SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
บทที่ 3
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรง
ตัว การเคลื่อนไหว การจากัดการเคลื่อนไหว การ
เคลื่อนย้าย และการจัดท่า
อ.กรวรรณ สุวรรณสาร
การทรงตัว
การทรงตัวอย่างถูกต้อง
หมายถึง ความมั่นคงและความสมดุลของร่างกาย
ในทุกอิริยาบถ ไม่โอนเอียงหรือล้มลง โดยมีกระดูก
สันหลังทาหน้าที่รองรับส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
ท่ายืนที่ดี
ท่ายืนที่ดี
คือ การยืนตัวตรงในท่าที่สบาย นาหนักตกลงที่ส่วนโค้งของเท้า เท้า
ทัง 2 ข้าง วางขนานกันและแยกห่างจากกันประมาณ 4-8 นิว (10-20
เซนติเมตร) (Timby, 2006, p. 518) ปลายเท้าชีไปข้างหน้า เข่างอ
เล็กน้อย ข้อเท้าทามุมฉากกับปลายเท้า สะโพกอยู่ในระดับเดียวกัน
หลังตรง อกผ่าย แขม่วกล้ามเนือหน้าท้อง ไหล่อยู่ในแนวเดียวกับ
สะโพก แขนทัง 2 ข้าง วางขนานกับลาตัว ข้อศอกและนิวมืออยู่ในท่า
งอเล็กน้อย ศีรษะยืดตรงไม่ก้มหรือเงยหน้า กระดูกสันหลังโค้งเว้าถูก
ตาแหน่ง
ท่านั่งที่ดี
ท่านั่งที่ดี
คือ ศีรษะยืดตรงไม่ก้มหรือเงย อกผาย หลังตรง โค้งกระดูกสันหลัง
อยู่ในลักษณะเช่นเดียวกับท่ายืน นาหนักของร่างกายตกลงที่ก้นและ
ต้นขาด้านบน เท้าทัง 2 ข้าง วางบนพืน ข้อเท้างอในลักษณะทามุม
ฉากกับขา ข้อพับเข่างอและอยู่ห่างขอบเก้าอี ประมาณ 1 นิว ต้นขา
อยู่ในแนวราบบนเก้าอี และแขนวางบนที่พักแขน
ท่านอนที่ดี
ท่านอนที่ดี
คือ ลักษณะกระดูกสันหลังอยู่ในท่าที่ถูกต้องเช่นเดียวกับการ
ยืน หลังตรง เข่างอเล็กน้อย แขนวางข้างลาตัว ข้อศอก และ
นิวมืองอเล็กน้อย
การเคลื่อนไหว
1. คงไว้ซึ่งแนวปกติของร่างกายและการทรงตัวที่ดี
2. ถือสิ่งของที่เคลื่อนย้าย ให้อยู่ใกล้กับร่างกาย
3. ใช้กล้ามเนือมัดใหญ่ในการทางานที่ต้องใช้กาลังมาก
4. ใช้นาหนักตนเองในการช่วยเคลื่อนย้ายวัตถุ สิ่งของ
5. ใช้การดัน การดึง หรือการหมุนผลักสิ่งของแทนการยก
การเคลื่อนไหว
6. ถือสิ่งของอยู่กึ่งกลางจุดศูนย์กลางของแรงถ่วง
7. ขณะยกสิ่งของควรแยกเท้าออก เพื่อให้มีความมั่นคง
8. หลีกเลี่ยงการยืดกล้ามเนือ หรือการบิดกล้ามเนือขณะเคลื่อนย้าย
สิ่งของ
9. การยกสิ่งของอยู่ในท่าหลังตรง และย่อเข่า แทนการก้มหลัง
การเคลื่อนไหว
10.มีการหยุดพักเป็นช่วง ๆ ในระหว่างการทากิจกรรม
11.หาผู้ช่วยเหลือหรืออุปกรณ์ผ่อนแรง
12. เกร็งกล้ามเนือหน้าท้องและกล้ามเนือสะโพกก่อนยก
สิ่งของเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของกล้ามเนือหลัง
13.เคลื่อนไหวร่างกายอย่างนุ่มนวล ประสานกัน และเป็น
จังหวะ
การตอบสนองด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย
1. การออกกาลังกายเพื่อเพิ่มพิสัยของข้อ (range of motion
exercise)
2. การออกกาลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรง และความคงทนของ
กล้ามเนือ (exercise for strength and endurance)
การออกกาลังกายตามผู้ออกแรง
แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
1. Active exercise
2. Passive exercise
3. Active assistive exercise
4. Passive stretching exercise
การจากัดการเคลื่อนไหว
1. การจากัดการเคลื่อนไหวอย่างสมบูรณ์
2. การจากัดการเคลื่อนไหวเพียงบางส่วน
3. การจากัดการเคลื่อนไหวเพื่อให้ร่างกายได้พักผ่อน
ความสาคัญของการจากัดการเคลื่อนไหว
1. บรรเทาความเจ็บปวด
2. ส่งเสริมการหายของแผล
3. ป้องกันไม่ให้ร่างกายหรืออวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บเกิดความ
เสียหายเพิ่มขึน
4. อวัยวะต่าง ๆ ทาหน้าที่น้อยลง ทาให้ร่างกายกลับสู่สภาวะ
ปกติได้เร็วขึน
ภาวะแทรกซ้อนจากการจากัดการเคลื่อนไหว
และการพยาบาล
1. ระบบผิวหนัง เกิดแผลกดทับ
การพยาบาล
• ประเมินผิวหนังและพลิกตะแคงตัว อย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
• ดูแลสภาพผิวหนังให้ชุ่มชืน
• รักษาความสะอาดของผิวหนัง อย่าให้เปียกชืน
• ดูแลให้ได้รับอาหารและนาอย่างเพียงพอ
• นวดปุ่มกระดูกบ่อย ๆ
ภาวะแทรกซ้อนจากการจากัดการเคลื่อนไหว
และการพยาบาล
2. ระบบกระดูกและกล้ามเนือ
2.1 กระดูกเปราะบาง
2.2 การประสานงานของกล้ามเนือแขน-ขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
2.3 กล้ามเนืออ่อนแรง
2.4 ข้อติดแข็ง
2.5 ปวดหลัง
ภาวะแทรกซ้อนจากการจากัดการเคลื่อนไหว
และการพยาบาล
3. ระบบหัวใจและหลอดเลือด
3.1 หัวใจทางานมากขึน
3.2 มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดาที่ขา
3.3 เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดา
3.4 ความดันโลหิตต่าขณะเปลี่ยนท่า
ภาวะแทรกซ้อนจากการจากัดการเคลื่อนไหว
และการพยาบาล
4. ระบบทางเดินหายใจ
4.1 ปอดขยายตัวลดลง
4.2 มีการคั่งของเสมหะมากขึน
5. ระบบทางเดินอาหาร
5.1 ผลต่อการรับประทานอาหาร ทาให้เบื่ออาหาร
5.2 ผลต่อการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะแทรกซ้อนจากการจากัดการเคลื่อนไหว
และการพยาบาล
6. ระบบทางเดินปัสสาวะ
6.1 การติดเชือในทางเดินปัสสาวะ
6.2 เกิดนิ่วในไต และในกระเพาะปัสสาวะ
7. ด้านจิตใจ
การเคลื่อนย้าย
สิ่งที่ต้องประเมินก่อนทาการเคลื่อนย้าย
1. ความสามารถในการช่วยเหลือตนเองของผู้ป่วย
2. ท่าที่เป็นข้อห้ามสาหรับผู้ป่วย
3. อวัยวะส่วนที่อ่อนแรงหรือพิการ
4. ความมั่นคงในการคงท่าของผู้ป่วย
5. ส่วนที่ต้องให้อยู่นิ่ง ๆ
6. อุปกรณ์ที่ติดตัวผู้ป่วย
7. ความอ่อนเพลียของผู้ป่วย
8. ความต้องการการเคลื่อนย้าย เปลี่ยนท่า และความสุขสบายของผู้ป่วย
แนวทางการปฏิบัติการเคลื่อนย้าย
1. กรณีที่ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ควรหาผู้ช่วยเหลือในการเคลื่อนย้าย
2. กรณีพยาบาล 1 คน ให้ยืนด้านเดียวกันกับด้านที่จะเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
3. ยืนในท่าทรงตัวที่ถูกต้อง
4. ถ้าผู้ป่วยมีอุปกรณ์สวมพยุงตัว ให้สวมให้เรียบร้อยก่อนทาการเคลื่อนย้าย
5. ผ่อนแรงในการยก โดยยืนอยู่ใกล้ผู้ป่วยมากที่สุด
6. ให้ขาผู้ป่วยด้านที่อ่อนแรง อยู่ใกล้ด้านรถเข็นนั่ง
7. ใช้อุปกรณ์ช่วยเพื่อผ่อนแรง
8. ให้สัญญาณในการเคลื่อนย้าย
9. อธิบายให้ผู้ป่วยทราบขันตอนคร่าว ๆ และให้ช่วยออกแรงเท่าที่สามารถทาได้
การจัดท่า
แนวปฏิบัติ
1. ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ต้องเปลี่ยนท่านอนอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
2. ปรับระดับความสูงของเตียงให้เหมาะสม โดยอยู่ระดับข้อศอกของพยาบาล
3. นาหมอนและเครื่องนอนออก ก่อนการจัดท่า
4. ตรวจสอบสายต่าง ๆ ไม่ให้ติดอยู่กับที่นอน
5. พลิกให้ลาตัวเคลื่อนพร้อมกัน เพื่อป้องกันการบิดของกระดูกสันหลัง
6. ข้อต่าง ๆ อยู่ในท่างอเล็กน้อย
7. จัดท่านอนให้คงไว้ซึ่งแนวปกติของร่างกาย
8. จัดพยุงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายด้วยม้วนผ้า หรือหมอน
9. ตรวจสอบสภาพผิวหนัง และนวดปุ่มกระดูกที่รับนาหนักตัว
10.ดูแลเตียงให้สะอาด เรียบตึงหลังการจัดท่า
การจัดท่า
ท่านอนหงาย
(dorsal position/
supine position)
ท่านอนตะแคง
(lateral position)
การจัดท่า
ท่านอนหงายศีรษะสูง
(Fowler’s position)
ท่า semi-Fowler’s
position
การจัดท่า
ท่านอนตะแคงซ้าย
กึ่งคว่า
(Sim’s position)
ท่านอนคว่า
(prone position)
การจัดท่า
ท่านอนคว่าคุกเข่า
(knee-chest position)
ท่านอนศีรษะต่าปลายเท้าสูง
(Trendelenburg position)
การจัดท่า
ท่านอนหงายชันเข่า
(dorsal recumbent
position)
ท่านอนหงายพาดเท้าบนขาหยั่ง
(lithotomy position)
จบการนาเสนอบทที่ 3
นักศึกษาสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเอกสารประกอบการสอน และ
หนังสือตามที่ปรากฏรายชื่ออยู่ในบรรณานุกรมท้ายบทที่

More Related Content

What's hot

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์techno UCH
 
การทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียนการทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียนSuthee Saritsiri
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงRachanont Hiranwong
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านPa'rig Prig
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sssDr.Suradet Chawadet
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 

What's hot (20)

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
 
การทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียนการทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียน
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
เนื้อหาบท3
เนื้อหาบท3เนื้อหาบท3
เนื้อหาบท3
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
คางทูม
คางทูมคางทูม
คางทูม
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Gram negative cocci
 Gram negative cocci Gram negative cocci
Gram negative cocci
 
22
2222
22
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
 
หลักการใช้ยาต้านจุลชีพ
หลักการใช้ยาต้านจุลชีพหลักการใช้ยาต้านจุลชีพ
หลักการใช้ยาต้านจุลชีพ
 

Viewers also liked

การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอาหาร น้ำ และเกลือแร่
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอาหาร น้ำ และเกลือแร่การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอาหาร น้ำ และเกลือแร่
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอาหาร น้ำ และเกลือแร่CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การใช้เทคนิคปราศจากเชื่อและการกีดกั้นเชื้อ
การใช้เทคนิคปราศจากเชื่อและการกีดกั้นเชื้อการใช้เทคนิคปราศจากเชื่อและการกีดกั้นเชื้อ
การใช้เทคนิคปราศจากเชื่อและการกีดกั้นเชื้อCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารphukhieo
 
การดูและความสะอาดสุขสบาย
การดูและความสะอาดสุขสบายการดูและความสะอาดสุขสบาย
การดูและความสะอาดสุขสบายCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อบท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตฟลุ๊ค ลำพูน
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหาร
7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหาร7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหาร
7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหารWichai Likitponrak
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Mayuree Paitoon
 
Kidney structure and function mee
Kidney structure and function meeKidney structure and function mee
Kidney structure and function meeWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอาหาร น้ำ และเกลือแร่
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอาหาร น้ำ และเกลือแร่การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอาหาร น้ำ และเกลือแร่
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอาหาร น้ำ และเกลือแร่
 
Ppt circuratory
Ppt circuratoryPpt circuratory
Ppt circuratory
 
การใช้เทคนิคปราศจากเชื่อและการกีดกั้นเชื้อ
การใช้เทคนิคปราศจากเชื่อและการกีดกั้นเชื้อการใช้เทคนิคปราศจากเชื่อและการกีดกั้นเชื้อ
การใช้เทคนิคปราศจากเชื่อและการกีดกั้นเชื้อ
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
การดูและความสะอาดสุขสบาย
การดูและความสะอาดสุขสบายการดูและความสะอาดสุขสบาย
การดูและความสะอาดสุขสบาย
 
Circulatory system mee
Circulatory system  meeCirculatory system  mee
Circulatory system mee
 
Human respiration mee
Human respiration meeHuman respiration mee
Human respiration mee
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
The Immune System
The Immune SystemThe Immune System
The Immune System
 
Hb5
Hb5Hb5
Hb5
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อบท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหาร
7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหาร7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหาร
7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหาร
 
ชีวเคมี
ชีวเคมีชีวเคมี
ชีวเคมี
 
Intro to nutrition
Intro to nutritionIntro to nutrition
Intro to nutrition
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
Kidney structure and function mee
Kidney structure and function meeKidney structure and function mee
Kidney structure and function mee
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University

การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University (20)

ภาษา php
ภาษา phpภาษา php
ภาษา php
 
ภาษา java sript
ภาษา java sriptภาษา java sript
ภาษา java sript
 
session cookies
session cookiessession cookies
session cookies
 
ภาษา css
ภาษา cssภาษา css
ภาษา css
 
ภาษา xhtml
ภาษา xhtmlภาษา xhtml
ภาษา xhtml
 
ภาษา html5
ภาษา html5ภาษา html5
ภาษา html5
 
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
 
Entity Relationship
Entity RelationshipEntity Relationship
Entity Relationship
 
แบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบแบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบ
 
การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2
 
การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
 

การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจำกัดการเคลื่อนไหว การเคลื่อนย้าย และการจัดท่า