SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทสื่อการสอน
จัดทาโดย
นางสาวนทีรัตน์ เชิญธงไชย เลขที่ 31 นางสาวปทิตตา เศรษฐกิจ เลขที่ 35
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 7
เสนอ
คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จานวน
มากมายมหาศาลมาอยู่ร่วมกันเป็นระบบเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งการทางาน
ของเซลล์ต่าง ๆ ก็ต้องอาศัยสภาพแวดล้อมที่มีความเหมาะสมต่อเซลล์ด้วย
ดังนั้นในโครงสร้างร่างกายของสิ่งมีชีวิตจึงจาเป็นต้องมีระบบการรักษาดุลยภาพ
ของสารต่าง ๆ เพื่อช่วยควบคุมปริมาณสารต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมต่อการ
ทางานของเซลล์อยู่เสมอ โดยระบบการรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุของพืช
สัตว์ต่าง ๆ รวมถึงมนุษย์จะมีความแตกต่างกัน
น้าและแร่ธาตุ
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
น้าและแร่ธาตุ
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
พืช
สัตว์
การรักษาดุลยภาพของน้าในพืช
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่ดารงชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อม โดยอาศัยแร่ธาตุและ
น้าจากสิ่งแวดล้อม เป็นวัตถุดิบในการสังเคราะห์อาหารด้วย
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเพียง 1-2% เท่านั้น ส่วนน้าที่เหลือ
ประมาณ 98-99% จะถูกขับออกจากต้นพืชด้วยการคายน้าทางใบ
ในรูปของไอน้าที่ระเหยออกจากปากใบ (stomata)เพื่อให้เกิดแรง
ดึงจากการคายน้าทาให้สามารถลาเลียงน้าจากรากพืชไปสู่ส่วนยอดได้
และยังใช้สาหรับรักษาความสมดุลของระบบต่าง ๆ ในต้นพืช บางส่วน
อาจสูญเสียออกไปทางผิวใบ ส่วนของลาต้นที่เป็นเนื้อเยื่ออ่อน ๆ และ
ตามรอยแตกหรือรูเล็ก ๆ ตามลาต้น
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การเปิดและปิดปากใบเกิดขึ้นเนื่องจากความเต่งของเซลล์คุม โดย
เมื่อในต้นพืชมีน้าอยู่มาก น้าจากเซลล์ต่าง ๆ รอบเซลล์คุมจะแพร่เข้าสู่
เซลล์คุม ทาให้เซลล์คุมเต่งเนื่องจากมีปริมาณน้ามาก ผนังของเซลล์
คุมจึงยืดออกดึงให้ผนังส่วนที่หนางอตัวแยกออกจากกันส่งผลให้ปาก
ใบเปิดออก แต่ในกรณีที่ใบต้นพืชขาดแคลนน้า น้าจากเซลล์คุมจะแพร่
ออกสู่เซลล์ต่าง ๆ ที่อยู่รอบเซลล์คุม เซลล์คุมจึงหดตัวไม่สามารถดึง
ผนังส่วนที่หนาแยกออกจากกันได้ ส่งผลให้ปากใบปิดลง
การรักษาดุลยภาพของน้าในพืช
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
การเปิดของปากใบขึ้นอยู่กับความเต่งของเซลล์คุม ในช่วงเวลากลางวัน เซลล์คุม
ซึ่งมีคลอโรพลาสต์อยู่ภายใน จะมีกระบวน การสังเคราะห์แสงเกิดขึ้น ทาให้ภายใน
เซลล์คุมมีระดับน้าตาลสูงขึ้น
น้าจากเซลล์ใกล้เคียงจะเกิดการออสโมซิสผ่านเข้า เซลล์คุม ทาให้เซลล์คุมอยู่ใน
สภาพเต่ง ปากใบจึงเปิด ทาให้เกิดช่องว่างตรงกลางซึ่งพืชสามารถคายน้าออกมา
ทางปากใบ และ เมื่อระดับน้าตาลลดลงเนื่องจากไม่มีกระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสง น้าก็จะออสโมซิสออกจากเซลล์คุม หรือระดับที่พืช สูญเสียน้ามาก จะทาให้
เซลล์คุมมีลักษณะลีบลง ปากใบจึงปิด
การปิดเปิดของปากใบพืชมีผลต่อการคายน้าของพืช ปากใบจึง เปรียบเสมือนประตู
ควบคุมปริมาณน้าภายในต้นพืช
การปิดเปิดของปากใบ
การรักษาดุลยภาพของน้าในพืช
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
การปิดเปิดของปากใบ
การรักษาดุลยภาพของน้าในพืช
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
1.) แสงสว่าง ถ้ามีความเข้มข้นแสงมาก ปากใบจะเปิดได้กว้าง พืชจะคายน้าได้
มาก
2.) อุณหภูมิ เป็นปัจจัยทือิทธิพลควบคู่กับแสงสว่างเสมอ ถ้าอุณหภูมิใน
บรรยากาศสูง พืชจะคายน้าได้มากและรวดเร็ว
3.) ความชื้นในบรรยากาศ ถ้าบรรยากาศมีความชื้นสูงจะคายน้าได้น้อย พืชบาง
ชนิดจะกาจัดน้าออกมาในรูปของหยดน้า ทางรูเปิดเล็กๆ ตามรูเปิดของเส้นใบ
เรียกว่า การคายน้าเป็นหยดหรือ กัตเตชัน ( guttation ) และถ้าในบรรยากาศมี
ความชื้นน้อย พืชจะคายน้าได้มากและรวดเร็ว
ปัจจัยการปิดเปิดของปากใบ
การรักษาดุลยภาพของน้าในพืช
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
4.) ลม ลมจะพัดพาเอาความชื้นของพืชไปที่อื่น เป็นสาเหตุให้พืชสูญเสียน้ามากขึ้น
ในภาวะที่ลมสงบไอน้าที่ระเหยออกไปจะ คงอยูในบรรยากาศใกล้ๆ ใบ บรรยากาศ
จึงมีความชื้นสูงพืชจะคายน้าได้ลดลง แต่ถ้าลมพัดแรงมากพืชจะปิดหรือหร่แคบลง
มีผลทาให้การคายน้าลดลง
5.) ปริมาณน้าในดิน ถ้าสภาพดินขาดน้า หรือปริมาณน้าในดินน้อย พืชไม่สามารถ
นาไปใช้ได้เพียงพอ ปากใบของพืชจะปิด หรือแคบหรี่ลง มีผลทาให้การคายน้าลดลง
6.) โครงสร้างของใบ ตาแหน่ง จานวน และการกระจายของปากใบ รวมถึงความ
หนาของคิวมิเคิล ( สารเคลือบผิวใบ ) ลักษณะเหล่านี้มีผลต่อการคายน้าของพืช
อ้างอิง - http://environment.ekstepza.ws/life-equilibrium.html
ปัจจัยการปิดเปิดของปากใบ
การรักษาดุลยภาพของน้าในพืช
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของสัตว์
สัตว์แต่ละชนิดจะมีกลไกการรักษาดุลยภาพของน้าในร่างกาย เพื่อให้ร่างกาย
อยู่ในสภาวะสมดุลและเหมาะสมต่อการดารงชีวิต เนื่องจากน้าในร่างกายของ
สิ่งมีชีวิตจะมีความสัมพันธ์กับความเข้มข้นของแร่ธาตุ และสารต่าง ๆ ที่ละลายอยู่
ในน้า ดังนั้นการรักษาดุลยภาพของน้าในร่างกายจึงมีความเกี่ยวข้องกับการรักษา
ดุลยภาพของเกลือแร่ และสารต่าง ๆ ในร่างกายด้วยเช่นกัน
การเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้าในส่วนต่าง ๆ ของร่างกายจะส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของแร่ธาตุและสารต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งจะมีผลกระทบ
ต่อเนื่องไปถึงดุลยภาพในการลาเลียงสารในระดับเซลล์ด้วย ดังนั้น การรักษาดุลย-
ภาพของน้าและแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิต จึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยในสัตว์บาง
ชนิดอาจจะมีระบบการรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุในร่างกายที่แตกต่างกัน
ได้ ดังนี้
สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว หรือโพรโทซัวที่อาศัยในน้าจืด ได้แก่
อะมีบา พารามีเซียม เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างภายในเซลล์ที่ไม่
ซับซ้อน จะใช้วิธีการรักษาปรับสมดุลของน้าและของเสียที่เกิดขึ้นใน
เซลล์ เช่น แอมโมเนียและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยการแพร่ผ่าน
เยื่อหุ้มเซลล์ออกไปสู่สิ่งแวดล้อมโดยตรง นอกจากนี้ภายในเซลล์ยังมี
โครงสร้างที่เรียกว่า คอนแทรกไทล์ แวคิวโอล (contractile
vacuole) ซึ่งมีหน้าที่กาจัดสารละลายของเสียและน้าออกสู่
ภายนอกเซลล์ด้วยวิธีการลาเลียงแบบ เอกโซไซโทซิส ทาให้สามารถ
รักษาดุลยภาพของน้าไว้ได้
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของสัตว์
สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของปลาน้าจืด
เนื่องจากสัตว์น้าจืดอาศัยอยู่ในน้าที่มีความเข้มของสารละลาย
ต่ากว่าภายในร่างกาย ทาให้น้าจากภายนอกร่างกายสามารถออสโม
ซิสเข้าสู่ภายในร่างกายได้มาก ปลาน้าจืดจึงต้องมีผิวหนังและเกล็ด
ป้องกันการซึมเข้าของน้า มีการขับปัสสาวะบ่อยและเจือจาง และมี
อวัยวะพิเศษที่เหงือกคอยดูดเกลือแร่ที่จาเป็นคืนสู่ร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
เมื่อมีน้าที่ผ่านเข้าร่างกายของปลาอยู่ตลอดเวลาจะทาให้ปลา
เกิดการสูญเสียเกลือแร่ ไปทางผนังที่บางของเหงือก ดังนั้นปลาน้า
จืดจะพยายามไม่ดื่มน้าและไม่ให้น้าซึมเข้าทางผิวหนังหรือเกล็ด แต่
ปลายังมีบริเวณที่น้าสามารถ ซึมเข้า ไปได้ คือ บริเวณเหงือกซึ่ง
สัมผัสกับน้าตลอดเวลา ดังนั้นปลาจึงต้องขับน้าออกทางไตเป็นน้า
ปัสสาวะ ซึ่งเจือจาง และมี ปริมาณมาก และปลาจะมีเซลล์สาหรับ
ดูดซับเกลือ ( salt absorbing cells ) อยู่ที่เยื่อบุผิวของ
เหงือก ซึงจะ ดูดซับเอาไอออนของเกลือจากน้าเข้าไปในเลือด ซึ่งจะ
เป็นการทดแทนเกลือแร่ที่สูญเสียไปจากการแพร่ออก
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของปลาน้าจืด
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของปลาน้าจืด
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
ปลาทะเล จะมีลักษณะตรงข้ามกับปลาน้าจืด คือ ปริมาณน้าภายในร่างกาย
เจือจางกว่าน้าภายนอกร่างกาย เมื่อกินอาหารจึง กินน้าทะเลเข้าไปด้วย ทาให้มี
เกลือแร่ในร่างกายมาก ดังนั้นเกล็ดและผิวหนัง แทนที่จะป้องกันการซึมของน้ากลับ
ป้องกันเกลือแร่จากน้าทะเลซึมเข้าสู่ร่างกาย ส่วนเหงือก จะทาหน้าที่ขับเกลือที่มาก
เกินความจาเป็น ออกจากตัวด้วย กระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต ส่วนเกลือแร่ที่
ติดกับอาหารเข้าไปด้วยจะไม่ถูกดูดซึมเข้าสู่เซลล์ในขณะย่อยอาหาร จึงออกนอก
ร่างกายทางอุจจาระ ปลาบางพวกมีการปรับตัวและมีวิวัฒนาการเกี่ยวกับ ต่อม
เกลือ (salt gland) ได้ดี จึงสามารถอยู่ได้ทั้งในน้าทะเล น้ากร่อย และน้าจืด
เช่น ปลาหมอเทศ ในขณะที่ปลาส่วนใหญ่ถ้าเปลี่ยนน้าก็ อาจตายได้
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของปลาน้าเค็ม
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของปลาน้าเค็ม
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
[เพิ่มเติม]
ในสัตว์พวกที่มีแหล่งหากินในทะเลแต่ไม่ได้อาศัยอยู่ในทะเล จะมี
ต่อมขจัดเกลือออกจากร่างกาย เช่น พวกนกทะเล จะมีต่อมเกลือ
(salt gland) หรือ nasal gland อยู่บริเวณเหนือตาทั้งสองข้าง
เป็นต้น
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของปลาน้าเค็ม
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
นกหลายชนิดจะมีขนปกคลุม เพื่อป้องกันการสูญเสียน้า
เนื่องจากความร้อน และยังมีระบบการรักษาดุลยภาพของน้าด้วย
การขับออกในรูปปัสสาวะนอกจากนี้ยังพบว่านกทะเลที่กินพืชหรือ
สัตว์ทะเลเป็นอาหาร จะมีอวัยวะที่ทาหน้าที่กาจัดแร่ธาตุหรือเกลือ
ส่วนเกินออกไปจากร่างกาย เรียกว่า ต่อมเกลือ (salt gland) ซึ่ง
อยู่บริเวณหัวและจมูก โดยแร่ธาตุและเกลือจะถูกกาจัดออกในรูป
ของน้าเกลือ วิธีการรักษาสมดุลเช่นนี้จึงทาให้นกทะเลต่าง ๆ
สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ แม้จะบริโภคอาหารที่มีแร่ธาตุและเกลือสูง
เป็นประจา
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของสัตว์ปีก
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
สัตว์บกจะได้รับน้าจากการดื่มน้า และจากน้าที่เป็นส่วนประกอบในอาหาร
เช่น ในพืชผัก ผลไม้ ตลอดจนน้าที่อยู่ในเนื้อสัตว์ต่าง ๆ นอกจากนี้ยังได้รับน้าจาก
กระบวนการย่อยสลายสารอาหาร ตลอดจนการเผาผลาญสารอาหาร หากร่างกาย
ได้รับปริมาณมากเกินไป ร่างกายจะกาจัดน้าส่วนเกินออกในรูปของเหงื่อ ไอน้าใน
ลมหายใจ ปัสสาวะ และอุจจาระ โดยมีไตเป็นอวัยวะหลักที่ทาหน้าที่ควบคุมสมดุล
ของน้า และแร่ธาตุในร่างกาย
โครงสร้างที่ทาหน้าที่ควบคุมเกี่ยวกับการรักษาสมดุลน้าในร่างกายซึ่งเป็นส่วน
หนึ่งของระบบประสาทในสมองทางานประสานกันระหว่างระบบประสาท ฮอร์โมน
และปัจจัยต่างๆ ทาให้มีผลต่ออวัยวะเดียวกัน คือ ไต ร่วมกันทางานเพื่อรักษา
สมดุลของน้าในร่างกาย โดยการควบคุมน้านั้นอาศัยฮอร์โมนจากไฮโปทาลามัส
ชื่อ ADH และฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต ไปมีผลต่อการทางานของไต
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของสัตว์บก
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
ในร่างกายคนมีน้าอยู่ประมาณ 65%- 70% ซึ่งร่างกายจะต้องรักษาดุลย
ภาพนี้ไว้ การรักษาดุลยภาพของน้าในร่างกายทาได้โดยการควบคุมปริมาตรน้าที่
รับเข้าและที่ขับออกจากร่างกาย ซึ่งมีช่องทางและผ่านกระบวนการต่างๆ
ในของเหลวที่ร่างกายรับเข้าและที่ขับออกมานั้น นอกจากจะประกอบด้วยน้า
เป็นส่วนใหญ่ ยังมีเกลือแร่และสารต่างๆ อยู่ด้วย แม้ว่าสารเหล่านี้จะมีปริมาตร
น้อยนิดเมื่อเทียบกับปริมาตรของน้า แต่ก็มีความสาคัญอย่างยิ่ง และร่างกายต้อง
รักษาสมดุลต่างๆ ดังกล่าวไว้ให้ได้เพื่อให้ระบบต่างๆ ทางานได้อย่างปกติ อวัยวะ
สาคัญในการรักษาดุลยภาพของน้าและสารต่างๆ ในร่างกายคือไต ซึ่งมีโครงสร้าง
และการทางานร่วมกับอวัยวะอื่น
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของคน
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
กระหายน้า
แรงดันออสโมติกใน
เลือดสูงกว่าปกติ
(น้าในเลือดน้อย) ไฮโพทาลามัส แรงดันออสโมติก
ในเลือดปกติ
ต่อมใต้สมองส่วน
หลัง
หลั่ง ADH น้อย
กระตุ้นท่อ
หน่วยไตและ
ท่อรวมให้ดูด
น้ากลับ
ดื่มน้า
กระตุ้น
ร่างกายขาดน้า
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของคน
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
แรงดันออสโมติกใน
เลือดต่ากว่าปกติ
(น้าในเลือดมาก)
ไฮโพทาลามัส แรงดันออสโมติก
ในเลือดปกติ
ต่อมใต้สมองส่วน
หลัง
หลั่ง ADH มาก
กระตุ้นท่อ
หน่วยไตและ
ท่อรวมให้ขับ
น้าออก
กระตุ้น
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของคน
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
อ้างอิง
- http://environment.ekstepza.ws/animal-
equilibrium.html
-
https://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_ordinarycourse1/wiki
/ba86f/_2__.html
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของสัตว์
สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน
น้าและแร่ธาตุ
พืช
สัตว์
ความเป็นกรด-เบส
อุณหภูมิ
อุณหภูมิ
สัตว์เลือดเย็น
สัตว์เลือดอุ่น
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในสิ่งมีชีวิต
สัตว์ทุกชนิดจะมีการย่อยสลายอาหารต่าง ๆ ให้กลายเป็นโมเลกุลสารอาหาร
ขนาดเล็ก แล้วนาเข้าสู่ภายในเซลล์เพื่อไปใช้เผาผลาญให้เกิดเป็นพลังงานสาหรับการ
ดารง ชีวิตของสิ่งมีชีวิตและพลังงานความร้อนโดยพลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นส่วน
หนึ่งจะถูกถ่ายเทสู่สิ่งแวดล้อม และอีกส่วนหนึ่งจะถูกสะสมไว้ในร่างกายเพื่อรักษา
ความอบอุ่นของร่างกาย
อุณหภูมิในร่างกายของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะสามารถเปลี่ยนแปลงได้ โดย
สามารถเปลี่ยนแปลงไปได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระบบการควบคุมอุณหภูมิของ
สิ่งมีชีวิตนั้น ซึ่งถ้าหากจาแนกลักษณะของสิ่งมีชีวิตโดยอาศัยระบบการควบคุม
อุณหภูมิในร่าง กายเป็นเกณฑ์ จะสามารถจาแนกกลุ่มสิ่งมีชีวิตได้เป็น 2 ประเภท คือ
สัตว์เลือดเย็น และสัตว์เลือดอุ่น
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
น้าและแร่ธาตุ
ความเป็นกรด-เบส
สัตว์เลือดเย็น ได้แก่ งู ปลาและสัตว์เลื้อยคลานชนิดต่าง ๆ เป็นสัตว์ที่
ไม่สามารถรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ได้ เมื่ออากาศหรือ
สภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิร่างกายจะเปลี่ยนแปลงไปตาม สภาพ
อากาศด้วย เช่น เมื่อสภาพอากาศหนาวเย็น ร่างกายสัตว์เลือดเย็นก็จะมี
อุณหภูมิต่าไปด้วย เป็นต้น
อุณหภูมิของร่างกายที่ลดต่าลงจะมีผลทาให้กระบวนการทางานต่าง
ๆ ภายในร่างกายผิดปกติไปได้ สัตว์เลือดเย็นจึงต้องมีการปรับตัวด้วยการใช้
สภาพแวดล้อมเข้าช่วย เช่น การหนีความร้อนโดยวิธีหลบในรูหรือในโพรงไม้
การผึ่งแดดเพื่อให้อุณหภูมิภายในร่างกายสูงขึ้น การอพยพจากสภาพอากาศที่
ไม่เหมาะสมหรือการจาศีลให้พ้นจากฤดูหนาวหรือฤดูร้อน เป็นต้น
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในสัตว์เลือดเย็น
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
อุณหภูมิ
สัตว์เลือดเย็น
สัตว์เลือดอุ่น
น้าและแร่ธาตุ
ความเป็นกรด-เบส
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในสัตว์เลือดเย็น
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
อุณหภูมิ
สัตว์เลือดเย็น
สัตว์เลือดอุ่น
ความเป็นกรด-เบส
น้าและแร่ธาตุ
สัตว์เลือดอุ่น เช่น นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมต่าง ๆ และมนุษย์ เป็นสัตว์ที่
สามารถปรับอุณหภูมิภายในร่างกายให้มีดุลยภาพอยู่ได้ โดยวิธีการรักษาอุณหภูมิ
ภายในร่างกายของสัตว์เลือดอุ่น อาจเกิดขึ้นจากลักษณะโครงสร้างทางร่างกาย หรือ
การทางานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย และจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดังนี้
1) การรักษาอุณหภูมิโดยอาศัยโครงสร้างของร่างกาย โดยสัตว์เลือดอุ่นจะ
มีการพัฒนาโครงสร้างของผิวหนังเพื่อป้องกันการสูญเสีย ความร้อนของร่างกายจาก
สภาวะแวดล้อมที่มีอุณหภูมิต่า เช่น การมีชั้นไขมันหนาอยู่ใต้ชั้นผิวหนัง การมีขนปก
คลุมร่างกาย หรือการมีโครงสร้างเพื่อลดความร้อนของร่างกายจากสภาวะที่มี
อุณหภูมิสูง เช่น มีต่อมเหงื่อและรูขุมขนตามร่างกาย สาหรับระบายความร้อน เป็นต้น
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในสัตว์เลือดอุ่น
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
อุณหภูมิ
สัตว์เลือดเย็น
สัตว์เลือดอุ่น
ความเป็นกรด-เบส
น้าและแร่ธาตุ
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในสัตว์เลือดอุ่น
อุณหภูมิ
สัตว์เลือดเย็น
สัตว์เลือดอุ่น
ความเป็นกรด-เบส
น้าและแร่ธาตุ
2)การรักษาอุณหภูมิโดยอาศัยการทางานของระบบต่าง ๆ ภายใน
ร่างกาย เป็นการตอบสนองต่ออุณหภูมิที่เกิดจากการทางานร่วมกันของระบบต่าง ๆ
ภายในร่างกาย โดยมีศูนย์กลางการควบคุมอุณหภูมิอยู่ที่สมองส่วนไฮโพทาลามัส ซึ่ง
กระบวนการทางานภายในร่างกาย เพื่อตอบสนองต่ออุณหภูมิจะมีลาดับขั้นตอนการ
ทางาน ดังนี้
ถ้าอุณหภูมิในร่างกายสูงเกินไป
1.เลือดจะไหลออกมาที่พื้นผิวหนังน้อย
2.เหงื่อจะถูกขับออกมาเพื่อทาให้
ร่างกายเย็นลง ขณะที่ถูกขับออกไป
3. ขนจะลุกตั้งชันเพื่อดับอากาศ ทา
หน้าที่ให้เป็นฉนวน
ถ้าอุณหภูมิในร่างกายต่าเกินไป
1.ปริมาณเลือดจะถูกขับออกมาที่
พื้นผิวของผิวหนัง
2. กล้ามเนื้อจะสั่นเพื่อสร้างความร้อน
3. ผม เส้นขน จะอยู่ในลักษณะราบกับ
ผิวหนังอีออนของน้าและเกลือจะ
สูญเสียไปในขณะที่เหงื่อออกตอนที่
อากาศร้อน ดังนั้นจาเป็นต้องมีการ
ทดแทนโดยการดื่มน้าหรืออาหาร
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในสัตว์เลือดอุ่น
อุณหภูมิ
สัตว์เลือดเย็น
สัตว์เลือดอุ่น
ความเป็นกรด-เบส
น้าและแร่ธาตุ
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในสัตว์เลือดอุ่น
อุณหภูมิ
สัตว์เลือดเย็น
สัตว์เลือดอุ่น
ความเป็นกรด-เบส
น้าและแร่ธาตุ
3) การรักษาอุณหภูมิโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในกรณี
ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง การรักษา
อุณหภูมิโดยโครงสร้างของร่างกายและการทางานของระบบต่าง ๆ
ภายในร่างกายไม่เพียงพอต่อการรักษาอุณหภูมิภายในร่างกาย สัตว์
ต่าง ๆ จึงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางอย่าง เพื่อให้สามารถใช้
สภาพแวดล้อมเข้ามาช่วยในการรักษาอุณหภูมิภายในร่างกาย เช่น การ
นอนแช่น้า การอพยพไปสู่พื้นที่มีอุณหภูมิเหมาะสมกว่า การใส่เสื้อกัน
หนาวของมนุษย์ เป็นต้น
อ้างอิง - http://vichakarn.triamudom.ac.th/comtech/studentproject/final55/345/html/homeostasis_content.html
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในสัตว์เลือดอุ่น
อุณหภูมิ
สัตว์เลือดเย็น
สัตว์เลือดอุ่น
ความเป็นกรด-เบส
น้าและแร่ธาตุ
ทางเคมี
ทางการหายใจ
ทางไต
การควบคุมกรด - เบส
หมายถึง การควบคุมความเข้มข้นของ ไฮโดรเจนไอออนของน้าในร่างกายหรือ
เลือดให้มีค่าคงที่ เพื่อให้เหมาะกับการทางานของเอนไซม์และปฏิกิริยาต่างๆใน
ร่างกาย การที่ของเหลวในร่างกายหรือในเซลล์ จะมีโฮโดรเจนไอออนมากหรือน้อยนั้น
เกิดจากการแตกตัวของโฮโดรเจนไอออนจากกรดชนิดต่างๆ ถ้ามีโฮโดรเจนไอออน
เข้มข้นมากค่า pH จะต่าแสดงสภาพเป็นกรด แต่ในทางตรงกันข้ามถ้าของเหลวนั้นมี
โฮโดรเจนไอออนเข้มข้นน้อยค่าpH จะสูงแสดงสภาพเป็นเบส ซึ่งสารที่ให้ความ
เข้มข้นของไฮโดรเจนไอออนต่าลงได้แก่ สารไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน ฟอตเฟต
ไอออนและไฮดรอกไซด์อไออน ซึ่งร่ายกายของเรามีกลไกควบคุมกรด – เบส อยู่ 3 วิธี
ได้แก่ ความคุมด้วยวิธีทางเคมี ทางการหายใจ ทางไต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
น้าและแร่ธาตุ
อุณหภูมิ
ความเป็นกรด-เบส
การควบคุมภาวะกรด – เบสด้วยวิธีทางเคมี
หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า บัฟเฟอริง (buffering) ระบบ
บัฟเฟอร์ (บัฟเฟอร์คือสารละลายกรดอ่อนหรือเบสอ่อนซึ่งสามารถลด
การเปลี่ยนแปลงของ pH ในภาวะที่ได้รับกรดหรือเบสได้ ทาให้ pH
เปลี่ยนแปลงไม่มาก เหมือนกับที่พบในการเติมกรดหรือเบสลงไปใน
น้าเปล่า) จะป้องกันการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรด – เบสของร่างกาย
ไม่ให้รวดเร็วเกินไปกรด – เบส บัฟเฟอร์ ประกอบด้วยกรดอ่อนและ
เบสอ่อน เป็นคู่ๆ ซึ่งจะ แตกตัว(Ionized) ได้เกลือของกรดหรือเบส
อย่างเดียวกัน ทาให้กรดแก่ หรือ เบสแก่เจือจางลง
การควบคุมกรด - เบส
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ทางเคมี
ทางการหายใจ
ทางไต
น้าและแร่ธาตุ
อุณหภูมิ
ความเป็นกรด-เบส
ระบบบัฟเฟอร์ช่วยให้สารละลายใดๆที่ทาให้มีค่าความเป็น กรด
เบส เกือบคงที่บัฟเฟอร์ที่สาคัญในเลือดได้แก่
1 ระบบบัฟเฟอร์โปรตีน สามส่วนสี่ ของบัฟเฟอร์ทั้งหมด ได้แก่ โปรตีน
ในพลาสมา ฮีโมโกลบิน
2 บัฟเฟอร์โฮโดรเจนเปอร์แมงกาเนต ประกอบด้วยโซเดียมไฮโดรเจน
คาร์บอเนต และกรดคาร์บอนิก
3 บัฟเฟอร์ฟอสเฟต ประกอบด้วยฟอสเฟตไอออน
การควบคุมภาวะกรด – เบสด้วยวิธีทางเคมี
การควบคุมกรด - เบส
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ทางเคมี
ทางการหายใจ
ทางไต
น้าและแร่ธาตุ
อุณหภูมิ
ความเป็นกรด-เบส
การเปลี่ยนแปลงอัตราการหายใจ โดยศูนย์ควบคุมการหายใจที่
สมองส่วนเมดุลลา-
ออบลองกาตา ถ้า pH ในเลือดต่าลงการหายใจเร็วขึ้น แต่ถ้า pH
สูงขึ้นอัตราการหายใจจะช้าลง ซึ่งการหายใจจะช่วยแก้ปัญหาความ
เป็น กรด เบส ในเลือดได้ 50-70 %
ความเป็นกรดในเลือดเกิดจากการรวมตัวของคาร์บอนไดออกไซด์กับ
น้าได้เป็นกรดคาร์บอนิก ซึ่งเป็นกรดอ่อน ดังสมการ 𝐶𝑂2 +𝐻2 𝑂 -
----> 𝐻2 𝐶𝑂3
การควบคุมภาวะกรด – เบสด้วยวิธีทางการหายใจ
การควบคุมกรด - เบส
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ทางเคมี
ทางการหายใจ
ทางไต
น้าและแร่ธาตุ
อุณหภูมิ
ความเป็นกรด-เบส
แม้ว่า 𝐻2 𝐶𝑂3 จะแตกตัวได้ง่ายและให้ไฮโดรเจนไอออนจานวนน้อยก็ตาม แต่
ก็มีอยู่เป็นปริมาณมากในร่างกาย จึงทาให้เกิดภาวะกรดได้มากเช่นเดียวกัน ดังนั้น
คาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้ออกมาจะถูกขับออกอย่างรวดเร็ว โดยการเพิ่มอัตราการ
หายใจ ดังนั้นกรดคาร์บอนิกซึ่งเป็นตัวทาให้เกิดไฮโดรเจนไอออนในเลือด ก็จะถูก
กาจัดออกไปได้อย่างรวดเร็ว ศูนย์ควบคุมการหายใจในเมดุลลา จะมีความไวมากต่อ
คาร์บอนไดออกไซด์และความเป็นกรดของเลือด ถ้ามีการเพิ่มขึ้นของอย่างใดอย่าง
หนึ่ง หรือทั้งสองอย่างก็จะทาให้มีการหายใจเพิ่มขึ้นเพื่อจะทาให้กลับเข้าสู่ภาวะปกติ
ได้เร็วขึ้น
การควบคุมภาวะกรด – เบสด้วยวิธีทางการหายใจ
การควบคุมกรด - เบส
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ทางเคมี
ทางการหายใจ
ทางไต
น้าและแร่ธาตุ
อุณหภูมิ
ความเป็นกรด-เบส
ไต มีบทบาทสาคัญในการรักษาความเป็นกรด-เบสของเลือด เมื่อ pH ของ
เลือดต่าเกินไป หน่วยไตจะขับสารที่มีส่วนประกอบของ 𝐻+ และแอมโมเนียม
ไอออน (𝑁𝐻4+
) ออกจากเลือด และในขณะเดียวกันก็จะเพิ่มการดูดกลับ
ไอออนบางประเภท ซึ่งลดความเป็นกรดของเลือด ได้แก่ โซเดียม
ไอออน (𝑁𝑎+) และไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน ส่วนเมื่อ pH ของเลือดสูง
เกินไปจะเกิดกระบวนการตรงข้าม โดยการขับ H(ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง)ทางไต มี
หลักการว่า มีกรดในร่างกายมากขับออกไปพร้อมกับปัสสาวะ ถ้าเป็นเบสในร่างกาย
มากก็ขับออกพร้อมกับปัสสาวะ
การควบคุมภาวะกรด – เบสโดยไต
การควบคุมกรด - เบส
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ทางเคมี
ทางการหายใจ
ทางไต
น้าและแร่ธาตุ
อุณหภูมิ
ความเป็นกรด-เบส
ไตจะสามารถควบคุม กรด - เบส โดยระบบบัฟเฟอร์ โดยการขับ
แอมโมเนียซึ่งมีอยู่ 3 วิธี ในการที่จะช่วยรักษา pH ของน้าภายนอก
เซลล์ไว้ได้ ดังนี้
1. ไตจะขับ 𝐻𝐶𝑂3
−
ออก
2. โดยการแลกเปลี่ยน (𝑁𝑎+ กับ 𝐻+ โซเดียมไอออนจะถูกดึง
กลับในท่อไตซึ่งจะแลกกลับ 𝐻+ และ 𝐻+ จะถูกขับออกทาง
ปัสสาวะซึ่งเป็นกรด ดังนั้นน้าภายนอกเซลล์จะมีความเป็นกรดน้อยลง
การควบคุมภาวะกรด – เบสโดยไต
การควบคุมกรด - เบส
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ทางเคมี
ทางการหายใจ
ทางไต
น้าและแร่ธาตุ
อุณหภูมิ
ความเป็นกรด-เบส
3. ไตจะสามารถสร้างแอมโมเนียได้ซึ่งเมื่อรวมกับ 𝐻+ ได้เป็น
แอมโมเนียไอออนในท่อไต ร่างกายจะมีแนวโน้มที่จะเกิดกรดได้
ค่อนข้างมาก เพราะมีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ และมีการคั่งของ
ของเสียจากเมแทบอลิซึม นอกจากนี้ภาวะกรดอาจเกิดจากการขาด
อาหารหรือ เบาหวานก็ได้ เนื่องจากการนาเอาไขมันมาใช้กรดจะถูกทา
ให้เจือจางลงโดยบัฟเฟอร์ ที่อยู่ในเลือดและของเหลว ในเซลล์หรือมี
การเพิ่มอัตราและความลึกของการหายใจ ซึ่งจะขับ
คาร์บอนไดออกไซด์ออกไปจากเลือด และท้ายสุดก็มีการขับกรด
ออกไปทางปัสสาวะโดยไตจนทาให้กลับคืนสู่ภาวะปกติ
การควบคุมภาวะกรด – เบสโดยไต
การควบคุมกรด - เบส
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ทางเคมี
ทางการหายใจ
ทางไต
น้าและแร่ธาตุ
อุณหภูมิ
ความเป็นกรด-เบส
ภาวะเป็นเบสพบได้ค่อนข้างน้อย แต่อาจเกิดได้ถ้ามีการเสียกรด
จากกระเพาะอาหาร ในการอาเจียน หรือจากการกินอาหาร หรือยาที่
เป็นเบส เช่น การกินยาเคลือบกระเพาะ ในการรักษาโรคกระเพาะ เป็น
ต้น กลไกของระบบบัฟเฟอร์ จะทางานตรงกันข้ามกับภาวะเป็นกรด
คือ การหายใจก็จะถูกกด คาร์บอนไดออกไซด์ก็จะคั่ง และไฮโดรเจน
ไอออนก็จะเพิ่มขึ้น ไตก็จะขับปัสสาวะที่เป็นเบสออก ร่างกายก็จะ
กลับคืนเข้าสู่ภาวะปกติ
การควบคุมภาวะกรด – เบสโดยไต
การควบคุมกรด - เบส
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ทางเคมี
ทางการหายใจ
ทางไต
น้าและแร่ธาตุ
อุณหภูมิ
ความเป็นกรด-เบส
ในคนที่มีสุขภาพแข็งแรง กลไกของบัฟเฟอร์ทั้งสองชนิด นี้ก็จะ
ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ และรวดเร็วจะไม่ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลง pH ของเลือดและของเหลวในเนื้อเยื่อจากปกติ คือ pH
7.4 แต่ในคนที่เป็นโรค การเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงจะเกิดขึ้นได้
และสามารถที่จะทาให้เป็นอันตรายถึงตายได้ ถ้าไม่มีการแก้ไข และ
รักษาไว้ทันท่วงที
อ้างอิง - http://environment.ekstepza.ws/equilibrium-mechanism.html
การควบคุมภาวะกรด – เบสโดยไต
การควบคุมกรด - เบส
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ทางเคมี
ทางการหายใจ
ทางไต
น้าและแร่ธาตุ
อุณหภูมิ
ความเป็นกรด-เบส

More Related Content

What's hot

พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองWan Ngamwongwan
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1มัทนา อานามนารถ
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติAomiko Wipaporn
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังWan Ngamwongwan
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 

Viewers also liked

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3Tatthep Deesukon
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2Tatthep Deesukon
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58Wichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม OWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (7)

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 

Similar to โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิตChidchanok Puy
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิตChidchanok Puy
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์Issara Mo
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงWichai Likitponrak
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายWichai Likitponrak
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวWeeraphon Parawach
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ Dom ChinDom
 

Similar to โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต (20)

โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
4
44
4
 
4
44
4
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
4
44
4
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
 

More from Pathitta Satethakit

แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Pathitta Satethakit
 
ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55
ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55
ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55Pathitta Satethakit
 
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊Pathitta Satethakit
 
กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาไทย 55
กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาไทย  55กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาไทย  55
กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาไทย 55Pathitta Satethakit
 
Key กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ 55
Key กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ 55Key กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ 55
Key กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ 55Pathitta Satethakit
 
กสพท. ข้อสอบวิชาสังคม 55
กสพท. ข้อสอบวิชาสังคม  55กสพท. ข้อสอบวิชาสังคม  55
กสพท. ข้อสอบวิชาสังคม 55Pathitta Satethakit
 
ข้อสอบ กสทพ.คณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ปี 2555
ข้อสอบ กสทพ.คณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ปี 2555ข้อสอบ กสทพ.คณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ปี 2555
ข้อสอบ กสทพ.คณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ปี 2555Pathitta Satethakit
 
Physics : 7วิชาสามัญ’56
Physics : 7วิชาสามัญ’56Physics : 7วิชาสามัญ’56
Physics : 7วิชาสามัญ’56Pathitta Satethakit
 

More from Pathitta Satethakit (10)

แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน2-8
ใบงาน2-8ใบงาน2-8
ใบงาน2-8
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55
ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55
ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55
 
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
 
กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาไทย 55
กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาไทย  55กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาไทย  55
กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาไทย 55
 
Key กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ 55
Key กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ 55Key กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ 55
Key กสพท. ข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ 55
 
กสพท. ข้อสอบวิชาสังคม 55
กสพท. ข้อสอบวิชาสังคม  55กสพท. ข้อสอบวิชาสังคม  55
กสพท. ข้อสอบวิชาสังคม 55
 
ข้อสอบ กสทพ.คณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ปี 2555
ข้อสอบ กสทพ.คณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ปี 2555ข้อสอบ กสทพ.คณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ปี 2555
ข้อสอบ กสทพ.คณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ปี 2555
 
Physics : 7วิชาสามัญ’56
Physics : 7วิชาสามัญ’56Physics : 7วิชาสามัญ’56
Physics : 7วิชาสามัญ’56
 

โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

  • 2. จัดทาโดย นางสาวนทีรัตน์ เชิญธงไชย เลขที่ 31 นางสาวปทิตตา เศรษฐกิจ เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 7
  • 4. การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จานวน มากมายมหาศาลมาอยู่ร่วมกันเป็นระบบเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งการทางาน ของเซลล์ต่าง ๆ ก็ต้องอาศัยสภาพแวดล้อมที่มีความเหมาะสมต่อเซลล์ด้วย ดังนั้นในโครงสร้างร่างกายของสิ่งมีชีวิตจึงจาเป็นต้องมีระบบการรักษาดุลยภาพ ของสารต่าง ๆ เพื่อช่วยควบคุมปริมาณสารต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมต่อการ ทางานของเซลล์อยู่เสมอ โดยระบบการรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุของพืช สัตว์ต่าง ๆ รวมถึงมนุษย์จะมีความแตกต่างกัน
  • 6. น้าและแร่ธาตุ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ พืช สัตว์ การรักษาดุลยภาพของน้าในพืช พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่ดารงชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อม โดยอาศัยแร่ธาตุและ น้าจากสิ่งแวดล้อม เป็นวัตถุดิบในการสังเคราะห์อาหารด้วย กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเพียง 1-2% เท่านั้น ส่วนน้าที่เหลือ ประมาณ 98-99% จะถูกขับออกจากต้นพืชด้วยการคายน้าทางใบ ในรูปของไอน้าที่ระเหยออกจากปากใบ (stomata)เพื่อให้เกิดแรง ดึงจากการคายน้าทาให้สามารถลาเลียงน้าจากรากพืชไปสู่ส่วนยอดได้ และยังใช้สาหรับรักษาความสมดุลของระบบต่าง ๆ ในต้นพืช บางส่วน อาจสูญเสียออกไปทางผิวใบ ส่วนของลาต้นที่เป็นเนื้อเยื่ออ่อน ๆ และ ตามรอยแตกหรือรูเล็ก ๆ ตามลาต้น การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
  • 7. การเปิดและปิดปากใบเกิดขึ้นเนื่องจากความเต่งของเซลล์คุม โดย เมื่อในต้นพืชมีน้าอยู่มาก น้าจากเซลล์ต่าง ๆ รอบเซลล์คุมจะแพร่เข้าสู่ เซลล์คุม ทาให้เซลล์คุมเต่งเนื่องจากมีปริมาณน้ามาก ผนังของเซลล์ คุมจึงยืดออกดึงให้ผนังส่วนที่หนางอตัวแยกออกจากกันส่งผลให้ปาก ใบเปิดออก แต่ในกรณีที่ใบต้นพืชขาดแคลนน้า น้าจากเซลล์คุมจะแพร่ ออกสู่เซลล์ต่าง ๆ ที่อยู่รอบเซลล์คุม เซลล์คุมจึงหดตัวไม่สามารถดึง ผนังส่วนที่หนาแยกออกจากกันได้ ส่งผลให้ปากใบปิดลง การรักษาดุลยภาพของน้าในพืช การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต น้าและแร่ธาตุ พืช สัตว์ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ
  • 8. การเปิดของปากใบขึ้นอยู่กับความเต่งของเซลล์คุม ในช่วงเวลากลางวัน เซลล์คุม ซึ่งมีคลอโรพลาสต์อยู่ภายใน จะมีกระบวน การสังเคราะห์แสงเกิดขึ้น ทาให้ภายใน เซลล์คุมมีระดับน้าตาลสูงขึ้น น้าจากเซลล์ใกล้เคียงจะเกิดการออสโมซิสผ่านเข้า เซลล์คุม ทาให้เซลล์คุมอยู่ใน สภาพเต่ง ปากใบจึงเปิด ทาให้เกิดช่องว่างตรงกลางซึ่งพืชสามารถคายน้าออกมา ทางปากใบ และ เมื่อระดับน้าตาลลดลงเนื่องจากไม่มีกระบวนการสังเคราะห์ด้วย แสง น้าก็จะออสโมซิสออกจากเซลล์คุม หรือระดับที่พืช สูญเสียน้ามาก จะทาให้ เซลล์คุมมีลักษณะลีบลง ปากใบจึงปิด การปิดเปิดของปากใบพืชมีผลต่อการคายน้าของพืช ปากใบจึง เปรียบเสมือนประตู ควบคุมปริมาณน้าภายในต้นพืช การปิดเปิดของปากใบ การรักษาดุลยภาพของน้าในพืช การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต น้าและแร่ธาตุ พืช สัตว์ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ
  • 10. 1.) แสงสว่าง ถ้ามีความเข้มข้นแสงมาก ปากใบจะเปิดได้กว้าง พืชจะคายน้าได้ มาก 2.) อุณหภูมิ เป็นปัจจัยทือิทธิพลควบคู่กับแสงสว่างเสมอ ถ้าอุณหภูมิใน บรรยากาศสูง พืชจะคายน้าได้มากและรวดเร็ว 3.) ความชื้นในบรรยากาศ ถ้าบรรยากาศมีความชื้นสูงจะคายน้าได้น้อย พืชบาง ชนิดจะกาจัดน้าออกมาในรูปของหยดน้า ทางรูเปิดเล็กๆ ตามรูเปิดของเส้นใบ เรียกว่า การคายน้าเป็นหยดหรือ กัตเตชัน ( guttation ) และถ้าในบรรยากาศมี ความชื้นน้อย พืชจะคายน้าได้มากและรวดเร็ว ปัจจัยการปิดเปิดของปากใบ การรักษาดุลยภาพของน้าในพืช การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต น้าและแร่ธาตุ พืช สัตว์ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ
  • 11. 4.) ลม ลมจะพัดพาเอาความชื้นของพืชไปที่อื่น เป็นสาเหตุให้พืชสูญเสียน้ามากขึ้น ในภาวะที่ลมสงบไอน้าที่ระเหยออกไปจะ คงอยูในบรรยากาศใกล้ๆ ใบ บรรยากาศ จึงมีความชื้นสูงพืชจะคายน้าได้ลดลง แต่ถ้าลมพัดแรงมากพืชจะปิดหรือหร่แคบลง มีผลทาให้การคายน้าลดลง 5.) ปริมาณน้าในดิน ถ้าสภาพดินขาดน้า หรือปริมาณน้าในดินน้อย พืชไม่สามารถ นาไปใช้ได้เพียงพอ ปากใบของพืชจะปิด หรือแคบหรี่ลง มีผลทาให้การคายน้าลดลง 6.) โครงสร้างของใบ ตาแหน่ง จานวน และการกระจายของปากใบ รวมถึงความ หนาของคิวมิเคิล ( สารเคลือบผิวใบ ) ลักษณะเหล่านี้มีผลต่อการคายน้าของพืช อ้างอิง - http://environment.ekstepza.ws/life-equilibrium.html ปัจจัยการปิดเปิดของปากใบ การรักษาดุลยภาพของน้าในพืช การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต น้าและแร่ธาตุ พืช สัตว์ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ
  • 12. การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของสัตว์ สัตว์แต่ละชนิดจะมีกลไกการรักษาดุลยภาพของน้าในร่างกาย เพื่อให้ร่างกาย อยู่ในสภาวะสมดุลและเหมาะสมต่อการดารงชีวิต เนื่องจากน้าในร่างกายของ สิ่งมีชีวิตจะมีความสัมพันธ์กับความเข้มข้นของแร่ธาตุ และสารต่าง ๆ ที่ละลายอยู่ ในน้า ดังนั้นการรักษาดุลยภาพของน้าในร่างกายจึงมีความเกี่ยวข้องกับการรักษา ดุลยภาพของเกลือแร่ และสารต่าง ๆ ในร่างกายด้วยเช่นกัน การเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้าในส่วนต่าง ๆ ของร่างกายจะส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของแร่ธาตุและสารต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งจะมีผลกระทบ ต่อเนื่องไปถึงดุลยภาพในการลาเลียงสารในระดับเซลล์ด้วย ดังนั้น การรักษาดุลย- ภาพของน้าและแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิต จึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยในสัตว์บาง ชนิดอาจจะมีระบบการรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุในร่างกายที่แตกต่างกัน ได้ ดังนี้ สิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน น้าและแร่ธาตุ พืช สัตว์ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ
  • 13. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว หรือโพรโทซัวที่อาศัยในน้าจืด ได้แก่ อะมีบา พารามีเซียม เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างภายในเซลล์ที่ไม่ ซับซ้อน จะใช้วิธีการรักษาปรับสมดุลของน้าและของเสียที่เกิดขึ้นใน เซลล์ เช่น แอมโมเนียและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยการแพร่ผ่าน เยื่อหุ้มเซลล์ออกไปสู่สิ่งแวดล้อมโดยตรง นอกจากนี้ภายในเซลล์ยังมี โครงสร้างที่เรียกว่า คอนแทรกไทล์ แวคิวโอล (contractile vacuole) ซึ่งมีหน้าที่กาจัดสารละลายของเสียและน้าออกสู่ ภายนอกเซลล์ด้วยวิธีการลาเลียงแบบ เอกโซไซโทซิส ทาให้สามารถ รักษาดุลยภาพของน้าไว้ได้ การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของสัตว์ สิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน น้าและแร่ธาตุ พืช สัตว์ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ
  • 14. การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของปลาน้าจืด เนื่องจากสัตว์น้าจืดอาศัยอยู่ในน้าที่มีความเข้มของสารละลาย ต่ากว่าภายในร่างกาย ทาให้น้าจากภายนอกร่างกายสามารถออสโม ซิสเข้าสู่ภายในร่างกายได้มาก ปลาน้าจืดจึงต้องมีผิวหนังและเกล็ด ป้องกันการซึมเข้าของน้า มีการขับปัสสาวะบ่อยและเจือจาง และมี อวัยวะพิเศษที่เหงือกคอยดูดเกลือแร่ที่จาเป็นคืนสู่ร่างกาย การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน น้าและแร่ธาตุ พืช สัตว์ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ
  • 15. เมื่อมีน้าที่ผ่านเข้าร่างกายของปลาอยู่ตลอดเวลาจะทาให้ปลา เกิดการสูญเสียเกลือแร่ ไปทางผนังที่บางของเหงือก ดังนั้นปลาน้า จืดจะพยายามไม่ดื่มน้าและไม่ให้น้าซึมเข้าทางผิวหนังหรือเกล็ด แต่ ปลายังมีบริเวณที่น้าสามารถ ซึมเข้า ไปได้ คือ บริเวณเหงือกซึ่ง สัมผัสกับน้าตลอดเวลา ดังนั้นปลาจึงต้องขับน้าออกทางไตเป็นน้า ปัสสาวะ ซึ่งเจือจาง และมี ปริมาณมาก และปลาจะมีเซลล์สาหรับ ดูดซับเกลือ ( salt absorbing cells ) อยู่ที่เยื่อบุผิวของ เหงือก ซึงจะ ดูดซับเอาไอออนของเกลือจากน้าเข้าไปในเลือด ซึ่งจะ เป็นการทดแทนเกลือแร่ที่สูญเสียไปจากการแพร่ออก การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของปลาน้าจืด การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน น้าและแร่ธาตุ พืช สัตว์ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ
  • 17. ปลาทะเล จะมีลักษณะตรงข้ามกับปลาน้าจืด คือ ปริมาณน้าภายในร่างกาย เจือจางกว่าน้าภายนอกร่างกาย เมื่อกินอาหารจึง กินน้าทะเลเข้าไปด้วย ทาให้มี เกลือแร่ในร่างกายมาก ดังนั้นเกล็ดและผิวหนัง แทนที่จะป้องกันการซึมของน้ากลับ ป้องกันเกลือแร่จากน้าทะเลซึมเข้าสู่ร่างกาย ส่วนเหงือก จะทาหน้าที่ขับเกลือที่มาก เกินความจาเป็น ออกจากตัวด้วย กระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต ส่วนเกลือแร่ที่ ติดกับอาหารเข้าไปด้วยจะไม่ถูกดูดซึมเข้าสู่เซลล์ในขณะย่อยอาหาร จึงออกนอก ร่างกายทางอุจจาระ ปลาบางพวกมีการปรับตัวและมีวิวัฒนาการเกี่ยวกับ ต่อม เกลือ (salt gland) ได้ดี จึงสามารถอยู่ได้ทั้งในน้าทะเล น้ากร่อย และน้าจืด เช่น ปลาหมอเทศ ในขณะที่ปลาส่วนใหญ่ถ้าเปลี่ยนน้าก็ อาจตายได้ การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของปลาน้าเค็ม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน น้าและแร่ธาตุ พืช สัตว์ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ
  • 19. [เพิ่มเติม] ในสัตว์พวกที่มีแหล่งหากินในทะเลแต่ไม่ได้อาศัยอยู่ในทะเล จะมี ต่อมขจัดเกลือออกจากร่างกาย เช่น พวกนกทะเล จะมีต่อมเกลือ (salt gland) หรือ nasal gland อยู่บริเวณเหนือตาทั้งสองข้าง เป็นต้น การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของปลาน้าเค็ม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน น้าและแร่ธาตุ พืช สัตว์ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ
  • 20. นกหลายชนิดจะมีขนปกคลุม เพื่อป้องกันการสูญเสียน้า เนื่องจากความร้อน และยังมีระบบการรักษาดุลยภาพของน้าด้วย การขับออกในรูปปัสสาวะนอกจากนี้ยังพบว่านกทะเลที่กินพืชหรือ สัตว์ทะเลเป็นอาหาร จะมีอวัยวะที่ทาหน้าที่กาจัดแร่ธาตุหรือเกลือ ส่วนเกินออกไปจากร่างกาย เรียกว่า ต่อมเกลือ (salt gland) ซึ่ง อยู่บริเวณหัวและจมูก โดยแร่ธาตุและเกลือจะถูกกาจัดออกในรูป ของน้าเกลือ วิธีการรักษาสมดุลเช่นนี้จึงทาให้นกทะเลต่าง ๆ สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ แม้จะบริโภคอาหารที่มีแร่ธาตุและเกลือสูง เป็นประจา การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของสัตว์ปีก การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน น้าและแร่ธาตุ พืช สัตว์ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ
  • 21. สัตว์บกจะได้รับน้าจากการดื่มน้า และจากน้าที่เป็นส่วนประกอบในอาหาร เช่น ในพืชผัก ผลไม้ ตลอดจนน้าที่อยู่ในเนื้อสัตว์ต่าง ๆ นอกจากนี้ยังได้รับน้าจาก กระบวนการย่อยสลายสารอาหาร ตลอดจนการเผาผลาญสารอาหาร หากร่างกาย ได้รับปริมาณมากเกินไป ร่างกายจะกาจัดน้าส่วนเกินออกในรูปของเหงื่อ ไอน้าใน ลมหายใจ ปัสสาวะ และอุจจาระ โดยมีไตเป็นอวัยวะหลักที่ทาหน้าที่ควบคุมสมดุล ของน้า และแร่ธาตุในร่างกาย โครงสร้างที่ทาหน้าที่ควบคุมเกี่ยวกับการรักษาสมดุลน้าในร่างกายซึ่งเป็นส่วน หนึ่งของระบบประสาทในสมองทางานประสานกันระหว่างระบบประสาท ฮอร์โมน และปัจจัยต่างๆ ทาให้มีผลต่ออวัยวะเดียวกัน คือ ไต ร่วมกันทางานเพื่อรักษา สมดุลของน้าในร่างกาย โดยการควบคุมน้านั้นอาศัยฮอร์โมนจากไฮโปทาลามัส ชื่อ ADH และฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต ไปมีผลต่อการทางานของไต การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของสัตว์บก การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน น้าและแร่ธาตุ พืช สัตว์ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ
  • 22. ในร่างกายคนมีน้าอยู่ประมาณ 65%- 70% ซึ่งร่างกายจะต้องรักษาดุลย ภาพนี้ไว้ การรักษาดุลยภาพของน้าในร่างกายทาได้โดยการควบคุมปริมาตรน้าที่ รับเข้าและที่ขับออกจากร่างกาย ซึ่งมีช่องทางและผ่านกระบวนการต่างๆ ในของเหลวที่ร่างกายรับเข้าและที่ขับออกมานั้น นอกจากจะประกอบด้วยน้า เป็นส่วนใหญ่ ยังมีเกลือแร่และสารต่างๆ อยู่ด้วย แม้ว่าสารเหล่านี้จะมีปริมาตร น้อยนิดเมื่อเทียบกับปริมาตรของน้า แต่ก็มีความสาคัญอย่างยิ่ง และร่างกายต้อง รักษาสมดุลต่างๆ ดังกล่าวไว้ให้ได้เพื่อให้ระบบต่างๆ ทางานได้อย่างปกติ อวัยวะ สาคัญในการรักษาดุลยภาพของน้าและสารต่างๆ ในร่างกายคือไต ซึ่งมีโครงสร้าง และการทางานร่วมกับอวัยวะอื่น การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของคน การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน น้าและแร่ธาตุ พืช สัตว์ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ
  • 23. กระหายน้า แรงดันออสโมติกใน เลือดสูงกว่าปกติ (น้าในเลือดน้อย) ไฮโพทาลามัส แรงดันออสโมติก ในเลือดปกติ ต่อมใต้สมองส่วน หลัง หลั่ง ADH น้อย กระตุ้นท่อ หน่วยไตและ ท่อรวมให้ดูด น้ากลับ ดื่มน้า กระตุ้น ร่างกายขาดน้า การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของคน การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน น้าและแร่ธาตุ พืช สัตว์ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ
  • 24. แรงดันออสโมติกใน เลือดต่ากว่าปกติ (น้าในเลือดมาก) ไฮโพทาลามัส แรงดันออสโมติก ในเลือดปกติ ต่อมใต้สมองส่วน หลัง หลั่ง ADH มาก กระตุ้นท่อ หน่วยไตและ ท่อรวมให้ขับ น้าออก กระตุ้น การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุของคน การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว สัตว์น้าจืด สัตว์น้าเค็ม สัตว์ปีก สัตว์บก คน น้าและแร่ธาตุ พืช สัตว์ ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ
  • 26. อุณหภูมิ สัตว์เลือดเย็น สัตว์เลือดอุ่น การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในสิ่งมีชีวิต สัตว์ทุกชนิดจะมีการย่อยสลายอาหารต่าง ๆ ให้กลายเป็นโมเลกุลสารอาหาร ขนาดเล็ก แล้วนาเข้าสู่ภายในเซลล์เพื่อไปใช้เผาผลาญให้เกิดเป็นพลังงานสาหรับการ ดารง ชีวิตของสิ่งมีชีวิตและพลังงานความร้อนโดยพลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นส่วน หนึ่งจะถูกถ่ายเทสู่สิ่งแวดล้อม และอีกส่วนหนึ่งจะถูกสะสมไว้ในร่างกายเพื่อรักษา ความอบอุ่นของร่างกาย อุณหภูมิในร่างกายของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะสามารถเปลี่ยนแปลงได้ โดย สามารถเปลี่ยนแปลงไปได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระบบการควบคุมอุณหภูมิของ สิ่งมีชีวิตนั้น ซึ่งถ้าหากจาแนกลักษณะของสิ่งมีชีวิตโดยอาศัยระบบการควบคุม อุณหภูมิในร่าง กายเป็นเกณฑ์ จะสามารถจาแนกกลุ่มสิ่งมีชีวิตได้เป็น 2 ประเภท คือ สัตว์เลือดเย็น และสัตว์เลือดอุ่น การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต น้าและแร่ธาตุ ความเป็นกรด-เบส
  • 27. สัตว์เลือดเย็น ได้แก่ งู ปลาและสัตว์เลื้อยคลานชนิดต่าง ๆ เป็นสัตว์ที่ ไม่สามารถรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ได้ เมื่ออากาศหรือ สภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิร่างกายจะเปลี่ยนแปลงไปตาม สภาพ อากาศด้วย เช่น เมื่อสภาพอากาศหนาวเย็น ร่างกายสัตว์เลือดเย็นก็จะมี อุณหภูมิต่าไปด้วย เป็นต้น อุณหภูมิของร่างกายที่ลดต่าลงจะมีผลทาให้กระบวนการทางานต่าง ๆ ภายในร่างกายผิดปกติไปได้ สัตว์เลือดเย็นจึงต้องมีการปรับตัวด้วยการใช้ สภาพแวดล้อมเข้าช่วย เช่น การหนีความร้อนโดยวิธีหลบในรูหรือในโพรงไม้ การผึ่งแดดเพื่อให้อุณหภูมิภายในร่างกายสูงขึ้น การอพยพจากสภาพอากาศที่ ไม่เหมาะสมหรือการจาศีลให้พ้นจากฤดูหนาวหรือฤดูร้อน เป็นต้น การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในสัตว์เลือดเย็น การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต อุณหภูมิ สัตว์เลือดเย็น สัตว์เลือดอุ่น น้าและแร่ธาตุ ความเป็นกรด-เบส
  • 29. สัตว์เลือดอุ่น เช่น นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมต่าง ๆ และมนุษย์ เป็นสัตว์ที่ สามารถปรับอุณหภูมิภายในร่างกายให้มีดุลยภาพอยู่ได้ โดยวิธีการรักษาอุณหภูมิ ภายในร่างกายของสัตว์เลือดอุ่น อาจเกิดขึ้นจากลักษณะโครงสร้างทางร่างกาย หรือ การทางานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย และจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดังนี้ 1) การรักษาอุณหภูมิโดยอาศัยโครงสร้างของร่างกาย โดยสัตว์เลือดอุ่นจะ มีการพัฒนาโครงสร้างของผิวหนังเพื่อป้องกันการสูญเสีย ความร้อนของร่างกายจาก สภาวะแวดล้อมที่มีอุณหภูมิต่า เช่น การมีชั้นไขมันหนาอยู่ใต้ชั้นผิวหนัง การมีขนปก คลุมร่างกาย หรือการมีโครงสร้างเพื่อลดความร้อนของร่างกายจากสภาวะที่มี อุณหภูมิสูง เช่น มีต่อมเหงื่อและรูขุมขนตามร่างกาย สาหรับระบายความร้อน เป็นต้น การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในสัตว์เลือดอุ่น การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต อุณหภูมิ สัตว์เลือดเย็น สัตว์เลือดอุ่น ความเป็นกรด-เบส น้าและแร่ธาตุ
  • 31. 2)การรักษาอุณหภูมิโดยอาศัยการทางานของระบบต่าง ๆ ภายใน ร่างกาย เป็นการตอบสนองต่ออุณหภูมิที่เกิดจากการทางานร่วมกันของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย โดยมีศูนย์กลางการควบคุมอุณหภูมิอยู่ที่สมองส่วนไฮโพทาลามัส ซึ่ง กระบวนการทางานภายในร่างกาย เพื่อตอบสนองต่ออุณหภูมิจะมีลาดับขั้นตอนการ ทางาน ดังนี้ ถ้าอุณหภูมิในร่างกายสูงเกินไป 1.เลือดจะไหลออกมาที่พื้นผิวหนังน้อย 2.เหงื่อจะถูกขับออกมาเพื่อทาให้ ร่างกายเย็นลง ขณะที่ถูกขับออกไป 3. ขนจะลุกตั้งชันเพื่อดับอากาศ ทา หน้าที่ให้เป็นฉนวน ถ้าอุณหภูมิในร่างกายต่าเกินไป 1.ปริมาณเลือดจะถูกขับออกมาที่ พื้นผิวของผิวหนัง 2. กล้ามเนื้อจะสั่นเพื่อสร้างความร้อน 3. ผม เส้นขน จะอยู่ในลักษณะราบกับ ผิวหนังอีออนของน้าและเกลือจะ สูญเสียไปในขณะที่เหงื่อออกตอนที่ อากาศร้อน ดังนั้นจาเป็นต้องมีการ ทดแทนโดยการดื่มน้าหรืออาหาร การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในสัตว์เลือดอุ่น อุณหภูมิ สัตว์เลือดเย็น สัตว์เลือดอุ่น ความเป็นกรด-เบส น้าและแร่ธาตุ
  • 33. 3) การรักษาอุณหภูมิโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในกรณี ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง การรักษา อุณหภูมิโดยโครงสร้างของร่างกายและการทางานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายไม่เพียงพอต่อการรักษาอุณหภูมิภายในร่างกาย สัตว์ ต่าง ๆ จึงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางอย่าง เพื่อให้สามารถใช้ สภาพแวดล้อมเข้ามาช่วยในการรักษาอุณหภูมิภายในร่างกาย เช่น การ นอนแช่น้า การอพยพไปสู่พื้นที่มีอุณหภูมิเหมาะสมกว่า การใส่เสื้อกัน หนาวของมนุษย์ เป็นต้น อ้างอิง - http://vichakarn.triamudom.ac.th/comtech/studentproject/final55/345/html/homeostasis_content.html การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในสัตว์เลือดอุ่น อุณหภูมิ สัตว์เลือดเย็น สัตว์เลือดอุ่น ความเป็นกรด-เบส น้าและแร่ธาตุ
  • 34. ทางเคมี ทางการหายใจ ทางไต การควบคุมกรด - เบส หมายถึง การควบคุมความเข้มข้นของ ไฮโดรเจนไอออนของน้าในร่างกายหรือ เลือดให้มีค่าคงที่ เพื่อให้เหมาะกับการทางานของเอนไซม์และปฏิกิริยาต่างๆใน ร่างกาย การที่ของเหลวในร่างกายหรือในเซลล์ จะมีโฮโดรเจนไอออนมากหรือน้อยนั้น เกิดจากการแตกตัวของโฮโดรเจนไอออนจากกรดชนิดต่างๆ ถ้ามีโฮโดรเจนไอออน เข้มข้นมากค่า pH จะต่าแสดงสภาพเป็นกรด แต่ในทางตรงกันข้ามถ้าของเหลวนั้นมี โฮโดรเจนไอออนเข้มข้นน้อยค่าpH จะสูงแสดงสภาพเป็นเบส ซึ่งสารที่ให้ความ เข้มข้นของไฮโดรเจนไอออนต่าลงได้แก่ สารไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน ฟอตเฟต ไอออนและไฮดรอกไซด์อไออน ซึ่งร่ายกายของเรามีกลไกควบคุมกรด – เบส อยู่ 3 วิธี ได้แก่ ความคุมด้วยวิธีทางเคมี ทางการหายใจ ทางไต การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต น้าและแร่ธาตุ อุณหภูมิ ความเป็นกรด-เบส
  • 35. การควบคุมภาวะกรด – เบสด้วยวิธีทางเคมี หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า บัฟเฟอริง (buffering) ระบบ บัฟเฟอร์ (บัฟเฟอร์คือสารละลายกรดอ่อนหรือเบสอ่อนซึ่งสามารถลด การเปลี่ยนแปลงของ pH ในภาวะที่ได้รับกรดหรือเบสได้ ทาให้ pH เปลี่ยนแปลงไม่มาก เหมือนกับที่พบในการเติมกรดหรือเบสลงไปใน น้าเปล่า) จะป้องกันการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรด – เบสของร่างกาย ไม่ให้รวดเร็วเกินไปกรด – เบส บัฟเฟอร์ ประกอบด้วยกรดอ่อนและ เบสอ่อน เป็นคู่ๆ ซึ่งจะ แตกตัว(Ionized) ได้เกลือของกรดหรือเบส อย่างเดียวกัน ทาให้กรดแก่ หรือ เบสแก่เจือจางลง การควบคุมกรด - เบส การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ทางเคมี ทางการหายใจ ทางไต น้าและแร่ธาตุ อุณหภูมิ ความเป็นกรด-เบส
  • 36. ระบบบัฟเฟอร์ช่วยให้สารละลายใดๆที่ทาให้มีค่าความเป็น กรด เบส เกือบคงที่บัฟเฟอร์ที่สาคัญในเลือดได้แก่ 1 ระบบบัฟเฟอร์โปรตีน สามส่วนสี่ ของบัฟเฟอร์ทั้งหมด ได้แก่ โปรตีน ในพลาสมา ฮีโมโกลบิน 2 บัฟเฟอร์โฮโดรเจนเปอร์แมงกาเนต ประกอบด้วยโซเดียมไฮโดรเจน คาร์บอเนต และกรดคาร์บอนิก 3 บัฟเฟอร์ฟอสเฟต ประกอบด้วยฟอสเฟตไอออน การควบคุมภาวะกรด – เบสด้วยวิธีทางเคมี การควบคุมกรด - เบส การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ทางเคมี ทางการหายใจ ทางไต น้าและแร่ธาตุ อุณหภูมิ ความเป็นกรด-เบส
  • 37. การเปลี่ยนแปลงอัตราการหายใจ โดยศูนย์ควบคุมการหายใจที่ สมองส่วนเมดุลลา- ออบลองกาตา ถ้า pH ในเลือดต่าลงการหายใจเร็วขึ้น แต่ถ้า pH สูงขึ้นอัตราการหายใจจะช้าลง ซึ่งการหายใจจะช่วยแก้ปัญหาความ เป็น กรด เบส ในเลือดได้ 50-70 % ความเป็นกรดในเลือดเกิดจากการรวมตัวของคาร์บอนไดออกไซด์กับ น้าได้เป็นกรดคาร์บอนิก ซึ่งเป็นกรดอ่อน ดังสมการ 𝐶𝑂2 +𝐻2 𝑂 - ----> 𝐻2 𝐶𝑂3 การควบคุมภาวะกรด – เบสด้วยวิธีทางการหายใจ การควบคุมกรด - เบส การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ทางเคมี ทางการหายใจ ทางไต น้าและแร่ธาตุ อุณหภูมิ ความเป็นกรด-เบส
  • 38. แม้ว่า 𝐻2 𝐶𝑂3 จะแตกตัวได้ง่ายและให้ไฮโดรเจนไอออนจานวนน้อยก็ตาม แต่ ก็มีอยู่เป็นปริมาณมากในร่างกาย จึงทาให้เกิดภาวะกรดได้มากเช่นเดียวกัน ดังนั้น คาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้ออกมาจะถูกขับออกอย่างรวดเร็ว โดยการเพิ่มอัตราการ หายใจ ดังนั้นกรดคาร์บอนิกซึ่งเป็นตัวทาให้เกิดไฮโดรเจนไอออนในเลือด ก็จะถูก กาจัดออกไปได้อย่างรวดเร็ว ศูนย์ควบคุมการหายใจในเมดุลลา จะมีความไวมากต่อ คาร์บอนไดออกไซด์และความเป็นกรดของเลือด ถ้ามีการเพิ่มขึ้นของอย่างใดอย่าง หนึ่ง หรือทั้งสองอย่างก็จะทาให้มีการหายใจเพิ่มขึ้นเพื่อจะทาให้กลับเข้าสู่ภาวะปกติ ได้เร็วขึ้น การควบคุมภาวะกรด – เบสด้วยวิธีทางการหายใจ การควบคุมกรด - เบส การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ทางเคมี ทางการหายใจ ทางไต น้าและแร่ธาตุ อุณหภูมิ ความเป็นกรด-เบส
  • 39. ไต มีบทบาทสาคัญในการรักษาความเป็นกรด-เบสของเลือด เมื่อ pH ของ เลือดต่าเกินไป หน่วยไตจะขับสารที่มีส่วนประกอบของ 𝐻+ และแอมโมเนียม ไอออน (𝑁𝐻4+ ) ออกจากเลือด และในขณะเดียวกันก็จะเพิ่มการดูดกลับ ไอออนบางประเภท ซึ่งลดความเป็นกรดของเลือด ได้แก่ โซเดียม ไอออน (𝑁𝑎+) และไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน ส่วนเมื่อ pH ของเลือดสูง เกินไปจะเกิดกระบวนการตรงข้าม โดยการขับ H(ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง)ทางไต มี หลักการว่า มีกรดในร่างกายมากขับออกไปพร้อมกับปัสสาวะ ถ้าเป็นเบสในร่างกาย มากก็ขับออกพร้อมกับปัสสาวะ การควบคุมภาวะกรด – เบสโดยไต การควบคุมกรด - เบส การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ทางเคมี ทางการหายใจ ทางไต น้าและแร่ธาตุ อุณหภูมิ ความเป็นกรด-เบส
  • 40. ไตจะสามารถควบคุม กรด - เบส โดยระบบบัฟเฟอร์ โดยการขับ แอมโมเนียซึ่งมีอยู่ 3 วิธี ในการที่จะช่วยรักษา pH ของน้าภายนอก เซลล์ไว้ได้ ดังนี้ 1. ไตจะขับ 𝐻𝐶𝑂3 − ออก 2. โดยการแลกเปลี่ยน (𝑁𝑎+ กับ 𝐻+ โซเดียมไอออนจะถูกดึง กลับในท่อไตซึ่งจะแลกกลับ 𝐻+ และ 𝐻+ จะถูกขับออกทาง ปัสสาวะซึ่งเป็นกรด ดังนั้นน้าภายนอกเซลล์จะมีความเป็นกรดน้อยลง การควบคุมภาวะกรด – เบสโดยไต การควบคุมกรด - เบส การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ทางเคมี ทางการหายใจ ทางไต น้าและแร่ธาตุ อุณหภูมิ ความเป็นกรด-เบส
  • 41. 3. ไตจะสามารถสร้างแอมโมเนียได้ซึ่งเมื่อรวมกับ 𝐻+ ได้เป็น แอมโมเนียไอออนในท่อไต ร่างกายจะมีแนวโน้มที่จะเกิดกรดได้ ค่อนข้างมาก เพราะมีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ และมีการคั่งของ ของเสียจากเมแทบอลิซึม นอกจากนี้ภาวะกรดอาจเกิดจากการขาด อาหารหรือ เบาหวานก็ได้ เนื่องจากการนาเอาไขมันมาใช้กรดจะถูกทา ให้เจือจางลงโดยบัฟเฟอร์ ที่อยู่ในเลือดและของเหลว ในเซลล์หรือมี การเพิ่มอัตราและความลึกของการหายใจ ซึ่งจะขับ คาร์บอนไดออกไซด์ออกไปจากเลือด และท้ายสุดก็มีการขับกรด ออกไปทางปัสสาวะโดยไตจนทาให้กลับคืนสู่ภาวะปกติ การควบคุมภาวะกรด – เบสโดยไต การควบคุมกรด - เบส การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ทางเคมี ทางการหายใจ ทางไต น้าและแร่ธาตุ อุณหภูมิ ความเป็นกรด-เบส
  • 42. ภาวะเป็นเบสพบได้ค่อนข้างน้อย แต่อาจเกิดได้ถ้ามีการเสียกรด จากกระเพาะอาหาร ในการอาเจียน หรือจากการกินอาหาร หรือยาที่ เป็นเบส เช่น การกินยาเคลือบกระเพาะ ในการรักษาโรคกระเพาะ เป็น ต้น กลไกของระบบบัฟเฟอร์ จะทางานตรงกันข้ามกับภาวะเป็นกรด คือ การหายใจก็จะถูกกด คาร์บอนไดออกไซด์ก็จะคั่ง และไฮโดรเจน ไอออนก็จะเพิ่มขึ้น ไตก็จะขับปัสสาวะที่เป็นเบสออก ร่างกายก็จะ กลับคืนเข้าสู่ภาวะปกติ การควบคุมภาวะกรด – เบสโดยไต การควบคุมกรด - เบส การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ทางเคมี ทางการหายใจ ทางไต น้าและแร่ธาตุ อุณหภูมิ ความเป็นกรด-เบส
  • 43. ในคนที่มีสุขภาพแข็งแรง กลไกของบัฟเฟอร์ทั้งสองชนิด นี้ก็จะ ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ และรวดเร็วจะไม่ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง pH ของเลือดและของเหลวในเนื้อเยื่อจากปกติ คือ pH 7.4 แต่ในคนที่เป็นโรค การเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงจะเกิดขึ้นได้ และสามารถที่จะทาให้เป็นอันตรายถึงตายได้ ถ้าไม่มีการแก้ไข และ รักษาไว้ทันท่วงที อ้างอิง - http://environment.ekstepza.ws/equilibrium-mechanism.html การควบคุมภาวะกรด – เบสโดยไต การควบคุมกรด - เบส การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ทางเคมี ทางการหายใจ ทางไต น้าและแร่ธาตุ อุณหภูมิ ความเป็นกรด-เบส