SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
หลักเบื้องต้นในการให้การศึกษา
แก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
ว่าที่ ร.ต. กฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาา
การใหม้การศึกษาแก่ผู้ปกครองเ ็กปฐาวัยถือเป็นนโยบายที่สาคัญ
ประการหมนึ่งของการจั การศึกษาปฐาวัยในปัจจุบัน การใหม้ผู้ปกครองไ ้
เข้าาาาีส่วนร่วาในการจั การศึกษาจะช่วยทาใหม้พ่อแา่ ผู้ปกครองไ ้
เรียนรู้และเข้าใจถึงจุ าุ่งหมาายที่สาคัญของการพัฒนาเ ็ก ทาใหม้
าเนินงานทางการศึกษาระหมว่างบ้านกับโรงเรียนเป็นไปในทิศทางเ ียวกัน
เป็นการเปิ โอกาสใหม้ผู้ปกครองไ ้าีควาารู้และเข้าใจเกี่ยวกับการ
าเนินงานของโรงเรียนและกิจกรราการเรียนการสอน อีกทั้งยังเป็นการ
สร้างเครือข่ายทางการศึกษาทาใหม้เกิ ควาาเข้าใจที่ตรงกันระหมว่างบ้านกับ
โรงเรียน ซึ่งจะนาไปสู่การพัฒนาการศึกษาใหม้เป็นไปในทิศทางเ ียวกัน
ความหมายของการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครอง
Linda Bierstecker, 1992 กล่าวว่า การให้การศึกษาแก่ผู้ปกครอง
(parent education) หมายถึง การให้ผู้ปกครองได้เข้าใจว่าเด็กได้ทา
กิจกรรมอะไรที่โรงเรียนอนุบาลหรือศูนย์เด็ก เพื่อให้ผู้ปกครองได้เข้าใจ
วิธีการที่จะช่วยเหลือเพื่อส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้
ความหมายของการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครอง (ต่อ)
ฉันทนา ภาคบงกช (2531) กล่าวว่า การให้การศึกษาแก่ผู้ปกครอง
หมายถึง การให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดู
เด็กเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้งทางร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและ
สติปัญญา เป็นการทาความเข้าใจและสร้างทัศนคติที่ถูกต้องในการอบรม
เลี้ยงดู ตลอดจนบทบาทหน้าที่ในการร่วมมือกันพัฒนาเด็กโดยใช้สื่อต่างๆ
โดยมีวัตถุประสงค์ในการให้ความรู้ผู้ปกครองในประเด็กสาคัญ ดังนี้
1. เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติและความต้องการของเด็ก โดยอาศัยพื้น
ฐานความรู้ และทฤษฏีเกี่ยวกับจิตวิทยาของเด็ก
2. เพื่อให้สามารถส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆ แก่เด็กได้อย่าง
ถูกต้องและสอดคล้องกับทางโรงเรียน
ความหมายของการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครอง (ต่อ)
กุลยา ตันติผลาชีวะ (2544) กล่าวว่า การศึกษาสาหรับผู้ปกครอง
หมายถึง การให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเพื่อเสริมสร้างศักยภาพการเลี้ยงดู
เด็กให้ถูกต้องและมีพัฒนาการที่ดี วิธีการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครองนี้มี
หลายวิธีทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดการศึกษาอาจกาหนดเป็น
รายบุคคลหรือรายกลุ่ม ขึ้นอยู่กับผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมายการศึกษา
สาหรับผู้ปกครองเป็ นกระบวนการอย่างเป็ นระบบที่จะสร้างให้
ผู้ปกครองมีความรู้ของการเป็นผู้ปกครองและมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงกับ
โรงเรียนในการที่จะพัฒนาเด็กให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาไปอย่างเต็ม
ศักยภาพ
สรุปความหมายของการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครอง
สรุปได้ว่า การให้การศึกษาแก่ผู้ปกครอง หมายถึง การให้ความรู้
เกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูเด็ก เพราะเด็กอยู่ในความรับผิดชอบของสถาบัน
ครอบครัว การให้ความรู้แก่ผู้ปกครองถือเป็นกระบวนการทางสังคม ซึ่ง
สังคมมีหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ให้แก่บุคคลภายในสังคมให้สอดคล้องกับ
การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในสังคม ทั้งในและนอกระบบ การให้
การศึกษาแก่ผู้ปกครองจึงเป็นการช่วยเหลือพ่อแม่ ผู้ปกครอง ตลอดจนผู้ที่
เตรียมตัวจะเป็นพ่อแม่ให้ได้เรียนรู้ถึงวิธีการในการดูแล อบรมเลี้ยงดู และ
ให้การศึกษาแก่เด็ก เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพและได้รับ
ประสบการณ์ที่มีคุณค่า เพื่อการพัฒนาตนต่อไปในอนาคต
ความสาคัญของการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครอง
Verna, 1972 กล่าวว่า การให้ความรู้ผู้ปกครอง จะช่วยให้ผู้ปกครอง
เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับการศึกษาซึ่งกันและกัน อันจะช่วยลดปัญหาความ
ขัดแย้งต่อกัน ที่อาจเป็นสาเหตุทาให้เด็กเกิดความสับสน
Galen, 1991 กล่าวว่า การให้ความรู้ผู้ปกครอง จะช่วยให้ผู้ปกครอง
ได้รับข้อมูลที่ดีในการเลี้ยงดู และการเข้ามาเกี่ยวข้องกับการศึกษาของ
ผู้ปกครองจะช่วยให้เด็กประสบความสาเร็จได้
ความสาคัญของการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครอง (ต่อ)
อรุณี หรดาล (2536) กล่าวว่า การให้การศึกษาแก่ผู้ปกครองเด็ก
ปฐมวัยมีความสาคัญดังนี้
1. ช่วยให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของเด็ก
2. ช่วยให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการอบรมเลี้ยงดู
3. ช่วยให้ผู้ปกครองเข้าใจถึงผลของการกระทาของตนเองที่จะมีต่อ
เด็กอันจะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนเอง
ความสาคัญของการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครอง (ต่อ)
4. ช่วยให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการจัดการศึกษา
ในระดับปฐมวัย
5. ช่วยให้ผู้ปกครองมีความรู้และฝึกทักษะ เทคนิคและวิธีการจัด
สภาพแวดล้อมภายในบ้านที่จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ ให้เป็นไปอย่าง
ถูกต้อง
6. ช่วยให้ผู้ปกครองเข้าใจถึงความสาคัญของการมีส่วนร่วมของ
ผู้ปกครองในการจัดการศึกษาปฐมวัย และการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
ระหว่างครูและผู้ปกครอง ซึ่งจะมีผลดีต่อตัวเด็กโดยตรง
สรุปความสาคัญของการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครอง
การให้การศึกษาแก่ผู้ปกครองเป็นสิ่งสาคัญที่มีต่อการศึกษาเด็กปฐมวัย
สรุปได้ดังนี้
1. เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาของเด็ก
2. เป็นการให้ผู้ปกครองได้เข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ของตนเองที่มีต่อ
การศึกษาของเด็ก
3. ทาให้ลดความขัดแย้งในการดาเนินงานทางการศึกษา ช่วยให้การศึกษา
เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
4. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนสนับสนุนและพัฒนาการศึกษาของเด็ก
5. ช่วยทาให้สถาบันครอบครัวมีความแข็งแรง
วัตถุประสงค์ในการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครอง
Linda Bierstecker, 1992 ได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการให้
การศึกษาแก่ผู้ปกครองไว้ดังนี้
1. เพื่อให้ผู้ปกครองได้เข้าใจวิธีดูแลเด็กและการจัดกิจกรรมของ
โรงเรียน
2. เพื่อให้ผู้ปกครองและครูประสานความร่วมมือเพื่อพัฒนาเด็กร่วมกัน
3. เพื่อให้ผู้ปกครองเข้าใจถึงความต้องการของเด็กและสามารถส่งเสริม
การเรียนรู้ให้แก่เด็กที่บ้านได้อย่างถูก
สรุปวัตถุประสงค์ในการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครอง
การให้การศึกษาแก่ผู้ปกครองโดยสรุปมีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. เพื่อให้เข้าใจถึงวิธีการในการอบรมเลี้ยงดูเด็กและให้การศึกษาแก่เด็ก
2. เพื่อให้ความรู้และวิธีการในการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้
ให้แก่เด็ก
3. เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวการศึกษาของเด็กที่โรงเรียนเพื่อให้ที่
บ้านเข้าใจตรงกัน
4. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองได้ตระหนักถึงบทบาทของตนเองในการมี
ส่วนร่วมส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ให้แก่บุตรหลาน
5. เพื่อให้ผู้ปกครองได้รับรู้และเข้ามามีบทบาทในการจัดการศึกษาให้แก่
บุตรหลาน
รูปแบบในการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
การจัดการศึกษาที่เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองเข้ามามีบทบาทในการจัด
การศึกษา การให้ความรู้ผู้ปกครอง จึงมีความสาคัญที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้
ดาเนินงาน เพื่อจัดรูปแบบในการให้ความรู้เพื่อเข้าถึงเป้าหมาย รูปแบบการให้
ความรู้ผู้ปกครองสามารถกระทาได้ด้วยวิธีการดังนี้
- การให้ความรู้แบบทางการ (formal) เช่น การบรรยาย การอภิปราย
การโต้วาที ฯลฯ
- การให้ความรู้แบบไม่เป็นทางการ (informal) เช่น การระดมสมอง การ
ประชุมโต๊ะกลม การประชุมกลุ่มย่อย
เป็นทางการ
ไา่เป็นทางการ
การบรรยาย (lecture)
การใช้สื่อชนิดต่างๆ (audio, audio-visual, book levies)
การโต้วาที (debate)
การอภิปราย (panel)
การพบปะสนทนา (colloquy)
การแสดงละคร (dramatization)
การปาฐกถาหมู่ (symposium)
การแสดงบทบาทสมมุติ (role playing)
การสังเกต (observation)
การประชุมเชิงปฏิบัติการ (workshop)
การประชุมกลุ่มย่อย (buzz sessions)
การประชุมโต๊ะกลม (round table)
การระดมสมอง (brainstorming)
การเยี่ยมบ้าน (home visiting)
การบรรยายโดยให้ผู้ฝังมีส่วนร่วม (lecture forum)
รูปแบบการให้ความรู้ผู้ปกครอง
รูปแบบในการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
อรุณี หรดาล (2536) ได้เสนอรูปแบบการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองที่
เหมาะสมกับสังคมไทย ควรมีลักษณะผสมผสานระหว่างรูปแบบที่เป็น
ทางการและไม่เป็นทางการ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเนื้อหาความรู้ และขนาดของ
กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งมีอยู่ 5 ลักษณะ ดังนี้
1. เป็นรายบุคคล การให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเป็นรายบุคคล ส่วนมากจะ
จัดแบบไม่เป็นทางการ เช่น การเยี่ยมบ้าน การสนทนาซักถาม ฯลฯ
รูปแบบในการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
2. กลุ่มขนาดเล็ก รูปแบบการให้ความรู้ในกลุ่มเล็ก ส่วนมากจะจัดแบบ
ไม่เป็นทางการ เช่น การพบปะสนทนา การประชุมกลุ่มย่อย การประชุมโต๊ะ
กลม การระดมสมอง ฯลฯ
3. กลุ่มขนาดใหญ่ อาจจัดได้หลายรูปแบบทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็น
ทางการ เช่น การบรรยาย การอภิปราย การประชุมเชิงปฏิบัติการ
4. ระดับชุมชน เช่น การบรรยาย การปาฐกถาหมู่ การโต้วาที การ
อภิปรายกลุ่ม การสนทนา ฯลฯ
5. ระดับมวลชน เช่น วิทยุเทปเสียง วีดีทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์
รูปแบบในการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
ฉันทนา ภาคบงกช (2531) ได้แบ่งรูปแบบการให้
ความรู้แก่ผู้ปกครองแบบผสมผสานเพื่อให้เหมาะสมกับ
สังคมไทยเป็น 4 ระดับ ดังนี้
1. ระดับห้องเรียน
2. ระดับโรงเรียน
3. ระดับชุมชน
4. ระดับมวลชน
รูปแบบในการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
จากรูปแบบดังกล่าวข้างต้นสามารถสรุปออกเป็นลักษณะของฐาน
การเรียนรู้เป็น 3 รูปแบบ ดังนี้
1. การใช้บ้านเป็นฐานในการเรียนรู้ (home base) เป็นการจัด
กิจกรรมให้ความรู้กับผู้ปกครองถึงที่บ้าน เช่น การเยี่ยมบ้าน การส่ง
จดหมาย เอกสารถึงบ้าน การจัดทาโฮมสคูล (Home School)
2. การใช้โรงเรียนเป็นฐานในการเรียนรู้ (school base) เป็นการจัด
กิจกรรมความรู้ให้ผู้ปกครองที่โรงเรียน เช่น การจัดแสดงผลงานเด็ก
การประชุม การจัดสัมมนา การจัดนิทรรศการ การจัดมุมผู้ปกครอง
รูปแบบในการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
3. การใช้ชุมชนเป็นฐานในการเรียนรู้ (community vase) เป็นการ
เผยแพร่ความรู้ผ่านชุมชน เช่น หมู่บ้าน วัด โบสถ์มัสยิด วิทยุโทรทัศน์
ระบบอินเตอร์เน็ต วารสาร นิตยสาร สื่อสิ่งพิมพ์ฯลฯ ซึ่งกิจกรรมที่จัดโดย
ผ่านชุมชนประเภทต่างๆ พ่อแม่ ผู้ปกครองสามารถเลือกเรียนรู้ได้ตาม
ความสนใจที่สอดคล้องกับสภาพทางครอบครัว สังคม และวัฒนธรรมของ
ตนเอง นับเป็นแนวทางให้ความรู้ที่เหมาะสมกับผู้ปกครองในสังคมยุค
ปัจจุบันมากขึ้น
แนวทางการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
ฉันทนา ภาคบงกช (2531) ได้เสนอแนวทางในการให้ความรู้แก่
ผู้ปกครองไว้ดังนี้
1. สารวจความสนใจ ความต้องการ รวมทั้งปัญหาต่างๆ ในการอบรม
เลี้ยงดูเด็ก โดยการสัมภาษณ์หรือใช้แบบสอบถาม
2. จัดบริการต่างๆ เพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ผู้ปกครอง เช่น -
เชิญวิทยากรมาบรรยาย อภิปราย สาธิต
- จัดห้องสมุดและศูนย์ของเล่นสาหรับเด็ก
- จัดศูนย์แนะแนวผู้ปกครองเพื่อให้คาแนะนา
- จัดตั้งชมรมหรือสมาคมผู้ปกครอง
แนวทางการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
Linda Bierstecker, 1992 ได้เสนอแนวทางในการ
เตรียมการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองไว้ดังนี้
การวางแผน
- กาหนดวัตถุประสงค์
- จัดเตรียมการประชุม
- จัดทากาหนดการ
ประชุม
ดาเนินการประชุม
ประเมินผลการ
ประชุม
-การบรรลุ
วัตถุประสงค์
- ความพร้อมของการ
ประชุม
- หัวข้อการประชุม
- ขั้นตอนการประชุม
ฯลฯ
การออกจดหมาย
ข่าวผลประชุม
การมีส่วนร่วมของสังคมเพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย
เด็ก
ครอบครัว
สถานศึกษา
ชุมชน
สังคม
รัฐบาล
สังคมโลก
บทบาทของผู้ปกครองในการร่วมกิจกรรม
การให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง
อรุณี หรดาล (2536) ได้กล่าวถึงบทบาทของผู้ปกครองไว้ดังนี้
บทบาทของผู้ใฝ่หาความรู้ บทบาทของสมาชิกกลุ่มที่ดี
- การเป็นผู้ริเริ่า – ผู้นา
- การใหม้ข้อเท็จจริง
- การอธิบายควาาหมาายเพิ่าเติา
- การถาา
- การแส งควาาคิ เหม็น
- การสรุป
- การสนับสนุนใหม้กาลังใจ
- การประนีประนอา
- การเป็นผู้ฟังที่ ี
- การเป็นผู้ถาาที่ ี
- การสังเกตและการจ บันทึกข้อาูล
แนวปฏิบัติของสถานศึกษา
ในการจัดกิจกรรมการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง สถานศึกษาถือเป็นส่วน
หนึ่งที่จะทาให้ผู้ปกครองได้ประสบผลสาเร็จในการเรียนรู้ ดังนั้น
สถานศึกษาควรมีแนวปฏิบัติดังนี้
1. รับฟังความคิดเห็นและความรู้สึกที่ผู้ปกครองมีกับลูก
2. ขณะที่พูดคุยกับผู้ปกครองเด็ก ไม่ใช้เป็นการพูดถึงเด็กในทางที่ไม่ดี
เท่านั้น แต่ควรพูดถึงในสิ่งที่ดีที่เด็กสามารถพัฒนาขึ้นมาก
3. ควรหลีกเลี่ยงคาอธิบายหรือใช้คาศัพท์ทางวิชาการในการอธิบาย
พูดคุยกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง
ผู้ปกครองถือเป็นผู้ที่าีควาาสัาพันธ์และาีอิทธิพลต่อควาาเจริญเติบโต
พัฒนาการ การเรียนรู้ การปลูกฝังคุณธรรา จริยธรราใหม้แก่เ ็กปฐาวัย การที่
ผู้ปกครองาีควาารู้ ควาาเข้าใจที่ถูกต้องในการอบราเลี้ยง ูเ ็กปฐาวัย ก็จะช่วย
ใหม้ประสบผลสาเร็จในชีวิตตั้งแต่เริ่าต้น การใหม้ควาารู้ผู้ปกครองนับเป็นงานที่
ต้องอาศัยควาาร่วาาือกับหมน่วยงานทุกฝ่าย เพื่อ าเนินการเผยแพร่ควาารู้
ควาาเข้าใจที่ถูกต้องใหม้ผู้ปกครอง หมน่วยงานที่าีบทบาทหมลักในการใหม้ควาารู้
แก่ผู้ปกครองคือ สถานศึกษา ซึ่งจะต้อง าเนินการใหม้ควาารู้ควาาเข้าใจในเรื่อง
การอบราเลี้ยง ู การส่งเสริาพัฒนาการและการเรียนรู้ การจั การศึกษาของ
สถานศึกษา บทบาทของผู้ปกครองกับการศึกษาของเ ็กทั้งที่บ้านและ
สถานศึกษา โ ย าเนินการใหม้การศึกษาแก่ผู้ปกครองโ ยเลือกรูปแบบวิธีการ
ที่เหมาาะสากับสภาพแว ล้อาทางการศึกษาของผู้ปกครอง เพื่อใหม้ผู้ปกครอง
รับประโยชน์สูงสุ ประกอบ ้วย 3 รูปแบบ คือ บ้านเป็นฐานการเรียนรู้ โรงเรียน
เป็นฐานการเรียนรู้ และชุาชนเป็นฐานการเรียนรู้
คาถามท้ายบท
1. การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบันการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองมี
ความสาคัญอย่างไร จงอธิบาย
2. ในสถานศึกษาปฐมวัยสามารถดาเนินกิจกรรมการให้ความรู้
ผู้ปกครองในลักษณะหรือรูปแบบใดบ้าง จงอธิบาย และยกตัวอย่างของ
กิจกรรม
3. นักศึกษามีแนวคิดอย่างในการใช้บ้านเป็นฐานของการให้ความรู้
ผู้ปกครอง
4. องค์ความรู้ที่จาเป็นในการให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
เกี่ยวข้องกับเรื่องใดบ้าง

More Related Content

What's hot

ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาChowwalit Chookhampaeng
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4Sombom
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1krupornpana55
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
บทท 1 ความหมายของผ^hปกครอง
บทท   1 ความหมายของผ^hปกครองบทท   1 ความหมายของผ^hปกครอง
บทท 1 ความหมายของผ^hปกครองMayko Chan
 

What's hot (20)

ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
บทท 1 ความหมายของผ^hปกครอง
บทท   1 ความหมายของผ^hปกครองบทท   1 ความหมายของผ^hปกครอง
บทท 1 ความหมายของผ^hปกครอง
 

Viewers also liked

บทท 4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
บทท   4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครองบทท   4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
บทท 4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครองPitchayakarn Nitisahakul
 
บทท 5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
บทท   5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษาบทท   5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
บทท 5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษาPitchayakarn Nitisahakul
 
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)นพพร ตนสารี
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt yuapawan
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาEye E'mon Rattanasiha
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)Uraiwan Chankan
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 

Viewers also liked (16)

บทท 4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
บทท   4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครองบทท   4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
บทท 4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
 
บทท 5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
บทท   5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษาบทท   5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
บทท 5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
 
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
Role playing
Role playingRole playing
Role playing
 

Similar to บทท 2 หล_กเบ__องต_นในการให_การศ_กษาแก_ผ__ปกครอง 1

R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nattawad147
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8benty2443
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8wanneemayss
 
9789740331278
97897403312789789740331278
9789740331278CUPress
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
Education problem of thailand
Education problem of thailandEducation problem of thailand
Education problem of thailandtenglifangad
 

Similar to บทท 2 หล_กเบ__องต_นในการให_การศ_กษาแก_ผ__ปกครอง 1 (20)

R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
9789740331278
97897403312789789740331278
9789740331278
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 4ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 4
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
Education problem of thailand
Education problem of thailandEducation problem of thailand
Education problem of thailand
 

บทท 2 หล_กเบ__องต_นในการให_การศ_กษาแก_ผ__ปกครอง 1