็ อก ลักษณะนี้ได้แก่ http://del.icio.us/ เป็ นต้น 3.2 Personal Journal Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอความคิดเห็นหรื อ ู้ ั ประสบการณ์ ของตนเองผ่านข้อเขี ยน โดยอาจจะมี ภาพประกอบ หรื อมี การเชื่ อมโยงออกไปยัง เว็บไซต์อื่น ๆ เพื่อให้ขอมูลดู น่าเชื่ อถื อหรื อมี ความน่ าสนใจมากยิ่งขึ้ น ซึ่ งบล็ อกลักษณะนี้ เป็ น ้
  • 8. บล็อกตามความเข้าใจของบุคคลทัวไป ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ ได้แก่ http://www.exteen.comหรื อ ่ http://www.blogger.com เป็ นต้น 3.3 Photo Blog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บภาพ (ภาพถ่าย, ภาพวาด ฯลฯ) และสามารถใส่ รายละเอียดของภาพ ใส่ คาค้น (tag) ได้ ทาให้การเก็บภาพเป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหามากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.flickr.com เป็ นต้น 3.4 Video Blog หรื อ เรี ยกว่า Vlog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บวีดิทศน์ส่วนตัว สามารถใส่ ั รายละเอียดของวีดิทศน์ ใส่ คาค้น (tag) ได้ ทาให้การเก็บวีดิทศน์เป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหา ั ั มากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.aolvideoblog.com เป็ นต้น 3.5 บล็อกผสม มีลกษณะเป็ นบล็อกที่สามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้หลายประเภท ทั้งเก็บ ั รู ปภาพ เก็บเพลง เก็บวีดิโอ เก็บลิงค์ (link) ต่าง ๆ หรื อบันทึกประจาวัน และใส่ ปฏิทินรายการงานที่ ต้องทา ฯลฯ ได้ดวย ปั จจุบนเป็ นบริ การที่ได้รับความนิยมสู งมาก โดยมีชื่อเฉพาะด้วย เรี ยกว่าSocial ้ ั Network Service ซึ่ งนอกจากจะมีจุดประสงค์เพื่อให้สมาชิ กแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ กันแล้ว ก็ยงมี ั จุดประสงค์หลักเพื่อการค้นหาและสะสมเพื่อนจากทัวโลก ตัวอย่าง Social NetworkingWebsites ซึ่ ง ่ ให้บริ การลักษณะนี้ ได้แก่ http://hi5.com หรื อ http://multiply.com หรื อhttp://spaces.live.com เป็ น ต้น (ซึ่ งปั จจุบน คาว่า blog ใน Social Networking Websites นั้นจะกลายเป็ นแค่ส่วนที่ใช้เขียน ั ข้อความเช่ นบันทึกประจาวันแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น และยังอาจใช้คาว่า journal แทนคาว่า blog ด้วย แต่ เนื่ องจากบริ ก ารนี้ เป็ นการรวมเอาบล็ อกลัก ษณะต่ า ง ๆที่ เคยมี มาอยู่ใ นที่ เ ดี ย ว ท าให้ ผูใ ช้ง านได้รับ ความสะดวกสบายมากยิ่ง ขึ้ น เพราะเพี ยงแค่เปิ ดใช้บ ริ ก ารที่ เดี ย ว ก็ ได้ใช้บ ริ ก าร ้ ครบถ้วน ไม่ตองเสี ยเวลาไปสมัครใช้งานจาก เว็บไซต์หลายที่ให้จดจายากอีกด้วย) ้ ตัวอย่างเว็บบล็อก 1.Bloggang
  • 9. แหล่งชุมชน ชาวบล็อก ที่ชอบ สิ งสถิตย์ ในเว็บ พันธุ์ทิพย์ มีเว็บ บล็อกมากที่สุดในเวลานี้ แบ่งเป็ น หมวดหมู่ หลากหลายประเภท 2 .Gotoknow บล็อกชุ มชน ของ สถาบัน ส่ งเสริ ม การจัดการ ความรู ้ เพื่อสังคม มีคณาจารย์ และ ผูชานาญการ ้ ร่ วมกัน มาเขียนบล็อก ถ่ายทอดวิชา 3. DiaryHub แหล่งชุมชน นักเขียนไดอารี แห่งแรก ของประเทศไทย 4. Blogger ต้นกาเนิด เว็บบล็อก ต่างประเทศ ที่มีคนใช้มากที่สุด ในโลก 5. OKnation BLog บล็อกนักข่าวอาสาสมัคร ของ เดอะเนชัน รายงานข่าว เกาะติด สถานการณ์ ทุกเรื่ องราวในสังคม ่
  • 10. 6. Exteen ชุ มชน บล็อกวัยที น หน้าตา น่ ารั ก น่ าใช้ เขียนง่ าย สมัครฟรี เป็ นที่นิยม ในหมู่วยรุ่ น วัยมัน พันธุ์ ั ใหม่ 7. Window Live Spaces เว็บสเปซ ของค่ายไมโครซอฟท์ ที่ชาว msn นิยมเล่น 8. Keng บล็อกเก่ง เป็ น Event Blog นาเสนอ ความรู ้ เรื่ องราวต่างๆ เกี่ยวกับ Blog 9. Bird FC เว็บสาหรับ แฟนคลับ เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย นักร้องซูเปอร์สตาร์ 10. คาราบาว
  • 11. โฮมเพจ คาราบาว เว็๋บไซต์ วงดนตรี เพื่อชีวต อันโด่งดังตลอดกาล ิ 11. tureLife ชุมชนบล็อกแห่งใหม่ ของ คน รุ่ นใหม่ ที่ตองการสิ่ งใหม่ๆ ้ 12. DiaryClub รวมบล็อกคนไทย แบ่งเป็ นกลุ่ม มี ทั้ง คลิปวิดีโอ ข่าว บันเทิง ฯลฯ 13. M Blog เว็บบล็อก ของผูจดการ เปิ ด มิติใหม่ ให้ โอกาสให้ ผูเ้ ขียน บล็อก ก้าวสู่ การเป็ น เจ้าของ หนังสื อที่ ้ั ตัวเอง เขียนขึ้น จากบล็อก สู่ บุค ๊ 14. Yahoo Geocities สุ ดยอดของฟรี ที่ให้บริ การ พื้นที่ สร้างโฮมเพจฟรี ที่ใครๆก็เคยใช้
  • 12. 15. โชว์เด็ด บล็อกวาไรตี้ ที่ให้คุณ แสดงภาพ หรื อ คลิปวิดีโอ แสดงความคิด ตาม ต้องการ และถ้าบล็อกใด โชว์ เด็ด โชว์ดี มีรางวัลให้ 16. StoryThai ศูนย์รวม ของ ผูรัก การอ่าน และ เขียน ถ่ายทอด เรื่ องราว ้ 17. Mthai Blog ชุมชนบล็อกวาไรตี้ ที่มี คนเข้ามา ใช้ บริ การมากแห่งหนึ่ง 18. Sanook Blog ชุมชนบล็อกแห่งใหม่ ของ คน รุ่ นใหม่ ที่ตองการสิ่ งใหม่ๆ ้ 19. Technorati
  • 13. รวบรวม ค้นหา Blog จากทัวโลก แบ่งแยกเป็ นหมวดหมู่ จัดอันดับ ่ 20. ThaiBlog สารบัญบล็อกไทย รวบรวมบล็อก ดีๆ สาหรับคนไทย แบ่งเป็ นหมวดหมู่ 2.3.3 เว็บไซต์ ทให้ บริการเว็บบล็อก ี่ www.blogger.com www.exteen.com www.mapandy.com www.buddythai.com www.imigg.com www.5iam.com www.blogprathai.com www.ndesignsblog.com www.idatablog.com www.inewblog.com www.onblogme.com www.freeseoblogs.com www.sumhua.com www.diaryi.net www.istoreblog.com www.skypream.com www.thailandspace.com www.sungson.com www.gujaba.com www.sabuyblog.com www.ugetblog.com
  • 14. www.jaideespace.com www.maxsiteth.com www.my2blog.com 2.3.4 ประวัติของเว็บไซต์ Wordpress WordPress คือ โปรแกรมสาเร็ จรู ปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้าง บล็อก หรื อ เว็บไซต์ ่ สามารถใช้งานได้ฟรี ถูกจัดอยูในประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง โปรแกรมสาเร็ จรู ปที่มีไว้สาหรับสร้างและบริ หารจัดการเนื้อหาและข้อมูลบนเว็บไซต์ WordPress ได้รับการพัฒนาและเขียนชุ ดคาสั่งมาจากภาษา PHP (เป็ นภาษาโปรแกรมมิ่งตัว หนึ่ง) ทางานบนฐานข้อมูล MySQL ซึ่ งเป็ นโปรแกรมสาหรับจัดการฐานข้อมูล มีหน้าที่เก็บ เรี ยกดู ่ แก้ไข เพิ่มและลบข้อมูล การใช้งาน WordPress ร่ วมกับ MySQL อยูภายใต้สัญญาอนุ ญาตใช้งาน แบบ GNU General Public License WordPress ปรากฏโฉมครั้งแรกในโลกเมื่อปี พ.ศ. 2546 (2003) เป็ นความร่ วมมือกัน ่ ระหว่าง Matt Mullenweg และ Mike Littlej มีเว็บไซต์หลักอยูที่ http://wordpress.org และยังมี บริ การ Free Hosting (พื้นที่สาหรับเก็บทุกอย่างของเว็บ/บล็อก) โดยขอใช้บริ การได้ที่ http://wordpress.com ปั จจุบนนี้ WordPress ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว จนมีผใช้งานมากกว่า 200 ล้าน ั ู้ ่ เว็บบล็อกไปแล้ว แซงหน้า CMS ตัวอื่น ๆ ไม่วาจะเป็ น Drupal , Mambo และ Joomla สาเหตุเป็ น เพราะ ใช้งานง่าย ไม่จาเป็ นต้องมีความรู ้ในเรื่ อง Programing มีรูปแบบที่สวยงาม อีกทั้งยังมีผพฒนา ู้ ั Theme (รู ปแบบการแสดงผล) และ Plugins (โปรแกรมเสริ ม) ให้เลือกใช้ฟรี อย่างมากมาย นอกจากนี้ สาหรับนักพัฒนา WordPress ยังมี Codex เอาไว้ให้เราได้เป็ นไกด์ไลน์ เพื่อ ่ ศึกษาองค์ประกอบส่ วนต่าง ๆ ที่อยูภายใน สาหรับพัฒนาต่อยอด หรื อ นาไปสร้าง Theme และ Plugins ขึ้นมาเองได้อีกด้วย หนาซ้ า ยังมีรุ่นพิเศษ คือ WordPress MU สาหรับไว้ให้ผนาไปใช้ ู้ สามารถเปิ ดให้บริ การพื้นที่ทาเว็บบล็อกเป็ นของตนเอง เพื่อให้ผอื่นมาสมัครขอร่ วมใช้บริ การใน ู้ การสร้างเว็บบล็อก ภายใต้ชื่อโดเมนของเขา หรื อที่เรี ยกว่า Sub-Domain
  • 15. จากที่ได้เกริ่ นนาไปในบทความนี้ คงจะทาให้รู้จก และได้ทราบประวัติความเป็ นมา รวมถึง ั ความหมายกันไปบ้างแล้วว่า WordPress คือ อะไร ในบทความหน้า เราจะได้เริ่ มเรี ยนรู ้ถึงรู ปแบบ และวิธีการใช้งาน ไปจนถึงการเพิ่มลูกเล่นต่าง ๆ ต่อไป