SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
โครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 6
ปี การศึกษา 2556
ชื่อโครงงาน
“ สื่อการเรียนการสอน วิชา ชีววิทยา เรื่อง หน่ วยของสิ่งมีชีวต ”
ิ
ทีมาและความสาคัญของโครงงาน
่

ในปั จจุบนการศึกษาค้ นคว้ าหาความรู้เพิมเติมจากที่เรี ยนใน
ั
่
ห้ องเรี ยนนัน นับได้ ว่าเป็ นเรื่ องที่สาคัญมากเลยทีเดียวเนื่องจาก สังคม
้
การเรี ยนในปั จจุบนนัน มีการแข่งขันที่สงมากพอสมควร ผู้จดทาจึง ได้
ั ้
ู
ั
คิดที่จะจัดทา โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการเรี ยนการสอน ในวิชาชีววิทยา
เรื่ องหน่วยของสิ่งมีชีวิต ซึงถือได้ ว่าเป็ นเรื่ องที่เป็ นพื ้นฐานสาคัญ ในการ
่
ที่จะศึกษาในวิชาชีววิทยา ซึ่งทางผู้จดทานัน จะนาเสนอออกมาใน
ั
้
รูปแบบของ Power point ซึงจะทาให้ มีความน่าสนใจยิ่งขึน
่
้
วัตถประสงค์
ุ
• เพื่อนาเสนอความรู้ในเรื่ องหน่วยของสิ่งมีชีวิตให้ มีความน่าสนใจ
• เพื่อฝึ กทักษะการใช้ โปรแกรม
Microsoft Office PowerPoint 2007
วิธีดาเนินงาน
•
•
•
•
•
•
•

คิดหัวข้ อโครงงานที่สนใจ
ศึกษาและค้ นคว้ าข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง
จัดทาโครงร่ างงาน
ปฏิบติการสร้ างโครงงานโดยจัดทาเป็ นสื่อการสอนอย่างง่าย
ั
ปรับปรุงทดสอบ
การทาเอกสารรายงาน
ประเมินผลงานและนาเสนอโครงงาน
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

หน่ วยของสิ่งมีชีวิต
สารบัญ
ประเภทของเซลล์
องค์ประกอบของเซลล์
1. เยื่อหุมเซลล์
้
2. นิวเคลียส
3. ไรโบโซม
4. เอนโดพลาสมิกเรติคูลม
ั
5. กอลจิแอพพาราตัส (golgi apparatus)
6. ไลโซโซม (lysosome)
สารบัญ(ต่ อ)
องค์ประกอบของเซลล์
7. เพอโรซิโซม (peroxisome)
8. แวคิวโอล (vacuole)
9. ไมโทคอนเดรี ย (mitochondria)
10. คลอโรพลาสต์ (chloroplasts)
11. สารโครงร่ างของเซลล์ (cytoskeleton)
12. โครงสร้างผิวเซลล์ (cell surface structure)
13.โครงสร้างเชื่อมต่อระหว่างเซลล์ (junction between cells)
หน้าที่ของเซลล์
แหล่ งอ้ างอิง
ประเภทของเซลล์

หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

• เซลล์ เป็ นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต แบ่งได้เป็ น 2 ชนิดตามลักษณะ
ของการมีเยื่อหุมนิวเคลียสคือ
้
- โปรคาริโอติกเซลล์ (Protokaryotic cell ) เป็ นเซล์ของสิ่ งมีชีวิตชั้นต่า
ได้แก่ ไซยาโน แบคทีเรี ย (cyanobacteria) แบคทีเรี ย (bacteria) และไม
โคพลาสมา (mycoplasma) มีสารพันธุกรรม อยู่ในบริ เวณโครงสร้างที่
เรี ยกว่า นิวคลีออยด์ ( nucleoid) ที่ปราศจาก เยื่อหุมนิวเคลียส ( nuclear
้
membrane) และไม่มีโปรตีนฮีสโตน (histone) ภายใน ไซโตพลาสซึม(
cytoplasm) ไม่มีออร์ แกแนลชนิดที่มีเยื่อหุม (membrane organelles) และ
้
โครงร่ างภายในไซโตพลาสซึม (cytoskeleton)
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
• - ยูคาริโอติกเซลล์ (Eukaryotic cell) เป็ นเซลล์ของสิ่ งมีชีวตชั้นสู ง พวกเห็ด
ิ
รา พืช และสัตว์ เซลล์ชนิดนี้มีขนาดใหญ่กว่าชนิดแรก และมีนิวเคลียสที่เห็น
ได้ชดเจน แยกจาก บริ เวณไซโตพลาสซึม และมีเยื่อหุมนิวเคลียส (nuclear
ั
้
membrane) หุ้มรอบ สารพันธุกรรม ซึ่งมีโปรตีนฮีสโตน เป็ นส่ วนประกอบ
นอกจากนี้ยงพบทั้ง ออร์แกแนล ที่มเี ยื่อหุ้มจานวนหลายชนิด รวมทั้งออร์
ั
แกแนลที่ไม่มีเยื่อหุ้มอยูภายในไซโตพลาสซึม
่
• เซลล์สิ่งมีชีวตสามารถแบ่งเป็ นประเภทใหญ่ๆ ได้ 3 ประเภท ตามความ
ิ
แตกต่างขององค์ประกอบ ภายในเซลล์ คือ เซลล์สัตว์ เซลล์พืช และเซลล์ของ
แบคทีเรี ยโดย เซลล์สัตว์ แตกต่างจากเซลล์พืชตรงที่ เซลล์สัตว์ไม่มผนังเซลล์
ี
และไม่มีรงควัตถุ ที่ใช้ในการ สังเคราะห์แสง สาหรับเซลล์แบคทีเรียมีความ
ซับซ้อน ขององค์ประกอบ ภายในเซลล์ น้อยกว่าเซลล์สัตว์ และเซลล์พืชมาก
เช่น ไม่มีเยือหุ้มสารพันธุกรรม และออร์แกเนลล์ต่างๆ เป็ นต้น
่
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

เยื่อห้ ุมเซลล์

โครงสร้ างของเยื่อหุ้มเซลล์
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
โครงสร้ าง
- ประกอบด้วยฟอสโฟลิพิด และโปรตีน โดยฟอสโฟลิพิดจัดเรี ยง
ตัวเป็ น 2 ชั้น (bilayer) หันส่ วนที่ไม่ละลายน้ าเข้าหาก ันและหันส่ วน
ละลายน้ าออกสู่ สิ่งแวดล้อม
- องค์ประกอบโปรตีนจะแทรกอยู่ในชั้น บน ส่ วนกลาง หรื อ
ส่ วนล่างของชั้นฟอสโฟลิพิด
ประกอบด้วยฟอสโฟลิพิด และโปรตีน โดยฟอสโฟลิพิดจัดเรี ยงตัวเป็ น
2 ชั้น (bilayer) หันส่ วนที่ไม่ละลายน้ าเข้าหาก ันและหัน ส่ วนละลายน้ า
ออกสู่ สิ่งแวดล้อม
- องค์ประกอบโปรตีนจะแทรกอยู่ในชั้น บน ส่ วนกลาง หรื อ
ส่ วนล่างของชั้นฟอสโฟลิพด
ิ
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
หน้ าที่
- ห่อหุมของเเหลวและออร์ แกเนลล์ส่วนใหญ่เอาไว้
้
- ควบคุมการผ่านเข้าออกของสารต่างๆ จากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ เซลล์
และภายในเซลล์ออกสู่ สิ่ งแวดล้อม
- เป็ นที่ยึดจับของสารโครงร่ างเซลล์ (cytoskeletal) ทาให้เซลล์คงรู ป
อยู่ได้
- เป็ นบริ เวณรับ (receptor) ของสารบางชนิดไซโทสเกเลตัน ทาให้
เกิดการประสานระหว่าง แมทริ กซ์นอกเซลล์ และไซโทพลาซึม
ภายในเซลล์ข้น
ึ
หน่ วยของสิ่งมีชีวิต

นิวเคลียส

องค์ประกอบของนิวเคลียส
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

• โครงสร้ าง
- มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 ไมโครเมตร
- ถูกห่อหุ้มด้วยเยื่อ 2 ชั้น ที่เรี ยกว่า เยื่อหุ้มนิวเคลียส (nuclear envelope) ทา
ให้ส่วนประกอบ ในนิวเคลียสถูกแยกออกจากส่ วนของไซโทพลาซึม
- บน เยื่อหุ้มนิวเคลียส มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 นาโนเมตร สาหรับ
การผ่านเข้าออกของโปรตีน และหน่วยย่อยของไรโบโซม
(ribosomal subunit)
- ภายในนิวเคลียสมีเส้นใยโครมาทิน ซึ่งประกอบด้วย DNA และโปรตีน
- เมื่อเซลล์เตรียมที่จะแบ่งตัว เส้นใยโครมาทินจะหดสั้น ทาให้กลายเป็ นแท่ง
หนา เรี ยกว่า โครโมโซม (chromosome) สามารถมองเห็นได้ภายใต้
กล้องจุลทรรศน์
- โครงสร้างภายใน นิวเคลียสที่สามารถมองเห็นได้ชดเจนที่สุด ขณะ
ั
นิวเคลียสยังไม่แบ่งตัวคือ นิวคลีโอลัส (nucleolus) นิวคลีโอลัส มี
รู ปร่ างกลมถูกย้อมสี เข้ม เป็ นที่สาหรับสร้าง ไรโบโซม โดยทาการ
ประกอบ RNA เข้ากับโปรตีน
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
หน้ าที่
- เป็ นที่ที่ DNA บรรจุอยู่
- ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน (โดยการสังเคราะห์ mRNA และ
ส่ งออกไปยังไซโทพลาสซึมทางรู ที่เยื่อหุมนิวเคลียส ( nuclear pores )
้
ซึ่งจะกลายเป็ นตัวกาหนด คุณลักษณะของเซลล์น้ น ๆ
ั
ไรโบโซม

หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

ไรโบโซมในไซโทพลาสซึมและที่เกาะบน ER
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
โครงสร้ างและหน้าที่
มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 30 นาโนเมตร
- ประกอบด้วย 2 หน่วยย่อย คือ หน่วยใหญ่ (60 S) และหน่วยเล็ก (40 S) ซึ่ง
สร้างขึ้นจาก rRNA และ โปรตีน
- สร้างในนิวคลีโอลัส
- เป็ นที่สร้างโปรตีน
มี 2 ชนิด คือ
1) ไรโบโซมที่อยูเ่ ป็ นอิสระใน ไซโทพลาซึม(ทาหน้าที่สร้างโปรตีนที่อยู่ใน
ไซโทพลาสซึม)
2) ไรโบโซม ที่ติดอยู่บนร่ างแหเอนโดพลาสมิกเรติคลม (ทาหน้าที่สร้าง
ู ั
โปรตีน อยู่ทเี่ ยื่อหุมเซลล์ และโปรตีนที่จะถูกส่งออกไปยังนอกเซลล์
้
เอนโดพลาสมิกเรติคูลม
ั

หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
โครงสร้ างและหน้ าที่
เอนโดพลาสมิกเรติคูลม แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ
ั
1) เอนโดพลาสมิกเรติคูลมแบบผิวเรียบ
ั
- ไม่มีไรโบโซม เกาะอยู่บนผิวของ ER
- มีหน้าที่สร้างไขมัน อันได้แก่ ฟอสโฟลิปิด ฮอร์ โมนเพศและ
สเตรอยด์ฮอร์โมน
- เป็ นที่สาหรับเก็บ Ca2+
- มีหน้าที่ในขบวนการ เมแทบอลิซึมของคาร์ โบไฮเดรต
- มีเอนไซม์สาหรับทาลายพิษของยา
- พบมากที่ ลูกอัณฑะ (teste) รังไข่ (ovary) และผิวหนัง (skin)
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
2) เอนโดพลาสมิกเรติคูลมแบบผิวขรุ ขระ
ั
- มีไรโบโซม เกาะอยู่บนผิวของเอนโดพลาสมิกเรติคูลม
ั
- เป็ นที่สาหรับให้สายของโพลีเพปไทด์ ที่จะถูกส่ งออกนอก
เซลล์มีการพับ ไปสู่ รูปร่ าง 3 มิติ ที่ถูกต้องก่อนที่จะถูกส่ งออก
ไปยังกอลจิแอพพาราตัส
- เป็ นที่สาหรับเติมคาร์ โบไฮเดรต (โอลิโกแซคคาไรด์) ให้ก ับ
โปรตีนที่จะถูก ส่ งออก นอกเซลล์ซ่ ึงก็คอไกลโคโปรตีน
ื
- โปรตีนที่จะออกจากเอนโดพลาสมิกเรติคูลม นั้นจะถูกห่อ
ั
ด้วย เยื่อหุมของ เอนโดพลาสมิกเรติคูลมและกลายเป็ นถุง
้
ั
เล็ก ๆ หลุดออกจากเอนโดพลาสมิกเรติคูลม
ั
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

กอลจิแอพพาราตัส (golgi apparatus

โครงสร้างของกอลจิแอพาราตัส
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสารจาก ER ออกนอกเซลล์โดย
ผ่านการสร้างเวซิเคิล (vesicle)ในกอลจิแอพาราตัส

โครงสร้ าง

- เป็ นถุงแบน ๆ ที่วางซ้อน ๆ กันมีประมาณ 3 – 20 ถุง
- แบ่งออกเป็ น
1) ด้านที่อยูใกล้กบ ER (cis face) จะรับถุงบรรจุโปรตีนที่ส่งมาจาก ER
่
ั
2) ด้านที่อยูห่างจาก ER( trans face) จะทาการส่งถุงบรรจุโปรตีนที่ส่งมา
่
จากด้านที่อยูใกล้กบ ER ไปยังจุดหมายปลายทางต่าง ๆ ในเซลล์
่
ั
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
หน้ าที่
เปรี ยบเสมือนโกดังเก็บสิ นค้าก่อนส่ งออกโดยจะรับถุงบรรจุ
โปรตีนจาก ER แล้วมาตัดแต่ง ต่อเติม โปรตีนให้สมบูรณ์ จากนั้นจะทา
การคัดเลือกโปรตีนที่มี โครงสร้างสมบูรณ์แล้วส่ งไปยังจุดหมาย
้
ปลายทางต่าง ๆ ทั้งภายในเซลล์ ภายนอกเซลล์ และที่เยื่อหุมเซลล์
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

ไลโซโซม (lysosome)

การสร้ างไลโซโซมจากกอลจิแอพาราตัส
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
โครงสร้ าง
เป็ นถุงที่บรรจุ เอนไซม์ไฮโดรไลซ์ (hydrolytic
enzyme) สาหรับย่อยโปรตีน ไขมัน
พอลิแซคคาไรด์ และกรดนิวคลีอิก- pH ใน ไลโซโซม เท่ากับ 5
ซึ่ง เอนไซม์ไฮโดรไลซ์ ทางานได้ดีที่สุดซึ่ง pH ในไซโทพลาส
ซึมเท่ากับ 7 - เอนไซม์ไฮโดรไลติก สร้างใน ER และส่ งมายังไล
โซโซมโดยผ่านทางกอลจิแอพพาราตัส
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
หน้ าที่
1) การย่อยสลายภายในเซลล์ (intracellular digestion)
- การโอบกลืน(phagocytosis) เช่น การย่อยเซลล์แบคทีเรี ยที่
ถูกจับกินโดยเม็ดเลือดขาว
- การย่อยสลาย แมคโครโมเลกุล (macromolecule)
- การทาลาย ออร์ แกเนลล์ ที่เสื่ อมสภาพในเซลล์ (autophagy)
2) มีหน้าที่ใน กระบวนการทาลายเซลล์ที่หมดอายุหรื อหน้าที่
(programmed destruction) เช่นในการเปลี่ยนรู ปร่ างของลูกอ๊อด เป็ นกบ
โดยไลโซโซมในเซลล์หาง ลูกอ๊อด จะทาลายส่ วนหางให้หายไปขณะ
เจริ ญเติบโตเป็ นกบหรื อ การหายไป ของพังผืด ระหว่างนิ้วมือของมนุษย์
เพอโรซิ โซม (peroxisome)

ถุงเพอโรซิโซมภายในเซลล์

หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
โครงสร้ าง
- พบมากที่เซลล์ตบ
ั
- เป็ นถุงที่บรรจุ เอนไซม์ออกซิไดซ์ (oxidizing enzyme) ที่ทา
หน้าที่ยายไฮโดรเจนจากสาร ต่าง ๆ ไปให้แก่ออกซิเจนทาให้เกิด
้
ไฮโดรเจนเพอร์ ออกไซด์ (H2O2)
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
หน้ าที่
- ทาลายสารพิษ เช่น แอลกอฮอล์
- ทาลายไขมัน
- ทาลาย H2O2 ที่เกิดขึ้นในเพอโรซิโซม โดยเปลียนเป็ น H2O
่
ด้วยเอนไซม์แคตาเลส (catalase enzyme)
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

แวคิวโอล (vacuole)
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
• โครงสร้ าง
- เป็ นถุงขนาดใหญ่ที่พบมากในเซลล์พืช
• หน้ าที่
- แวคิวโอล ในเซลล์พืชทาหน้าที่เก็บน้ า น้ าตาล เกลือ เม็ดสี (pigment)
และสารพิษบางชนิด เพื่อป้ องก ันพืชจากสัตว์กนพืชเป็ นอาหาร
ิ
- แวคิวโอล ในโปรโทซัวได้แก่ แวคิวโอลที่ทาหน้าที่ย่อยอาหาร
(digestive vacuoles)หรื อ แวคิวโอลที่ทาหน้าที่เก็บอาหาร (food
vacuoles)
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

ไมโทคอนเดรี ย (mitochondria)
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
โครงสร้ าง
- มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 – 1.0 ไมโครเมตร ยาวประมาณ 1-10
ไมโครเมตร
- ถูกหุ้มด้วยเยื่อหุม 2 ชั้น
้
- เยื่อหุมชั้นนอก (outer membrane ) มีลกษณะผิวเรียบ โมเลกุลขนาดเล็ก
้
ั
สามารถผ่านได้ แต่โมเลกุลขนาดใหญ่ไม่สามารถผ่านได้
- เยื่อหุมชั้นใน (inner membrane) ผนังเยื่อหุ้มจะพับเป็ นรอยจีบยื่นเข้าไปข้าง
้
ในเรี ยกว่า คริ สตี(cristae) ห่อหุ้มของเหลวทีเ่ รี ยกว่า แมทริ กซ์ (matrix)ไว้
- ระหว่างเยื่อหุ้มชั้นใน และ เยื่อหุ้มชั้นนอก เรียกว่า ช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้ม
เซลล์
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
- คริ สตีและแมทริ กส์มีเอนไซม์ สาหรับการหายใจระดับเซลล์ (cellular
respiration)และ เป็ นที่สังเคราะห์ ATP
- มีไรโบโซม และDNAเป็ นของตัวเอง
- มีจานวนเพียง 1 อัน หรื อ เป็ นหลาย ๆ พันในเซลล์ เช่น ในเซลล์ตบ จะมี
ั
ไมโทคอนเดรียมากถึง 2,500อันต่อเซลล์
- ไมโทคอนเดรี ยภายในเซลล์ปกติจะมีการเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงรู ปร่ าง
และเพิ่ม จานวนของตัวมันเอง
• หน้าที่
เป็ นที่สาหรับการหายใจระดับเซลล์ ซึ่งการหายใจระดับเซลล์
(cellular respiration) คือ กระบวนการที่พลังงานเคมีของ คาร์โบไฮเดรตถูก
เปลี่ยน เป็ น ATP ซึ่งเป็ นตัวให้ พลังงานภายในเซลล์ ซึ่งสามารถเขียนเป็ น
สมการได้ดงนี้
ั
คลอโรพลาสต์ (chloroplasts)

หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
โครงสร้ าง

- พบในเซลล์พช สาหร่าย และ ไซยาโนแบคทีเรีย (cyanobacteria)
ื
- มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4-6 ไมโครเมตร ยาวประมาณ 1-5 ไมโครเมตร
- คลอโรพลาสต์ เป็ น พลาสติด ชนิดหนึ่ง พลาสติด เป็ นออร์แกเนลล์ ที่พบ
ในพืช ซึ่งได้แก่
1) อะไมโลพลาสต์ (amyloplast) เป็ นพลาสติด ที่ไม่มีสี พบที่รากและส่วน
หัวของพืช ทาหน้าที่เก็บสะสมแป้ ง
2) โครโมพลาสต์ (chromoplast) มีรงควัตถุ สีแดง และสีส้มบรรจุอยูให้สี
่
แดงและสีส้ม แก่ผลไม้ ดอกไม้ และใบไม้ในฤดูใบไม้ร่วง
3) คลอโรพลาสต์ (chloroplast) มี รงควัตถุ สีเขียวเรี ยกว่า คลอโรฟิ ลล์
(chlorophyll) มีเอนไซม์ และโมเลกุลอื่น ๆ ที่จาเป็ นสาหรับ การ
สังเคราะห์ดวยแสง พบในใบและส่วน อืน ๆ ของพืชที่มีสีเขียว
้
่
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
- มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น คือ เยื่อหุ้มชั้นนอก และเยื่อหุ้มชั้นใน
- ภายในคลอโรพลาสต์ ประกอบด้วย ถุงแบน ๆ ทีเ่ กิดจากเยื่อหุ้มชั้นใน
เรี ยกว่า ไทลาคอยด์ (thylakoid) วางซ้อนทับกันอยู่เป็ นกอง ๆ ซึ่งแต่ละกอง
ของไทลาคอยด์ เรี ยกว่า กรานัม (granum)ของเหลวที่บรรจุอยู่รอบ ๆ ไทลา
คอยด์ เรี ยกว่า สโตรมา (stroma) ซึ่งจะมี DNA ไรโบโซมของคลอโรพลาสต์
และเอนไซม์ที่ใช้ในการ สังเคราะห์คาร์โบไฮเดรต
- คลอโรฟิ ลล์ อยู่ที่ เยื่อหุ้มไทลาคอยด์ (thylakoid membrane)
• หน้าที่
- เป็ นที่เกิดกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสง (photosynthesis)
้
- การสังเคราะห์ดวยแสง คือ กระบวนการที่พลังงานแสงถูก
้
เปลี่ยนเป็ นพลังงานเคมีเป็ น คาร์โบไฮเดรต
โดยสามารถเขียนเป็ นสมการได้ดงนี้
ั
• พลังงานแสง + CO2+ H2O C6H12O6 + O2
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

สารโครงร่ างของเซลล์ (cytoskeleton)
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
โครงสร้ าง
- เป็ นร่ างแห ตาข่ายของเส้นใยโปรตีนที่แผ่ขยายปกคลุมอยู่ทว
ั่
ไซโทพลาสซึม
- ทาหน้าที่คงรู ปร่ างของเซลล์ โดยทาให้เซลล์ทนต่อแรงอัดจากภายนอก
- เส้นใยโปรตีนที่ประกอบเป็ นสารโครงร่ างเซลล์ มี 3 ชนิด คือ
ไมโครทูบูล ไมโครฟิ ลาเมนต์ และ อินเตอร์ มีเดียฟิ ลาเมนต์
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

ไมโครทบล (microtubule)
ู ู

ท่อไมโครทูบูล
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
โครงสร้ าง
- ไมโครทูบูล (microtubule) เป็ นแท่งกลวง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25
นาโนเมตร ยาว 200 นาโนเมตร – 25 นาโนเมตร
- ประกอบด้วยโปรตีนก้อนกลม (globular protein) ชื่อว่าทูบูลิน (tubulin) ซึ่ง
มี 2 หน่วยย่อย คือ แอลฟาทิวบูลิน (alpha – tubulin) และบีตาทูบูลิน (beta – tubulin)
- เซนโทรโซม (centrosome) เป็ นศูนย์ควบคุมการประกอบไมโครทูบูล ซึ่งอยูใกล้ ๆ
่
กับนิวเคลียส ภายในบริเวณ เซนโทรโซมจะพบเซนทริ โอล จานวน 1 คู่ เซนทริ โอล 1
อัน มีรูปร่างเป็ นทรงกระบอก ประกอบด้วยท่อไมโครทูบูล 3 ท่อ จานวน 9 ชุด มาเรียง
ตัวกันเป็ นวงแหวน ตรงกลางไม่มีท่อ ทูบูลิน เรียกโครงสร้างแบบนี้ว่า 9 + 0
- เซนทริโอล คู่น้ ี จะวางตั้งฉากกันและเกียวข้องกับการแยกโครโมโซมระหว่างการ
่
แบ่งตัวของเซลล์
- เซนโทรโซม ในเซลล์พืชส่วนใหญ่ไม่มีเซนทริ โอล
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

การจัดเรี ยงตัวของไมโครทูบลในแฟลเจจลาและเบซัลบอดี
ู
ที่มีโครงสร้างคล้ายเซนทริ โอล
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
หน้ าทีของ ไมโครทูบูล
่
- ช่วยรักษารู ปร่ างของเซลล์ ไมโครทูบูล เปรี ยบเสมือนแท่งเหล็กที่ทน
ต่อแรงอัดภายนอก
- ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวของซิเลีย และแฟลเจลลา ซึ่งส่งผลให้เซลล์ที่
มีซิเลีย หรื อแฟลเจลา เป็ นส่ วนประกอบเกิดการเคลื่อนที่ได้ (ไมโคร
ทูบูลในซิเลีย และแฟลเจลลา จะมีการเรี ยงตัวแบบ 9+2 ซึ่งประกอบด้วย
ไมโครทูบูล 2 ท่อ จานวน 9 ชุด จัดเรี ยงตัว เป็ นวงแหวนโดยตรงกลาง มี
ท่อไมโครทูบูลจานวน 2 ท่อวางอยู่
- ช่วยในการแยกโครโมโซมระหว่างเซลล์กาลังแบ่งตัว
- ช่วยในการเคลื่อนที่ของออร์ แกเนลล์
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

เซนทริโอล

โครงสร้ างแฟลเจลลา

การโบกพัดซีเลียของพารามีเซียม
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
ไมโครฟิ ลาเมนต์ (microfilament or actin filament)

เส้ นใยไมโครฟิ ลาเมนต์

ไมโครฟิ ลาเมนต์ (สี เขีย ว) ช่ วยคงรูปร่ างของเซลล์
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

• โครงสร้ าง
- เป็ นเส้นใยขนาดบาง และยาวมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7 นาโนเมตร
- ประกอบด้วยโปรตีนก้อนกลม ชื่อว่า แอคทิน (actin) โดย ไมโครฟิ ลาเมนต์
1 เส้น ประกอบด้วย 2 สายของแอคทิน ที่พนกันเป็ นเกลียว
ั
• หน้าที่
- ช่วยรักษารู ปร่ างของเซลล์ โดยไมโครฟิ ลาเมนต์จะทาให้เซลล์ทนต่อแรงดึง
- มีบทบาทสาคัญในการหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อ โดยมีไมโอซิน เป็ น
มอเตอร์ โมเลกุล (motor molecule)
- เป็ นส่ วนประกอบใน ไมโครวิลไล (microvilli) ของ เซลล์บุผิวภายในลาไส้
(intestinal cell) ทาหน้าที่เพิ่มพื้นที่ผิวให้แก่เซลล์บผิวภายในลาไส้
ุ
- มีบทบาทในการเคลื่อนที่แบบอะมีบา (amoeboid movement) ของเซลล์
และทาให้เกิดรอยแยก สาหรับเซลล์ที่กาลังแบ่งตัว
- เกียวข้องกับการไหลเวียนของไซโทพลาซึม ในเซลล์พืช (cytoplasmic
่
streaming)
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

อินเตอร์ มีเดียท ฟิ ลาเมนต์ (intermediate filament)

เส้ นใยอินเตอร์มีเดียทฟิ ลาเมนต์
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
• โครงสร้ าง
- เป็ นเส้ นใยโปรตีนที่มีขนาดใหญ่กว่าไมโครฟิ ลาเมนต์ แต่เล็กกว่าไม
โครทูบล
ู
- ประกอบด้ วยโปรตีนที่อยู่ในกลุ่มเคอราติน (keratin family)
• หน้ าที่
- ช่วยรักษารูปร่ างของเซลล์อินเตอร์ มี เดียท ฟิ ลาเมนต์ ทนต่อแรงดึง
ภายนอก เช่นเดียวกับ ไมโครฟิ ลาเมนต์
- ช่วยยึดออร์ แกเนลล์ บางอย่างให้ อยู่กบที่ เช่น นิวเคลียสถูกยึดให้ อยู่
ั
ในกรงที่ทาด้ วย อินเตอร์ มี เดียท ฟิ ลาเมนต์
- สร้ าง นิวเคลียร์ ลาร์ มินาร์ (nuclear larninar)
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

โครงสร้ างผิวเซลล์ (cell surface structure)

คือ โครงสร้างที่อยู่ถดออกมาจากเยื่อหุมเซลล์ เช่น ผนังเซลล์
ั
้
(cell wall) ที่พบใน เซลล์พืช รา สาหร่ ายและแมทริ กซ์นอกเซลล์
( extracellular matrix) ที่พบในเซลล์สัตว์
ผนังเซลล์

หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
โครงสร้ าง
- ช่วยในการคงรู ปร่ างของเซลล์พืช แบ่งออกเป็ น
1. ผนังเซลล์ขนแรก (primary cell wall) ซึ่งประกอบด้วย
้ั
เซลลูโลส ระหว่างผนังเซลล์ ขั้นแรก คือ ลาเมลลา (middle lamella) ซึ่งมี
เพคติน (pectin) บรรจุ อยู่ช่วยยึดเซลล์ให้อยู่ติดก ัน
2. ผนังเซลล์ขนที่สอง (secondary cell wall) อยู่ระหว่างเยื่อ
้ั
หุมเซลล์ และ ผนังเซลล์ ขั้นแรก แข็ง และทนทานกว่า ผนังเซลล์ข้นแรก
้
ั
มักพบลิกนินเป็ น ส่ วนประกอบผนังเซลล์ข้นที่สองนี้ มักพบในไม้เนื้อ
ั
แข็ง
แมทริกซ์ นอกเซลล์

หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

• ส่ วนใหญ่เป็ นไกลโคโปรตีน (glycoprotein) ซึ่งได้แก่
1) คอลลาเจน (collagen)
2) โพรทีโอไกลแคน (proteoglycan)
3) ไฟโบรเนคติน(fibronectin)
• หน้ าที่
ทาหน้าที่เชื่อมต่อก ับบริ เวณรับของอินทีกริ น (integrin
receptor) ในเยื่อหุมเซลล์และอินทีกริ นก็เชื่อมต่อก ับ ไซโทสเกเลตัน ทา
้
ให้เกิดการประสานระหว่าง แมทริ กซ์นอกเซลล์ และไซโทพลาซึม
ภายในเซลล์ข้น
ึ
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
โครงสร้ างเชื่ อมต่ อระหว่ างเซลล์ (junction between cells)
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
- พลาสโมเดสมาตา (plasmodesmata) ในเซลล์พืช
ช่วยให้ไซโทพลาสซึมระหว่างเซลล์แพร่ ถงก ัน ทาให้สารต่าง ๆ ใน
ึ
ไซโทพลาสซึมเกิดการแลกเปลี่ยนก ันระหว่างเซลล์
- ไทท์จงชัน (tight junction) ในเซลล์สัตว์
ั
เป็ นโครงสร้างที่เกิดจากเยื่อหุมเซลล์ที่อยู่ติดก ันเกิดการรวมตัวก ัน
้
ป้ องก ันการรั่วไหลของ ของเหลวภายในเซลล์และนอกเซลล์เข้าหาก ัน
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
- เดสโมโซม (desmosome) ใน เซลล์สัตว์
> ทาหน้าที่ตรึ งเซลล์เข้าด้วยก ัน โดยมี อินเตอร์ มีเดียทฟิ ลาเมนต์ช่วย
เพิมความแข็งแรงให้แก่ เดสโมโซม
่
- แกพจังชัน (gap junction) ในเซลล์สัตว์
> เป็ นช่องที่เกิดขึ้นระหว่างเซลล์ที่อยู่ติดก ัน
> ทาให้สารและโมเลกุลสามารถเคลื่อนที่จาก เซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์
หนึ่ง
> กระแสไฟฟ้ า สามารถเคลื่อนที่จากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง โดย
ผ่านทางแกพจังชัน
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

หน้าที่ของเซลล์
• 1. การเจริญและการสืบพันธุ์ (growth and reproduction) เป็ นหน้าที่ที่สาคัญ
ที่สุด ของสิ่ งมีชีวตคือ มีความสามารถในการเพิ่มจานวนในการสื บพันธุ์ มี
ิ
การเจริ ญเติบโตและ เพิ่มขนาดของเซลล์
• 2. การหายใจ ( respiration ) มีกระบวนการที่สลายสารอาหารชนิดต่าง ๆ
เพื่อสร้างพลังงานในการดารงชีวตโดยการใช้หรื อไม่ใช้ออกซิเจนมาร่ วมใน
ิ
ปฏิกริยาการหายใจระดับเซลล์ ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง
ิ
• 3. การขับถ่ ายและการหลังสาร ( excretion and secretion ) เซลล์ทวไปมีการ
่
ั่
ขับถ่ายยูเรีย และเซลล์ต่อมขับถ่ายเหงื่อนอกจากนี้เซลล์บางชนิดมี
ความสามารถในการสร้างและหลังสารทีถูกผลิต ภายในเซลล์ออกสู่
่
่
ภายนนอกเซลล์สารต่าง ๆ ได้แก่ พวกออร์โมน เอนไซม์ น้าย่อยชนิดต่าง ๆ
ของระบบต่าง ๆ
หน้าทีของเซลล์
่

หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต

• 4. การดูดซึม ( absorption ) เซลล์มีความสามารถในการดูดซึมหรื อเก็บ
กินสิ่ งต่าง ๆ ที่อยู่ภายนอกเซลล์เช่นการกินเชื้อโรคของเม็ดเลือดขาว
• 5. การเปลียนรู ปร่ าง เซลล์สามารถเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างตลอดจนมีการ
่
เคลื่อนไหว เช่นการหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อ
• 6. การตอบสนอง เซลล์มีความสามารถในการตอบสนองต่อสิ่ งเร้าที่มา
กระตุน เช่น พวกเซลล์ประสาท เซลล์รับความรู ้สึก
้
• 7. การส่ งผ่ านสาร ( conductivity ) เซลล์มีความสามารถในการส่ งผ่าน
้
้
สิ่ งกระตุนต่อไป ซึ่งเป็ นคุณสมบัติที่พบในบริ เวณเยื่อหุมเซลล์ของเส้น
ใยประสาทและเซลล์กล้ามเนื้อชนิดต่าง ๆ
หน้าทีของเซลล์
่

แหล่งอ้างอิง
ปรี ชา สุ รรณพินิจ และ นงลักษณ์ สุ วรรณพินิจ. ม.ป.ป. คู่มือเตรียมสอบ
ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1.บริ ษทไฮเอ็ดพับลิชชิงจาก ัด: กรุ งเทพมหานคร
ั
่
สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี. 2548. หนังสือเรียน
สาระการเรียนรู้ พนฐานและเพิมเติม ชีววิทยา เล่ม 5.
ื้
่
บริ ษทศิริวฒนาอินเตอร์พริ้ น จาก ัด (มหาชน): กรุ งเทพมหานคร.
ั
ั
มีชย ศรี ใส. (2526). Neuroanatomy : ประสาทภายวิภาคศาสตร์ .
ั
(พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุ งเทพฯ : คณะแพทยศาสตร์ จุฟาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย รัฐพงค์
นาย อนิรุทธ์

วงศ์จนทร์ ทิพย์ เลขที่ 28
ั
ยศแสน
เลขที่ 30

ชั้น ม.6 ห้อง7
ชั้น ม.6 ห้อง7

More Related Content

What's hot

ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพWichai Likitponrak
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPathitta Satethakit
 
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriaIntroduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriapitsanu duangkartok
 
Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62Wichai Likitponrak
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
การเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คนการเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คนTeakzK
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรsupreechafkk
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 

What's hot (20)

ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriaIntroduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
 
Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
การเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คนการเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Lesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowthLesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowth
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 

Similar to computer project

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Prangwadee Sriket
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอราโครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอราsupatcha roongruang
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์Issara Mo
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)saruta38605
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transportkasidid20309
 

Similar to computer project (20)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอราโครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
นิ่ง
นิ่งนิ่ง
นิ่ง
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
Cell
CellCell
Cell
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
 
ติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะ
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
1
11
1
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
 

More from Anirut Yotsean

ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์Anirut Yotsean
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Anirut Yotsean
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Anirut Yotsean
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Anirut Yotsean
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Anirut Yotsean
 

More from Anirut Yotsean (14)

ใบงาน 9 14
ใบงาน 9 14ใบงาน 9 14
ใบงาน 9 14
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Sci onet49
Sci onet49Sci onet49
Sci onet49
 
Math onet49
Math onet49Math onet49
Math onet49
 
Eng onet49
Eng onet49Eng onet49
Eng onet49
 
Thai o-net-m6-48
Thai o-net-m6-48Thai o-net-m6-48
Thai o-net-m6-48
 
Social o-net-m6-48
Social o-net-m6-48Social o-net-m6-48
Social o-net-m6-48
 
Science o net-m6-48
Science o net-m6-48Science o net-m6-48
Science o net-m6-48
 
Math o-net-m6-48
Math o-net-m6-48Math o-net-m6-48
Math o-net-m6-48
 
Eng o-net-m6-48
Eng o-net-m6-48Eng o-net-m6-48
Eng o-net-m6-48
 

computer project

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 6 ปี การศึกษา 2556 ชื่อโครงงาน “ สื่อการเรียนการสอน วิชา ชีววิทยา เรื่อง หน่ วยของสิ่งมีชีวต ” ิ
  • 2. ทีมาและความสาคัญของโครงงาน ่ ในปั จจุบนการศึกษาค้ นคว้ าหาความรู้เพิมเติมจากที่เรี ยนใน ั ่ ห้ องเรี ยนนัน นับได้ ว่าเป็ นเรื่ องที่สาคัญมากเลยทีเดียวเนื่องจาก สังคม ้ การเรี ยนในปั จจุบนนัน มีการแข่งขันที่สงมากพอสมควร ผู้จดทาจึง ได้ ั ้ ู ั คิดที่จะจัดทา โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการเรี ยนการสอน ในวิชาชีววิทยา เรื่ องหน่วยของสิ่งมีชีวิต ซึงถือได้ ว่าเป็ นเรื่ องที่เป็ นพื ้นฐานสาคัญ ในการ ่ ที่จะศึกษาในวิชาชีววิทยา ซึ่งทางผู้จดทานัน จะนาเสนอออกมาใน ั ้ รูปแบบของ Power point ซึงจะทาให้ มีความน่าสนใจยิ่งขึน ่ ้
  • 3. วัตถประสงค์ ุ • เพื่อนาเสนอความรู้ในเรื่ องหน่วยของสิ่งมีชีวิตให้ มีความน่าสนใจ • เพื่อฝึ กทักษะการใช้ โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2007
  • 4. วิธีดาเนินงาน • • • • • • • คิดหัวข้ อโครงงานที่สนใจ ศึกษาและค้ นคว้ าข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง จัดทาโครงร่ างงาน ปฏิบติการสร้ างโครงงานโดยจัดทาเป็ นสื่อการสอนอย่างง่าย ั ปรับปรุงทดสอบ การทาเอกสารรายงาน ประเมินผลงานและนาเสนอโครงงาน
  • 5. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต หน่ วยของสิ่งมีชีวิต
  • 6. สารบัญ ประเภทของเซลล์ องค์ประกอบของเซลล์ 1. เยื่อหุมเซลล์ ้ 2. นิวเคลียส 3. ไรโบโซม 4. เอนโดพลาสมิกเรติคูลม ั 5. กอลจิแอพพาราตัส (golgi apparatus) 6. ไลโซโซม (lysosome)
  • 7. สารบัญ(ต่ อ) องค์ประกอบของเซลล์ 7. เพอโรซิโซม (peroxisome) 8. แวคิวโอล (vacuole) 9. ไมโทคอนเดรี ย (mitochondria) 10. คลอโรพลาสต์ (chloroplasts) 11. สารโครงร่ างของเซลล์ (cytoskeleton) 12. โครงสร้างผิวเซลล์ (cell surface structure) 13.โครงสร้างเชื่อมต่อระหว่างเซลล์ (junction between cells) หน้าที่ของเซลล์ แหล่ งอ้ างอิง
  • 8. ประเภทของเซลล์ หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต • เซลล์ เป็ นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต แบ่งได้เป็ น 2 ชนิดตามลักษณะ ของการมีเยื่อหุมนิวเคลียสคือ ้ - โปรคาริโอติกเซลล์ (Protokaryotic cell ) เป็ นเซล์ของสิ่ งมีชีวิตชั้นต่า ได้แก่ ไซยาโน แบคทีเรี ย (cyanobacteria) แบคทีเรี ย (bacteria) และไม โคพลาสมา (mycoplasma) มีสารพันธุกรรม อยู่ในบริ เวณโครงสร้างที่ เรี ยกว่า นิวคลีออยด์ ( nucleoid) ที่ปราศจาก เยื่อหุมนิวเคลียส ( nuclear ้ membrane) และไม่มีโปรตีนฮีสโตน (histone) ภายใน ไซโตพลาสซึม( cytoplasm) ไม่มีออร์ แกแนลชนิดที่มีเยื่อหุม (membrane organelles) และ ้ โครงร่ างภายในไซโตพลาสซึม (cytoskeleton)
  • 9. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต • - ยูคาริโอติกเซลล์ (Eukaryotic cell) เป็ นเซลล์ของสิ่ งมีชีวตชั้นสู ง พวกเห็ด ิ รา พืช และสัตว์ เซลล์ชนิดนี้มีขนาดใหญ่กว่าชนิดแรก และมีนิวเคลียสที่เห็น ได้ชดเจน แยกจาก บริ เวณไซโตพลาสซึม และมีเยื่อหุมนิวเคลียส (nuclear ั ้ membrane) หุ้มรอบ สารพันธุกรรม ซึ่งมีโปรตีนฮีสโตน เป็ นส่ วนประกอบ นอกจากนี้ยงพบทั้ง ออร์แกแนล ที่มเี ยื่อหุ้มจานวนหลายชนิด รวมทั้งออร์ ั แกแนลที่ไม่มีเยื่อหุ้มอยูภายในไซโตพลาสซึม ่ • เซลล์สิ่งมีชีวตสามารถแบ่งเป็ นประเภทใหญ่ๆ ได้ 3 ประเภท ตามความ ิ แตกต่างขององค์ประกอบ ภายในเซลล์ คือ เซลล์สัตว์ เซลล์พืช และเซลล์ของ แบคทีเรี ยโดย เซลล์สัตว์ แตกต่างจากเซลล์พืชตรงที่ เซลล์สัตว์ไม่มผนังเซลล์ ี และไม่มีรงควัตถุ ที่ใช้ในการ สังเคราะห์แสง สาหรับเซลล์แบคทีเรียมีความ ซับซ้อน ขององค์ประกอบ ภายในเซลล์ น้อยกว่าเซลล์สัตว์ และเซลล์พืชมาก เช่น ไม่มีเยือหุ้มสารพันธุกรรม และออร์แกเนลล์ต่างๆ เป็ นต้น ่
  • 11. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต เยื่อห้ ุมเซลล์ โครงสร้ างของเยื่อหุ้มเซลล์
  • 12. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต โครงสร้ าง - ประกอบด้วยฟอสโฟลิพิด และโปรตีน โดยฟอสโฟลิพิดจัดเรี ยง ตัวเป็ น 2 ชั้น (bilayer) หันส่ วนที่ไม่ละลายน้ าเข้าหาก ันและหันส่ วน ละลายน้ าออกสู่ สิ่งแวดล้อม - องค์ประกอบโปรตีนจะแทรกอยู่ในชั้น บน ส่ วนกลาง หรื อ ส่ วนล่างของชั้นฟอสโฟลิพิด ประกอบด้วยฟอสโฟลิพิด และโปรตีน โดยฟอสโฟลิพิดจัดเรี ยงตัวเป็ น 2 ชั้น (bilayer) หันส่ วนที่ไม่ละลายน้ าเข้าหาก ันและหัน ส่ วนละลายน้ า ออกสู่ สิ่งแวดล้อม - องค์ประกอบโปรตีนจะแทรกอยู่ในชั้น บน ส่ วนกลาง หรื อ ส่ วนล่างของชั้นฟอสโฟลิพด ิ
  • 13. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต หน้ าที่ - ห่อหุมของเเหลวและออร์ แกเนลล์ส่วนใหญ่เอาไว้ ้ - ควบคุมการผ่านเข้าออกของสารต่างๆ จากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ เซลล์ และภายในเซลล์ออกสู่ สิ่ งแวดล้อม - เป็ นที่ยึดจับของสารโครงร่ างเซลล์ (cytoskeletal) ทาให้เซลล์คงรู ป อยู่ได้ - เป็ นบริ เวณรับ (receptor) ของสารบางชนิดไซโทสเกเลตัน ทาให้ เกิดการประสานระหว่าง แมทริ กซ์นอกเซลล์ และไซโทพลาซึม ภายในเซลล์ข้น ึ
  • 15. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต • โครงสร้ าง - มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 ไมโครเมตร - ถูกห่อหุ้มด้วยเยื่อ 2 ชั้น ที่เรี ยกว่า เยื่อหุ้มนิวเคลียส (nuclear envelope) ทา ให้ส่วนประกอบ ในนิวเคลียสถูกแยกออกจากส่ วนของไซโทพลาซึม - บน เยื่อหุ้มนิวเคลียส มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 นาโนเมตร สาหรับ การผ่านเข้าออกของโปรตีน และหน่วยย่อยของไรโบโซม (ribosomal subunit) - ภายในนิวเคลียสมีเส้นใยโครมาทิน ซึ่งประกอบด้วย DNA และโปรตีน - เมื่อเซลล์เตรียมที่จะแบ่งตัว เส้นใยโครมาทินจะหดสั้น ทาให้กลายเป็ นแท่ง หนา เรี ยกว่า โครโมโซม (chromosome) สามารถมองเห็นได้ภายใต้ กล้องจุลทรรศน์ - โครงสร้างภายใน นิวเคลียสที่สามารถมองเห็นได้ชดเจนที่สุด ขณะ ั นิวเคลียสยังไม่แบ่งตัวคือ นิวคลีโอลัส (nucleolus) นิวคลีโอลัส มี รู ปร่ างกลมถูกย้อมสี เข้ม เป็ นที่สาหรับสร้าง ไรโบโซม โดยทาการ ประกอบ RNA เข้ากับโปรตีน
  • 16. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต หน้ าที่ - เป็ นที่ที่ DNA บรรจุอยู่ - ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน (โดยการสังเคราะห์ mRNA และ ส่ งออกไปยังไซโทพลาสซึมทางรู ที่เยื่อหุมนิวเคลียส ( nuclear pores ) ้ ซึ่งจะกลายเป็ นตัวกาหนด คุณลักษณะของเซลล์น้ น ๆ ั
  • 18. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต โครงสร้ างและหน้าที่ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 30 นาโนเมตร - ประกอบด้วย 2 หน่วยย่อย คือ หน่วยใหญ่ (60 S) และหน่วยเล็ก (40 S) ซึ่ง สร้างขึ้นจาก rRNA และ โปรตีน - สร้างในนิวคลีโอลัส - เป็ นที่สร้างโปรตีน มี 2 ชนิด คือ 1) ไรโบโซมที่อยูเ่ ป็ นอิสระใน ไซโทพลาซึม(ทาหน้าที่สร้างโปรตีนที่อยู่ใน ไซโทพลาสซึม) 2) ไรโบโซม ที่ติดอยู่บนร่ างแหเอนโดพลาสมิกเรติคลม (ทาหน้าที่สร้าง ู ั โปรตีน อยู่ทเี่ ยื่อหุมเซลล์ และโปรตีนที่จะถูกส่งออกไปยังนอกเซลล์ ้
  • 20. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต โครงสร้ างและหน้ าที่ เอนโดพลาสมิกเรติคูลม แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ ั 1) เอนโดพลาสมิกเรติคูลมแบบผิวเรียบ ั - ไม่มีไรโบโซม เกาะอยู่บนผิวของ ER - มีหน้าที่สร้างไขมัน อันได้แก่ ฟอสโฟลิปิด ฮอร์ โมนเพศและ สเตรอยด์ฮอร์โมน - เป็ นที่สาหรับเก็บ Ca2+ - มีหน้าที่ในขบวนการ เมแทบอลิซึมของคาร์ โบไฮเดรต - มีเอนไซม์สาหรับทาลายพิษของยา - พบมากที่ ลูกอัณฑะ (teste) รังไข่ (ovary) และผิวหนัง (skin)
  • 21. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต 2) เอนโดพลาสมิกเรติคูลมแบบผิวขรุ ขระ ั - มีไรโบโซม เกาะอยู่บนผิวของเอนโดพลาสมิกเรติคูลม ั - เป็ นที่สาหรับให้สายของโพลีเพปไทด์ ที่จะถูกส่ งออกนอก เซลล์มีการพับ ไปสู่ รูปร่ าง 3 มิติ ที่ถูกต้องก่อนที่จะถูกส่ งออก ไปยังกอลจิแอพพาราตัส - เป็ นที่สาหรับเติมคาร์ โบไฮเดรต (โอลิโกแซคคาไรด์) ให้ก ับ โปรตีนที่จะถูก ส่ งออก นอกเซลล์ซ่ ึงก็คอไกลโคโปรตีน ื - โปรตีนที่จะออกจากเอนโดพลาสมิกเรติคูลม นั้นจะถูกห่อ ั ด้วย เยื่อหุมของ เอนโดพลาสมิกเรติคูลมและกลายเป็ นถุง ้ ั เล็ก ๆ หลุดออกจากเอนโดพลาสมิกเรติคูลม ั
  • 22. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต กอลจิแอพพาราตัส (golgi apparatus โครงสร้างของกอลจิแอพาราตัส
  • 23. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต การเคลื่อนที่ของสารจาก ER ออกนอกเซลล์โดย ผ่านการสร้างเวซิเคิล (vesicle)ในกอลจิแอพาราตัส โครงสร้ าง - เป็ นถุงแบน ๆ ที่วางซ้อน ๆ กันมีประมาณ 3 – 20 ถุง - แบ่งออกเป็ น 1) ด้านที่อยูใกล้กบ ER (cis face) จะรับถุงบรรจุโปรตีนที่ส่งมาจาก ER ่ ั 2) ด้านที่อยูห่างจาก ER( trans face) จะทาการส่งถุงบรรจุโปรตีนที่ส่งมา ่ จากด้านที่อยูใกล้กบ ER ไปยังจุดหมายปลายทางต่าง ๆ ในเซลล์ ่ ั
  • 24. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต หน้ าที่ เปรี ยบเสมือนโกดังเก็บสิ นค้าก่อนส่ งออกโดยจะรับถุงบรรจุ โปรตีนจาก ER แล้วมาตัดแต่ง ต่อเติม โปรตีนให้สมบูรณ์ จากนั้นจะทา การคัดเลือกโปรตีนที่มี โครงสร้างสมบูรณ์แล้วส่ งไปยังจุดหมาย ้ ปลายทางต่าง ๆ ทั้งภายในเซลล์ ภายนอกเซลล์ และที่เยื่อหุมเซลล์
  • 25. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต ไลโซโซม (lysosome) การสร้ างไลโซโซมจากกอลจิแอพาราตัส
  • 26. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต โครงสร้ าง เป็ นถุงที่บรรจุ เอนไซม์ไฮโดรไลซ์ (hydrolytic enzyme) สาหรับย่อยโปรตีน ไขมัน พอลิแซคคาไรด์ และกรดนิวคลีอิก- pH ใน ไลโซโซม เท่ากับ 5 ซึ่ง เอนไซม์ไฮโดรไลซ์ ทางานได้ดีที่สุดซึ่ง pH ในไซโทพลาส ซึมเท่ากับ 7 - เอนไซม์ไฮโดรไลติก สร้างใน ER และส่ งมายังไล โซโซมโดยผ่านทางกอลจิแอพพาราตัส
  • 27. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต หน้ าที่ 1) การย่อยสลายภายในเซลล์ (intracellular digestion) - การโอบกลืน(phagocytosis) เช่น การย่อยเซลล์แบคทีเรี ยที่ ถูกจับกินโดยเม็ดเลือดขาว - การย่อยสลาย แมคโครโมเลกุล (macromolecule) - การทาลาย ออร์ แกเนลล์ ที่เสื่ อมสภาพในเซลล์ (autophagy) 2) มีหน้าที่ใน กระบวนการทาลายเซลล์ที่หมดอายุหรื อหน้าที่ (programmed destruction) เช่นในการเปลี่ยนรู ปร่ างของลูกอ๊อด เป็ นกบ โดยไลโซโซมในเซลล์หาง ลูกอ๊อด จะทาลายส่ วนหางให้หายไปขณะ เจริ ญเติบโตเป็ นกบหรื อ การหายไป ของพังผืด ระหว่างนิ้วมือของมนุษย์
  • 29. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต โครงสร้ าง - พบมากที่เซลล์ตบ ั - เป็ นถุงที่บรรจุ เอนไซม์ออกซิไดซ์ (oxidizing enzyme) ที่ทา หน้าที่ยายไฮโดรเจนจากสาร ต่าง ๆ ไปให้แก่ออกซิเจนทาให้เกิด ้ ไฮโดรเจนเพอร์ ออกไซด์ (H2O2)
  • 30. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต หน้ าที่ - ทาลายสารพิษ เช่น แอลกอฮอล์ - ทาลายไขมัน - ทาลาย H2O2 ที่เกิดขึ้นในเพอโรซิโซม โดยเปลียนเป็ น H2O ่ ด้วยเอนไซม์แคตาเลส (catalase enzyme)
  • 32. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต • โครงสร้ าง - เป็ นถุงขนาดใหญ่ที่พบมากในเซลล์พืช • หน้ าที่ - แวคิวโอล ในเซลล์พืชทาหน้าที่เก็บน้ า น้ าตาล เกลือ เม็ดสี (pigment) และสารพิษบางชนิด เพื่อป้ องก ันพืชจากสัตว์กนพืชเป็ นอาหาร ิ - แวคิวโอล ในโปรโทซัวได้แก่ แวคิวโอลที่ทาหน้าที่ย่อยอาหาร (digestive vacuoles)หรื อ แวคิวโอลที่ทาหน้าที่เก็บอาหาร (food vacuoles)
  • 34. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต โครงสร้ าง - มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 – 1.0 ไมโครเมตร ยาวประมาณ 1-10 ไมโครเมตร - ถูกหุ้มด้วยเยื่อหุม 2 ชั้น ้ - เยื่อหุมชั้นนอก (outer membrane ) มีลกษณะผิวเรียบ โมเลกุลขนาดเล็ก ้ ั สามารถผ่านได้ แต่โมเลกุลขนาดใหญ่ไม่สามารถผ่านได้ - เยื่อหุมชั้นใน (inner membrane) ผนังเยื่อหุ้มจะพับเป็ นรอยจีบยื่นเข้าไปข้าง ้ ในเรี ยกว่า คริ สตี(cristae) ห่อหุ้มของเหลวทีเ่ รี ยกว่า แมทริ กซ์ (matrix)ไว้ - ระหว่างเยื่อหุ้มชั้นใน และ เยื่อหุ้มชั้นนอก เรียกว่า ช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้ม เซลล์
  • 35. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต - คริ สตีและแมทริ กส์มีเอนไซม์ สาหรับการหายใจระดับเซลล์ (cellular respiration)และ เป็ นที่สังเคราะห์ ATP - มีไรโบโซม และDNAเป็ นของตัวเอง - มีจานวนเพียง 1 อัน หรื อ เป็ นหลาย ๆ พันในเซลล์ เช่น ในเซลล์ตบ จะมี ั ไมโทคอนเดรียมากถึง 2,500อันต่อเซลล์ - ไมโทคอนเดรี ยภายในเซลล์ปกติจะมีการเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงรู ปร่ าง และเพิ่ม จานวนของตัวมันเอง • หน้าที่ เป็ นที่สาหรับการหายใจระดับเซลล์ ซึ่งการหายใจระดับเซลล์ (cellular respiration) คือ กระบวนการที่พลังงานเคมีของ คาร์โบไฮเดรตถูก เปลี่ยน เป็ น ATP ซึ่งเป็ นตัวให้ พลังงานภายในเซลล์ ซึ่งสามารถเขียนเป็ น สมการได้ดงนี้ ั
  • 37. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต โครงสร้ าง - พบในเซลล์พช สาหร่าย และ ไซยาโนแบคทีเรีย (cyanobacteria) ื - มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4-6 ไมโครเมตร ยาวประมาณ 1-5 ไมโครเมตร - คลอโรพลาสต์ เป็ น พลาสติด ชนิดหนึ่ง พลาสติด เป็ นออร์แกเนลล์ ที่พบ ในพืช ซึ่งได้แก่ 1) อะไมโลพลาสต์ (amyloplast) เป็ นพลาสติด ที่ไม่มีสี พบที่รากและส่วน หัวของพืช ทาหน้าที่เก็บสะสมแป้ ง 2) โครโมพลาสต์ (chromoplast) มีรงควัตถุ สีแดง และสีส้มบรรจุอยูให้สี ่ แดงและสีส้ม แก่ผลไม้ ดอกไม้ และใบไม้ในฤดูใบไม้ร่วง 3) คลอโรพลาสต์ (chloroplast) มี รงควัตถุ สีเขียวเรี ยกว่า คลอโรฟิ ลล์ (chlorophyll) มีเอนไซม์ และโมเลกุลอื่น ๆ ที่จาเป็ นสาหรับ การ สังเคราะห์ดวยแสง พบในใบและส่วน อืน ๆ ของพืชที่มีสีเขียว ้ ่
  • 38. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต - มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น คือ เยื่อหุ้มชั้นนอก และเยื่อหุ้มชั้นใน - ภายในคลอโรพลาสต์ ประกอบด้วย ถุงแบน ๆ ทีเ่ กิดจากเยื่อหุ้มชั้นใน เรี ยกว่า ไทลาคอยด์ (thylakoid) วางซ้อนทับกันอยู่เป็ นกอง ๆ ซึ่งแต่ละกอง ของไทลาคอยด์ เรี ยกว่า กรานัม (granum)ของเหลวที่บรรจุอยู่รอบ ๆ ไทลา คอยด์ เรี ยกว่า สโตรมา (stroma) ซึ่งจะมี DNA ไรโบโซมของคลอโรพลาสต์ และเอนไซม์ที่ใช้ในการ สังเคราะห์คาร์โบไฮเดรต - คลอโรฟิ ลล์ อยู่ที่ เยื่อหุ้มไทลาคอยด์ (thylakoid membrane) • หน้าที่ - เป็ นที่เกิดกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสง (photosynthesis) ้ - การสังเคราะห์ดวยแสง คือ กระบวนการที่พลังงานแสงถูก ้ เปลี่ยนเป็ นพลังงานเคมีเป็ น คาร์โบไฮเดรต โดยสามารถเขียนเป็ นสมการได้ดงนี้ ั • พลังงานแสง + CO2+ H2O C6H12O6 + O2
  • 40. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต โครงสร้ าง - เป็ นร่ างแห ตาข่ายของเส้นใยโปรตีนที่แผ่ขยายปกคลุมอยู่ทว ั่ ไซโทพลาสซึม - ทาหน้าที่คงรู ปร่ างของเซลล์ โดยทาให้เซลล์ทนต่อแรงอัดจากภายนอก - เส้นใยโปรตีนที่ประกอบเป็ นสารโครงร่ างเซลล์ มี 3 ชนิด คือ ไมโครทูบูล ไมโครฟิ ลาเมนต์ และ อินเตอร์ มีเดียฟิ ลาเมนต์
  • 42. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต ไมโครทบล (microtubule) ู ู ท่อไมโครทูบูล
  • 43. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต โครงสร้ าง - ไมโครทูบูล (microtubule) เป็ นแท่งกลวง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 นาโนเมตร ยาว 200 นาโนเมตร – 25 นาโนเมตร - ประกอบด้วยโปรตีนก้อนกลม (globular protein) ชื่อว่าทูบูลิน (tubulin) ซึ่ง มี 2 หน่วยย่อย คือ แอลฟาทิวบูลิน (alpha – tubulin) และบีตาทูบูลิน (beta – tubulin) - เซนโทรโซม (centrosome) เป็ นศูนย์ควบคุมการประกอบไมโครทูบูล ซึ่งอยูใกล้ ๆ ่ กับนิวเคลียส ภายในบริเวณ เซนโทรโซมจะพบเซนทริ โอล จานวน 1 คู่ เซนทริ โอล 1 อัน มีรูปร่างเป็ นทรงกระบอก ประกอบด้วยท่อไมโครทูบูล 3 ท่อ จานวน 9 ชุด มาเรียง ตัวกันเป็ นวงแหวน ตรงกลางไม่มีท่อ ทูบูลิน เรียกโครงสร้างแบบนี้ว่า 9 + 0 - เซนทริโอล คู่น้ ี จะวางตั้งฉากกันและเกียวข้องกับการแยกโครโมโซมระหว่างการ ่ แบ่งตัวของเซลล์ - เซนโทรโซม ในเซลล์พืชส่วนใหญ่ไม่มีเซนทริ โอล
  • 44. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต การจัดเรี ยงตัวของไมโครทูบลในแฟลเจจลาและเบซัลบอดี ู ที่มีโครงสร้างคล้ายเซนทริ โอล
  • 45. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต หน้ าทีของ ไมโครทูบูล ่ - ช่วยรักษารู ปร่ างของเซลล์ ไมโครทูบูล เปรี ยบเสมือนแท่งเหล็กที่ทน ต่อแรงอัดภายนอก - ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวของซิเลีย และแฟลเจลลา ซึ่งส่งผลให้เซลล์ที่ มีซิเลีย หรื อแฟลเจลา เป็ นส่ วนประกอบเกิดการเคลื่อนที่ได้ (ไมโคร ทูบูลในซิเลีย และแฟลเจลลา จะมีการเรี ยงตัวแบบ 9+2 ซึ่งประกอบด้วย ไมโครทูบูล 2 ท่อ จานวน 9 ชุด จัดเรี ยงตัว เป็ นวงแหวนโดยตรงกลาง มี ท่อไมโครทูบูลจานวน 2 ท่อวางอยู่ - ช่วยในการแยกโครโมโซมระหว่างเซลล์กาลังแบ่งตัว - ช่วยในการเคลื่อนที่ของออร์ แกเนลล์
  • 46. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต เซนทริโอล โครงสร้ างแฟลเจลลา การโบกพัดซีเลียของพารามีเซียม
  • 47. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต ไมโครฟิ ลาเมนต์ (microfilament or actin filament) เส้ นใยไมโครฟิ ลาเมนต์ ไมโครฟิ ลาเมนต์ (สี เขีย ว) ช่ วยคงรูปร่ างของเซลล์
  • 48. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต • โครงสร้ าง - เป็ นเส้นใยขนาดบาง และยาวมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7 นาโนเมตร - ประกอบด้วยโปรตีนก้อนกลม ชื่อว่า แอคทิน (actin) โดย ไมโครฟิ ลาเมนต์ 1 เส้น ประกอบด้วย 2 สายของแอคทิน ที่พนกันเป็ นเกลียว ั • หน้าที่ - ช่วยรักษารู ปร่ างของเซลล์ โดยไมโครฟิ ลาเมนต์จะทาให้เซลล์ทนต่อแรงดึง - มีบทบาทสาคัญในการหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อ โดยมีไมโอซิน เป็ น มอเตอร์ โมเลกุล (motor molecule) - เป็ นส่ วนประกอบใน ไมโครวิลไล (microvilli) ของ เซลล์บุผิวภายในลาไส้ (intestinal cell) ทาหน้าที่เพิ่มพื้นที่ผิวให้แก่เซลล์บผิวภายในลาไส้ ุ - มีบทบาทในการเคลื่อนที่แบบอะมีบา (amoeboid movement) ของเซลล์ และทาให้เกิดรอยแยก สาหรับเซลล์ที่กาลังแบ่งตัว - เกียวข้องกับการไหลเวียนของไซโทพลาซึม ในเซลล์พืช (cytoplasmic ่ streaming)
  • 49. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต อินเตอร์ มีเดียท ฟิ ลาเมนต์ (intermediate filament) เส้ นใยอินเตอร์มีเดียทฟิ ลาเมนต์
  • 50. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต • โครงสร้ าง - เป็ นเส้ นใยโปรตีนที่มีขนาดใหญ่กว่าไมโครฟิ ลาเมนต์ แต่เล็กกว่าไม โครทูบล ู - ประกอบด้ วยโปรตีนที่อยู่ในกลุ่มเคอราติน (keratin family) • หน้ าที่ - ช่วยรักษารูปร่ างของเซลล์อินเตอร์ มี เดียท ฟิ ลาเมนต์ ทนต่อแรงดึง ภายนอก เช่นเดียวกับ ไมโครฟิ ลาเมนต์ - ช่วยยึดออร์ แกเนลล์ บางอย่างให้ อยู่กบที่ เช่น นิวเคลียสถูกยึดให้ อยู่ ั ในกรงที่ทาด้ วย อินเตอร์ มี เดียท ฟิ ลาเมนต์ - สร้ าง นิวเคลียร์ ลาร์ มินาร์ (nuclear larninar)
  • 51. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต โครงสร้ างผิวเซลล์ (cell surface structure) คือ โครงสร้างที่อยู่ถดออกมาจากเยื่อหุมเซลล์ เช่น ผนังเซลล์ ั ้ (cell wall) ที่พบใน เซลล์พืช รา สาหร่ ายและแมทริ กซ์นอกเซลล์ ( extracellular matrix) ที่พบในเซลล์สัตว์
  • 53. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต โครงสร้ าง - ช่วยในการคงรู ปร่ างของเซลล์พืช แบ่งออกเป็ น 1. ผนังเซลล์ขนแรก (primary cell wall) ซึ่งประกอบด้วย ้ั เซลลูโลส ระหว่างผนังเซลล์ ขั้นแรก คือ ลาเมลลา (middle lamella) ซึ่งมี เพคติน (pectin) บรรจุ อยู่ช่วยยึดเซลล์ให้อยู่ติดก ัน 2. ผนังเซลล์ขนที่สอง (secondary cell wall) อยู่ระหว่างเยื่อ ้ั หุมเซลล์ และ ผนังเซลล์ ขั้นแรก แข็ง และทนทานกว่า ผนังเซลล์ข้นแรก ้ ั มักพบลิกนินเป็ น ส่ วนประกอบผนังเซลล์ข้นที่สองนี้ มักพบในไม้เนื้อ ั แข็ง
  • 54. แมทริกซ์ นอกเซลล์ หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต • ส่ วนใหญ่เป็ นไกลโคโปรตีน (glycoprotein) ซึ่งได้แก่ 1) คอลลาเจน (collagen) 2) โพรทีโอไกลแคน (proteoglycan) 3) ไฟโบรเนคติน(fibronectin) • หน้ าที่ ทาหน้าที่เชื่อมต่อก ับบริ เวณรับของอินทีกริ น (integrin receptor) ในเยื่อหุมเซลล์และอินทีกริ นก็เชื่อมต่อก ับ ไซโทสเกเลตัน ทา ้ ให้เกิดการประสานระหว่าง แมทริ กซ์นอกเซลล์ และไซโทพลาซึม ภายในเซลล์ข้น ึ
  • 55. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต โครงสร้ างเชื่ อมต่ อระหว่ างเซลล์ (junction between cells)
  • 56. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต - พลาสโมเดสมาตา (plasmodesmata) ในเซลล์พืช ช่วยให้ไซโทพลาสซึมระหว่างเซลล์แพร่ ถงก ัน ทาให้สารต่าง ๆ ใน ึ ไซโทพลาสซึมเกิดการแลกเปลี่ยนก ันระหว่างเซลล์ - ไทท์จงชัน (tight junction) ในเซลล์สัตว์ ั เป็ นโครงสร้างที่เกิดจากเยื่อหุมเซลล์ที่อยู่ติดก ันเกิดการรวมตัวก ัน ้ ป้ องก ันการรั่วไหลของ ของเหลวภายในเซลล์และนอกเซลล์เข้าหาก ัน
  • 57. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต - เดสโมโซม (desmosome) ใน เซลล์สัตว์ > ทาหน้าที่ตรึ งเซลล์เข้าด้วยก ัน โดยมี อินเตอร์ มีเดียทฟิ ลาเมนต์ช่วย เพิมความแข็งแรงให้แก่ เดสโมโซม ่ - แกพจังชัน (gap junction) ในเซลล์สัตว์ > เป็ นช่องที่เกิดขึ้นระหว่างเซลล์ที่อยู่ติดก ัน > ทาให้สารและโมเลกุลสามารถเคลื่อนที่จาก เซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์ หนึ่ง > กระแสไฟฟ้ า สามารถเคลื่อนที่จากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง โดย ผ่านทางแกพจังชัน
  • 58. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต หน้าที่ของเซลล์ • 1. การเจริญและการสืบพันธุ์ (growth and reproduction) เป็ นหน้าที่ที่สาคัญ ที่สุด ของสิ่ งมีชีวตคือ มีความสามารถในการเพิ่มจานวนในการสื บพันธุ์ มี ิ การเจริ ญเติบโตและ เพิ่มขนาดของเซลล์ • 2. การหายใจ ( respiration ) มีกระบวนการที่สลายสารอาหารชนิดต่าง ๆ เพื่อสร้างพลังงานในการดารงชีวตโดยการใช้หรื อไม่ใช้ออกซิเจนมาร่ วมใน ิ ปฏิกริยาการหายใจระดับเซลล์ ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ิ • 3. การขับถ่ ายและการหลังสาร ( excretion and secretion ) เซลล์ทวไปมีการ ่ ั่ ขับถ่ายยูเรีย และเซลล์ต่อมขับถ่ายเหงื่อนอกจากนี้เซลล์บางชนิดมี ความสามารถในการสร้างและหลังสารทีถูกผลิต ภายในเซลล์ออกสู่ ่ ่ ภายนนอกเซลล์สารต่าง ๆ ได้แก่ พวกออร์โมน เอนไซม์ น้าย่อยชนิดต่าง ๆ ของระบบต่าง ๆ
  • 59. หน้าทีของเซลล์ ่ หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต • 4. การดูดซึม ( absorption ) เซลล์มีความสามารถในการดูดซึมหรื อเก็บ กินสิ่ งต่าง ๆ ที่อยู่ภายนอกเซลล์เช่นการกินเชื้อโรคของเม็ดเลือดขาว • 5. การเปลียนรู ปร่ าง เซลล์สามารถเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างตลอดจนมีการ ่ เคลื่อนไหว เช่นการหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อ • 6. การตอบสนอง เซลล์มีความสามารถในการตอบสนองต่อสิ่ งเร้าที่มา กระตุน เช่น พวกเซลล์ประสาท เซลล์รับความรู ้สึก ้ • 7. การส่ งผ่ านสาร ( conductivity ) เซลล์มีความสามารถในการส่ งผ่าน ้ ้ สิ่ งกระตุนต่อไป ซึ่งเป็ นคุณสมบัติที่พบในบริ เวณเยื่อหุมเซลล์ของเส้น ใยประสาทและเซลล์กล้ามเนื้อชนิดต่าง ๆ
  • 60. หน้าทีของเซลล์ ่ แหล่งอ้างอิง ปรี ชา สุ รรณพินิจ และ นงลักษณ์ สุ วรรณพินิจ. ม.ป.ป. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1.บริ ษทไฮเอ็ดพับลิชชิงจาก ัด: กรุ งเทพมหานคร ั ่ สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี. 2548. หนังสือเรียน สาระการเรียนรู้ พนฐานและเพิมเติม ชีววิทยา เล่ม 5. ื้ ่ บริ ษทศิริวฒนาอินเตอร์พริ้ น จาก ัด (มหาชน): กรุ งเทพมหานคร. ั ั มีชย ศรี ใส. (2526). Neuroanatomy : ประสาทภายวิภาคศาสตร์ . ั (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุ งเทพฯ : คณะแพทยศาสตร์ จุฟาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
  • 61. หน่ วยของสิ่ งมีชีวิต ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย รัฐพงค์ นาย อนิรุทธ์ วงศ์จนทร์ ทิพย์ เลขที่ 28 ั ยศแสน เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง7 ชั้น ม.6 ห้อง7