SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
บทที่ 1
ความหมาย ความสาคัญ และทรัพยากรในเศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์อยู่รอบตัวเรา นักเรียนว่าอย่างนั้นไหมครับ ?
มนุษย์เราต้องการปัจจัย 4 อันได้แก่ อาหาร ยารักษาโรค เครื่องนุ่งห่ม และที่อยู่อาศัยใน
การดารงชีวิต สมัยก่อนมนุษย์มีกันไม่มากจึงจัดสรรปันปัจจัย 4 กันได้ไม่ยาก แต่ต่อมามนุษย์มี
จานวนมากขึ้น ปัจจัย 4 ก็มีไม่เพียงพอจะจัดสรรให้ทุกคนจึงเกิดการแย่งชิงกัน ด้วยเหตุนี้เอง
เศรษฐศาสตร์จึงเกิดขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่สาคัญในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้มนุษย์
นาไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีอยู่อย่างไม่จากัด ครับ
การศึกษาเศรษฐศาสตร์ จาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค คือการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจระดับย่อย
เช่น การซื้อขายสินค้าภายในชุมชน การออกเงินของคนในครอบครัว การจ้างงานของคนใน
ตาบล
2. เศรษฐศาสตร์มหาภาค คือ การศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ
ระดับใหญ่ เช่น รายได้ประชาชาติ (รายได้รวมของคนทั้งชาติ)
การค้าระหว่างประเทศ
สรุป เศรษฐศาสตร์คือการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด
เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีอยู่อย่างไม่จากัด ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์นอกจากจะทาให้เราเข้าใจระบบเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน
แล้ว ยังช่วยให้รัฐบาลสามารถแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและจัดการเศรษฐกิจของประเทศได้ดี ช่วยให้
นักลงทุนสามารถวางแผนการลงทุนได้ นอกจากนี้ยังเกี่ยวขอ้งกับชีวิตประจาวันของคนทุกคน
โดยตรง เช่น การตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าหรือบริการใดๆ การตัดสินใจลดค่าใช้จ่ายใดๆ อีกด้วย
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
การจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดเพื่อตอบสนองความต้องการไม่จากัดเป็นเรื่องยาก
ผู้ผลิตทุกรายต้องประสบปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ 3 ข้อในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ให้
กระจายสู่ผู้บริโภคอย่าง ทั่วถึง ปัญหาพื้นฐานดังกล่าวประกอบด้วย ผลิตอะไร – ผลิตอย่างไร –
และผลิตเพื่อใคร
ผลิตอะไร – What
ผู้ผลิตต้องคิดว่าจะผลิตสินค้าและบริการอะไร จานวนเท่าไร ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง
จากัดออกมาตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่มีไม่จากัด
ผลิตอย่างไร – How
ผู้ผลิตต้องคิดว่าจะผลิตสินค้าหรือบริการนั้นอย่างไร จึงจะใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ได้
อย่างมีประสิทธิภาพที่สุดและมีต้นทุนการผลิตต่าที่สุด
ผลิตเพื่อใคร – For Whom
ผู้ผลิตต้องคาดการณ์หรือกาหนดว่าใครคือผู้บริโภคของตน
ความสาคัญของเศรษฐศาสตร์
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
ปัจจัยการผลิต ( ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ )
ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์อันเป็นปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการมีทั้งหมด 4 ประเภท
ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง ผลตอบแทน
ที่ดิน ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติที่
ใช้เป็นปัจจัยในการผลิต
ค่าเช่า
แรงงาน ทรัพยากรมนุษย์ กาลังแรงงาน
สติปัญญา
ค่าจ้าง
ทุน เงินทุน
สินค้าที่เป็นทุน เช่น
เครื่องจักรกล ที่ใช้ในการผลิต
สินค้า สัตว์ที่ใช้แรงงาน (นัก
เศรษฐศาสตร์ถือว่าสัตว์ที่ใช้
แรงงานเป็นทุน )
ดอกเบี้ย
ผู้ประกอบการ ผู้ทาหน้าที่ควบคุมปัจจัยการ
ผลิตทั้ง 3 อย่าง
กาไร
นักเรียนดูตารางแล้วเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตกับผลตอบแทนกันไหมครับ
? สมมติว่าครูปอเป็นเจ้าของโรงงานทาน้าหอม ตราสุนัขหางงอ เท่ากับครูปอเป็นผู้ประกอบการ ครู
ต้องเช่าที่ดินเพื่อสร้างโรงงาน เจ้าของที่ดินจะได้รับค่าเช่าที่ครูปอต้องจ่ายให้ทุกเดือน ( นักเรียนจะ
เห็นว่าที่จริงแล้วครูไม่ได้ให้ค่าเช่ากับที่ดิน แต่ครูให้ค่าเช่ากับเจ้าของทีดิน ) เมื่อครูเปิดโรงงานได้
แล้วก็ต้องสั่งทาเครื่องจักรผลิตขวดน้าหอม เครื่องจักรเหล่านั้นถือว่าเป็นทุน (นักเรียนอาจจะ
สงสัยว่า เอ.... แล้วเครื่องจักรจะได้รับผลตอบแทนเป็นดอกเบี้ยได้อย่างไร คืออย่างนี้ครับ
เครื่องจักรที่ถือว่าเป็นทุนนี้ ครูกู้เงินจากธนาคารมาซื้อ ทุกๆเดือน ครูจะต้องจ่ายหนี้ที่กู้ยืมมาจาก
ธนาคารพร้อมดอกเบี้ย ธนาคารจึงเป็นเสมือนเจ้าของทุนที่ได้รับดอกเบี้ยเป็นสิ่งตอบแทน แต่เมื่อ
ครูจ่ายหนี้หมดแล้ว ครูก็จะเป็นเจ้าของทุนหรือเครื่องจักรเหล่านี้เองครับ) เมื่อตั้งโรงงานและมี
เครื่องจักรแล้ว ครูก็จัดการจ้างแรงงานมาทาน้าหอม อีก 50 คน แรงงานเหล่านี้จะได้รับค่าจ้างเป็น
สิ่งตอบแทน คราวนี้นักเรียนคงพอจะเข้าใจใช่ไหมครับ ว่าทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์และ
ผลตอบแทนนั้นสัมพันธ์กันอย่างไร
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
บทที่ 2
สินค้า บริการ และ หลักอุปสงค์ – อุปทาน
นักเรียนพอจะมองกันออกไหมครับว่า สินค้าและบริการนั้นแตกต่างกันอย่างไร
สินค้าคือวัตถุสิ่งของที่เป็นรูปธรรม สัมผัสและแตะต้องได้ ส่วนบริการนั้นมีลักษณะเป็น
นามธรรม เช่น บริการซักรีด บริการมอเตอร์ไซค์รับจ้าง การผลิตสินค้าและบริการนั้น ผู้ประกอบการ
จะต้องดาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ คือใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่ามากที่สุด โดยจะต้องพิจารณา
ความต้องการของผู้บริโภค คานึงถึงต้นทุนในการผลิตประกอบกับความต้องการขายของ
ผู้ประกอบการด้วยกัน เราเรียกความต้องการซื้อของผู้บริโภค และความต้องการขายของ
ผู้ประกอบการว่า
“อุปสงค์ – อุปทาน” ครับทุกคน
อุปสงค์ (Demand)
ความต้องการซื้อของผู้บริโภค
หากให้ครูปอ จากัดความคาว่า “อุปสงค์” แบบเป็นทางการ ครูจะจากัดความว่า “ปริมาณสินค้า
และบริการที่ผู้บริโภคเต็มใจซื้อและมีอานาจซื้อ ณ ระดับราคาใดๆ ในช่วงเวลาใดเวลา
หนึ่ง”แต่หากจากัดความแบบเข้าใจง่าย อุปสงค์ก็คือความต้องการ / ความพึงพอใจที่จะซื้อของ
ผู้บริโภคหรือผู้ซื้อ และคนซื้อสามารถซื้อได้ นั้นเองครับ
ปัจจัยกาหนดอุปสงค์
ปัจจัย อธิบาย
ราคาสินค้า ราคาเป็นปัจจัยหลักในการกาหนดอุปสงค์ เพราะหัวใจของอุปสงค์คือผู้ซื้อ /
ผู้บริโภค ราคาจึงมีผลต่อผู้ซื้อมาก ผู้ซื้อมักชื่นชอบสินค้าและบริการที่มีราคาถูก
ขณะเดียวกันก็ต้องมีคุณภาพ ราคาจึงเป็นปัจจัยแรกที่ผู้ซื้อคานึงถึง หากสินค้า
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
ใดมีราคาถูก (และมีคุณภาพดีหรือพอใช้) ผู้ซื้อย่อมสนใจเลือกซื้อสินค้านั้น
ส่งผลให้อุปสงค์ของสินค้านั้นเพิ่มสูงขึ้น ในทางกลับกันหากราคาสินค้าแพงขึ้น
อุปสงค์ของสินค้านั้นก็จะลดลง แต่ก็ไม่ใช่ว่าราคาจะมีผลต่ออุปสงค์ของสินค้า
หรือบริการนั้นๆ เพียงอย่างเดียว การคาดคะเนของผู้ซื้อก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ทาให้อุป
สงค์เพิ่มสูงขึ้นหรือลดต่าลงได้ เช่น หากผู้ซื้อคาดการณ์ว่าพรุ่งนี้ราคาน้ามันจะ
สูงขึ้น ผู้ซื้อก็จะซื้อน้ามันในปริมาณที่มากกว่าปกติ ทาให้อุปสงค์ของน้ามันเพิ่ม
สูงขึ้น แต่หากผู้ซื้อคาดการณ์ว่าน้ามันจะลดราคาในสัปดาห์ต่อไป ในช่วงก่อน
สัปดาห์หน้าอุปสงค์ของน้ามันก็จะลดต่าลง เพราะผู้ซื้อจะรอไปซื้อในสัปดาห์
ถัดไป
รายได้ผู้ซื้อ ผู้ซื้อที่มีรายได้เยอะย่อมสามารถซื้อสินค้าและบริการต่างๆ ได้มากกว่าผู้ซื้อที่มี
รายได้น้อย เมื่อใดที่เศรษฐกิจดี ประชาชนมีอัตราการว่างงานน้อย มีรายได้สูง
อุปสงค์ของสินค้าและบริการก็จะสูงขึ้นตาม แต่หากเศรษฐกิจไม่ดี ผู้คนไม่ค่อย
จับจ่ายใช้สอยรายได้ของผู้ซื้อน้อยลง อุปสงค์ก็จะลดต่าลง ครับ คุณนักเรียน
สินค้าที่
เกี่ยวข้อง
สินค้าที่เกี่ยวข้อง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1) สินค้าทดแทน คือสินค้าที่สามารถใช้ทดแทนกันได้ เช่น นักเรียนสั่ง
น้าอัดลมยี่ห้อ ก. แต่เจ้าของร้านไม่มี มีแต่น้าอัดลมยี่ห้อ ข. นักเรียน
กระหายน้ามากก็เลยซื้อ เพราะน้าอัดลมทั้งสองยี่ห้อมีรสชาติไม่ต่างกัน
นัก ราคาก็เท่ากัน เราเรียกสินค้าลักษณะเช่นนี้ว่า “สินค้าทดแทน” (ไม่มี
สินค้ายี่ห้อนี้ก็ใช้ยี่ห้ออื่นแทนได้)
2) สินค้าใช้ด้วยกัน คือสินค้าที่ต้องใช้คู่กัน เมื่อสินค้าอย่างหนึ่งราคาถูกลงก็
จะส่งผลให้อุปสงค์ของสินค้าอีกอย่างหนึ่งที่ใช้คู่กันเพิ่มขึ้นด้วย เช่น ถ้า
ดินสอกดราคาถูกลง อุปสงค์ของไส้ดินสอที่ต้องใช้ด้วยกันไม่ว่าจะถูก
หรือแพงกว่าดินสอกดก็จะสูงกว่าปกติ ในทางกลับกัน หากดินสอกด
แพงขึ้น อุปสงค์ของไส้ดินสอก็จะลดต่าลงครับ
สรุป สินค้าทดแทน – ไม่มีสินค้ายี่ห้อนี้ก็สามารถใช้อีกยี่ห้อหนึ่งแทนได้
สินค้าใช้ด้วยกัน – สินค้า 2 ประเภทที่ใช้งานด้วยกัน เมื่อซื้อสินค้าต้องซื้อ
คู่กัน
จานวน
ประชากร
หากประชากรต้องการซื้อสินค้าหรือบริการใดเป็นจานวนมาก อุปสงค์ของสินค้า
และบริการนั้นก็จะสูงขึ้น กลับกันหากประชาชนต้องการซื้อสินค้าหรือบริการใด
น้อย อุปสงค์ก็จะต่าลง
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
ฤดูกาล /
เทศกาล
บางครั้งอุปสงค์ก็เกี่ยวข้องกับฤดูกาลหรือเทศกาลด้วย เช่น ฤดูฝน ร่มจะขายดี
อุปสงค์ของร่มจึงเพิ่มสูงขึ้น แต่หากเป็นฤดูหนาว อุปสงค์ของร่มจะต่าลง
เทศกาลสงกรานต์ อุปสงค์ของปืนฉีดน้าสูง และเทศกาลปีใหม่อุปสงค์ของ
กระเช้าของขวัญสูง
โฆษณา /
รสนิยม
ผู้ประกอบการที่ต้องการให้อุปสงค์สินค้าของตนเองสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จะใช้วิธี
โฆษณา ประชาสัมพันธ์ในการทาให้ผู้ซื้อสินค้าจาสินค้าได้ขึ้นใจ และส่งผลให้ผู้ซื้อ
เลือกซื้อสินค้านั้นๆ อย่างสม่าเสมอ นอกจากนี้รสนิยมก็ยังส่งผลต่ออุปสงค์อีก
ด้วย เพราะรสนิยมหรือความชื่นชอบส่วนบุคคลจะทาให้ผู้ซื้อสินค้านั้นอย่าง
ต่อเนื่อง
กฎของอุปสงค์
แม้ว่าปัจจัยที่มีผลต่ออุปสงค์จะมีหลายข้อด้วยกัน แต่ราคาเป็นปัจจัยแรก
ที่มีผลต่ออุปสงค์ ราคาของสินค้าและอุปสงค์แปรผกผันกัน ให้นักเรียนจากฎ
อุปสงค์ง่ายๆ ว่า ของถูก – ซื้อมาก ของแพง – ซื้อน้อย นะครับบบบบ
กราฟแสดงอุปสงค์ที่มีราคาเป็นปัจจัยสาคัญ
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
ชวนรู้
แปรผกผันคืออะไร ? นักเรียนอาจจะงง หรือไม่เข้าใจว่า ทาไมอุปสงค์จึง
แปรผกผันกับราคา ให้นักเรียนสังเกตที่กราฟด้านบนครับ นักเรียนจะเห็นแกนตั้งเป็น
ราคาและแกนนอนเป็นปริมาณความต้องการสินค้า เมื่อสินค้ามีราคา 100 บาท (ของ
แพง) ความต้องการสินค้าจะอยู่ที่ 30 ชิ้น (ซื้อน้อย) แต่เมื่อสินค้าราคาลดลงเหลือ 40
บาท (ของถูก) ความต้องการสินค้าก็เพิ่มขึ้นสูงขึ้นเป็น 180 ชิ้น (ซื้อมาก) นั่นแสดงว่า
ราคาสินค้าและความต้องการสินค้านั้นแปรผกผันสวนทางกัน ราคายิ่งแพงคนซื้อยิ่งน้อย
ราคายิ่งถูกคนซื้อยิ่งมาก นะครับ
แพง ซื้อน้อย
ถูก ซื้อมาก
นักเรียนจะเห็นว่าหัวลูกศรในแต่ละบรรทัดนั้นชี้ไปคนละทิศ
อุปสงค์ที่มีราคาเป็นปัจจัยสาคัญก็แปรผกผันกัน เหมือนกับหัวลูกศรนี้แหละครับ
อุปทาน (Supply)
ความต้องการขายของผู้ประกอบการ
เมื่อมีผู้ซื้อหรือผู้บริโภคแล้ว ก็ต้องมีผู้ขายหรือผู้ประกอบการด้วย ผู้ประกอบการ
ที่ว่านี้อาจจะเป็นผู้ผลิตและขายเอง หรืออาจจะเป็นผู้รับสินค้ามาขายอีกทอดหนึ่งก็ได้
อุปทานคือความเสนอขาย หรือนักเรียนบางคนใช้คาว่าความต้องการขาย คาจากัดความ
แปรผกผัน
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
อย่างเป็นทางการของอุปทานคือ “ปริมาณสินค้าและบริการที่ผู้ขายหรือผู้ผลิตเต็มใจขาย
ณ ระดับราคาใดๆ ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง” แต่หากจากัดความแบบง่ายๆ
“อุปทานก็คือปริมาณสินค้าและบริการที่ผู้ขายยินดีจะขายเมื่อได้ราคาที่ตนพอใจ”
ปัจจัยกาหนดอุปทาน
ปัจจัย อธิบาย
ราคาสินค้า ราคาเป็นปัจจัยในการกาหนดอุปทานเช่นเดียวกับอุปสงค์ เป็นธรรมดาที่
ผู้ขายต้องการขายสินค้าให้ได้กาไรมากที่สุด ยิ่งราคาขายสูงขึ้นผู้ขายก็ยิ่ง
อยากขายมากขึ้นในทางกลับกัน หากราคาขายถูกลงผู้ขายย่อมไม่
ต้องการขาย เพราะมีแรงจูงใจ (กาไร) น้อย นอกจากราคาสินค้าจะเป็น
ปัจจัยกาหนดอุปทานแล้ว การคาดคะเนราคาสินค้าก็มีผลด้วยเช่นกัน
เช่น หากผู้ขายเห็นว่าสัปดาห์ถัดไปสินค้าจะขายได้ราคาสูงขึ้น ผู้ขายก็จะ
กักตุนสินค้าไว้รอขายเมื่อราคาสูงขึ้นแล้ว ทาให้ช่วงก่อนสัปดาห์หน้า
อุปทานหรือความต้องการขายลดน้อยลง (สินค้าในตลาดมีน้อยลง
เพราะผู้ขายไม่อยากขายตอนนี้ต้องการขายเมื่อราคาสูง ) ในทางกลับกัน
หากผู้ขายคะเนว่าสินค้าจะขายได้ราคาต่าลง ผู้ขายจะรีบผลิตหรือนา
สินค้านั้นออกมาขายทันทีอุปทานจึงสูงขึ้น (สินค้าออกสู่ตลาดจานวน
มากเพราะผู้ขายต้องรีบขายก่อนราคาตก)
ต้นทุนการ
ผลิต
ผู้ขายทุกรายล้วนต้องการลดต้นทุนเพื่อจะได้ขายสินค้าให้ได้กาไร
สูงสุด หากต้นทุนที่ใช้ผลิตสินค้ามีราคาสูง ผู้ขายก็จะได้กาไรน้อยลง
และหากไม่สามารถปรับเพิ่มราคาขายได้ ผู้ขายก็ย่อมไม่อยากผลิต
สินค้าออกมาขายเพราะได้กาไรน้อย ส่งผลให้อุปทานน้อย
นักเรียนจะเห็นว่าความต้องการของผู้ขายและผู้ซื้อนั้นแตกต่างกัน
ขณะที่ผู้ขาย (ผู้ผลิต) ต้องการลดต้นทุนและขายสินค้าในราคาสูง ผู้ซื้อ
ก็ต้องการสินค้าคุณภาพดีและราคาถูก เมื่อผู้ขายต้องการผลิตสินค้า
ราคาถูกตามความต้องการของผู้ซื้อ จึงเกิดมีสินค้าราคาถูกแต่ไร้
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
คุณภาพออกสู่ตลาด ทาให้ผู้ซื้อไม่พอใจและเกิดการฟ้องร้องทาง
กฎหมายตามมา
วิธีการผลิต
– คู่แข่ง
แม้การกาหนดราคาสินค้าให้สูงจะทาให้ผู้ขายได้กาไรเยอะขึ้น แต่ใน
ความเป็นจริงสินค้าบางชนิดก็ไม่สามารถตั้งราคาสูงได้เพราะมีราคาที่
เป็นมาตรฐานแล้ว หรือบางทีก็มีคู่แข่งที่ผลิตสินค้าประเภทเดียวกันแต่
จาหน่ายในราคาไม่แพงอยู่ ผู้ขายจึงต้องหากาไรเพิ่มด้วยการผลิต
สินค้าจานวนมาก โดยปัจจุบันผู้ผลิตนิยมใช้เทคโนโลยีเข้ามาแทน
แรงงานเพื่อลดต้นทุน เมื่อได้กาไรมาก อุปทานก็จะมาก นอกจากนี้
คู่แข่งยังเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่ออุปทานด้วย หากผู้ผลิตมีคู่แข่ง
มาก อุปทานก็จะมากด้วย แต่หากมีคู่แข่งน้อย อุปทานก็จะน้อยตามไป
ด้วย
นโยบาย –
ฤดูกาล/
เทศกาล
นโยบายจากภาครัฐเป็นปัจจัยหนึ่งที่กระตุ้นให้ความต้องการขายของ
ผู้ขายเพิ่มขึ้น รัฐอาจจะเข้ามาสนับสนุนในเรื่องของสินเชื่อให้กู้ยืม ลด
ภาษีบางชนิด หรือตั้งกาแพงภาษีนาเข้า ทาให้สินค้าในประเทศบางชนิด
มีราคาสูงขึ้น นโยบายของรัฐจะเพิ่มทั้งความมั่นใจและกาลังในการผลิต
สินค้าให้แก่ผู้ขาย ในส่วนของฤดูกาลหรือเทศกาลนั้นเป็นอีกปัจจัยหนึ่ง
ที่ให้อุปทานของผู้ขายเพิ่มขึ้น เช่น ฤดูร้อน ผู้ขายน้าอัดลมจะเพิ่มการ
ผลิตเพื่อรองรับความต้องการของผู้บริโภค อุปทานจึงเพิ่มสูงขึ้น หรือ
ในช่วงเทศกาลคริสต์มาส ผู้ซื้อต้องการต้นคริสต์มาสและอุปกรณ์
ประดับตกแต่งมากขึ้น อุปทานของสินค้าประดับตกแต่งเหล่านี้จึงมีมาก
ขึ้น
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
กฎของอุปทาน
แม้ว่าปัจจัยที่มีผลต่ออุปทานจะมีหลายอย่างด้วยกัน แต่ราคาเป็นปัจจัยแรกที่มี
ผลต่ออุปทาน
ราคาของสินค้าและอุปทานแปรตรงกัน ให้นักเรียนจากฎอุปทานง่ายๆ ว่า
“ของถูก – อยากขายน้อย ของแพง – อยากขายมาก” ครัรบบบบบบ
ชวนรู้ นะครับ
อุปทาน คือ ความต้องการขายของผู้ขายที่เป็นไปในทิศทางเดียววันกับราคาจาก กราฟ
นักเรียนจะเห็นว่าเมื่อสินค้ามีราคา 40 บาท ความต้องการขายจะอยู่ประมาณ 50 ชิ้น แต่
เมื่อสินค้าราคาสูงเป็น 100 บาท ความต้องการขายก็เพิ่มขึ้นตาม
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
แพง อยากขายมาก
แปรผันตรง
ถูก อยากขายน้อย
นักเรียนจะเห็นว่าหัวลูกศรในแต่ละบรรทัดนั้นชี้ไปทิศเดียวกัน อุปทานที่มีราคาเป็น
ปัจจัยสาคัญก็แปรผันตามกันเหมือนกับหัวลูกศรนั่นเอง ครับบบบบบบบบ
ทบทวน อุปสงค์ – อุปทาน
หากนักเรียน เห็นคาว่า “อุปสงค์” ให้คิดถึง คนซื้อ คนซื้อชอบราคาถูก ของถูกซื้อมาก
ของแพงซื้อน้อย แปรผกผันกัน
หากนักเรียนเห็นคาว่า “อุปทาน” ให้คิดถึง คนขาย คนขายชอบกาไร ของถูกอยากขาย
น้อย ของแพงอยากขายมาก แปรตรงกัน
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
อุปสงค์ส่วนเกิน อุปทานส่วนเกิน
ความเกินๆ ในระบบเศรษฐศาสตร์
เป็นเพราะอุปสงค์และอุปทานขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างไม่ใช่ราคาแค่เพียงอย่าง
เดียว เราจึงไม่สามารถกาหนดความต้องการซื้อและความต้องการขายได้แน่นอน ทาให้
บางครั้งก็เกิดภาวะสินค้าขาดตลาดเพราะมีความต้องการซื้อมาก และบางครั้งก็เกิดภาวะ
สินค้าล้นตลาดเพราะมีความต้องการขายมาก ภาวะทั้ง 2 อย่างนี้คืออะไร เรามาเรียนรู้กัน
ครับ
จากกราฟนักเรียนจะเห็นเส้น 2 เส้นด้วยกัน เส้นสีเขียวคือเส้นอุปสงค์ (ความต้องการซื้อ
– ผู้ซื้อ) ส่วนเส้นสีส้มคือเส้นอุปทาน (ความต้องการขาย – ผู้ขาย) จุด E ที่เส้นทั้งสอง
ตัดกันเรียกว่า “จุดดุลยภาพ” กราฟนี้บอกให้เรารู้ว่าผู้ซื้อและผู้ขายพอใจกับราคาสินค้า
คือ 60 บาทต่อหน่วย ทั้งสองฝ่าย หากผู้ขายนาสินค้าออกมาขายในราคาดังกล่าว 120 ชิ้น
ผู้ซื้อก็จะมีความต้องการและซื้อทั้งหมด 120 ชิ้น ผู้ขายไม่ขาดทุน ส่วนผู้ซื้อก็ได้สินค้าใน
ราคาเหมาะสม ส่วนเส้นอุปสงค์และอุปทานที่เลยจุดดุลยภาพไปก็คือ “อุปสงค์
ส่วนเกิน” และ “อุปทานส่วนเกิน” ครับบบบบบบบบบ
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
“อุปสงค์ส่วนเกิน” นักเรียนจาได้ไหมครับว่าอุปสงค์คืออะไร? พอนักเรียนเห็น
คาว่าอุปสงค์ให้คิดถึงคนซื้อ และราคาเป็นหลัก อุปสงค์ส่วนเกินจะเกิดขึ้นเมื่อราคา
สินค้าถูกหรือต่ากว่าราคาดุลยภาพ (ผู้ซื้ออยากได้ของถูก) ครับบบบบ
กรณีตัวอย่าง
บริษัทผลิตโทรศัพท์ยี่ห้อหนึ่งลดราคาสินค้า 50 % มีลูกค้าจานวนมากมาต่อแถว
รอซื้อโทรศัพท์ (สิ่งจูงใจผู้ซื้อ – ราคาถูก) แต่ปรากฏว่าสินค้าหมดก่อน ลูกค้าจานวนมาก
ไม่สามารถซื้อได้ (สินค้าขาดแคลน – ผู้ซื้อมีความต้องการซื้อมาก)
ผลกระทบ : เมื่อสินค้าที่ขาดตลาดไป กลับเข้ามาในตลาดอีกครั้ง สินค้านั้นจะถูก
ปรับราคาให้สูงขึ้นกว่าเดิม ราคาที่สูงขึ้นจะทาให้ความต้องการซื้อ (อุปสงค์) ลดลงและ
ความต้องการขาย (อุปทาน) เพิ่มขึ้น เพราะเมื่อราคาแพงขึ้น ผู้ขายก็จะอยากขายมาก
เพราะได้กาไรมาก
อุปทานส่วนเกิน เมื่อพูดถึงอุปทานให้นักเรียนคิดถึงคนขายและกาไร ยิ่งสินค้ามีคามแพงมากก็ยิ่ง
อยากขายมาก อุปทานส่วนเกินจะเกิดขึ้นเมื่อราคาสินค้าแพงขึ้นหรือสูงกว่าราคาดุลยภาพ (ผู้ขาย
อยากได้กาไร) ครับบบบบบ
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
กรณีตัวอย่าง
แม่ค้าในตลาดแห่งหนึ่งเร่งทาขนมเข่งออกมาขายในช่วงเทศกาลตรุษจีน เป็น
จานวนมาก เพราะเห็นว่าสามารถตั้งราคาขายได้สูงกว่าปกติและทากาไรได้มาก (สิ่งจูงใจ
ผู้ขาย – กาไร) แต่ปรากฏว่าลูกค้าซื้อของในช่วงเทศกาลน้อยลงกว่าที่แม่ค้าในตลาด
คาดการณ์ จึงทาให้ขนมเข่งเหลือเป็นจานวนมาก (สินค้าล้นตลาด – ผู้ขายอยากขาย
มาก)
ผลกระทบ เมื่อสินค้าล้นตลาดเพราะผู้ซื้อน้อยและผู้ขายแข่งกันขาย สินค้าที่ล้นตลาด
นั้นจะถูกปรับราคาให้ลดนอ้ยลงกว่าเดิม ทาให้ความต้องการซื้อ (อุปสงค์) เพิ่มขึ้น (ผู้ซื้อ
ซื้ออยากได้ของถูก เมื่อเห็นว่าสินค้าลดราคาก็ซื้อมากกว่าเดิม) ความต้องการขาย
(อุปทาน) ลดลง (เพราะราคาถูกลง ผู้ขายได้กาไรน้อยไม่อยากขาย)
ทิปจา
“อุปสงค์” นึกถึงคนซื้อ “ส่วนเกิน” นึกถึงคาว่า มาก อุปสงค์ส่วนเกินคือคนซื้อมากของ
ขาดตลาดเพราะแย่งกันซื้อ
“อุปทาน” นึกถึงคนขาย “ส่วนเกิน” นึกถึงคาว่ามาก อุปทานส่วนเกินคือ คนขายมาก ของ
ล้นตลาดเพราะแย่งกันขาย
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
สรุป
อุปสงค์ส่วนเกิน คิดถึงผู้ซื้อ เจอคาว่าส่วนเกินคิดถึงคาว่ามาก ผู้ซื้อมาก ของขาด
ตลาด เพราะความต้องการสูง เมื่อเกิดภาวะนี้ สินค้าจะราคาสูงขึ้น ทาให้อุปสงค์ (ความ
ต้องการซื้อ)ลดลง อุปทาน (ความต้องการขาย) เพิ่มขึ้น
อุปทานส่วนเกิน คิดถึงคนขาย เจอคาว่าส่วนเกินคิดถึงคาว่ามาก ผู้ขายมาก ของ
ล้นตลาด เมื่อเกิดภาวะนี้ สินค้าจะราคาถูกลง ทาให้อุปสงค์ (ความต้องการซื้อ) เพิ่มขึ้น
อุปทาน (ความต้องการขาย) ลงลง
พฤติกรรมการบริโภค
ปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภค ได้แก่
- รายได้ ผู้มีรายได้สูงมักจะจับจ่ายใช้สอยมากกว่าผู้มีรายได้น้อย นอกจากนี้ยังมี
พฤติกรรมการบริโภคที่แตกต่างกัน ในขณะที่ผู้มีรายได้น้อยคานึงถึงความคุ้มค่า
เป็นหลัก ผู้มีรายได้สูงจะคานึงถึงความคุ้มค่าคุ้มราคารวมไปถึงความหรูหรา
สวยงามและการได้รับการยอมรับจากสังคมด้วย
- ค่านิยม ยังจาความหมายของค่านิยมได้ไหมครับ ค่านิยมคือความนิยมของผู้คน
ในสังคม ค่านิยมของสังคมส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคมากครับ เช่น ค่านิยม
ของสังคมไทยคือนิยมผู้หญิงผิวขาว ผู้หญิงไทยส่วนมากจึงเลือกซื้อสินค้าหรือ
ผลิตภัณฑ์บารุงผิวที่ช่วยให้ผิวขาว นอกจากค่าที่นิยมแล้ว รสนิยมซึ่งเป็นความชื่น
ชอบส่วนบุคคลก็มีผลกับพฤติกรรมการบริโภคเช่นกัน ทั้งค่านิยม และรสนิยม
ต่างทาให้เกิดพฤติกรรมในการบริโภคทั้งคู่นะครับบบบ
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖
- การศึกษา ผู้มีความรู้ด้านหนึ่งๆ มักเลือกบริโภคสินค้าที่ตรงกับความรู้ของตน
เช่น ผู้มีความรู้ด้านโภชนาการมักจะเลือกซื้ออาหารที่มีคุณค่าและมีประโยชน์ต่อ
สุขภาพมากกว่าคนที่ไม่มีความรู้ด้านโภชนาการ ระดับการศึกษาก็มีผลต่อ
พฤติกรรมการบริโภคเช่นกันครับ เช่น ผู้มีระดับการศึกษาสูงมักมีพฤติกรรมการ
บริโภคที่หรูหรา ทันสมัย และสะดวกสบาย แต่ก็ไม่ใช่ทุกคนนะครัชช
นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖

More Related Content

What's hot

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์pptapple_clubx
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.suchinmam
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
แบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรแบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรWichai Likitponrak
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3พัน พัน
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 

What's hot (20)

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
แบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรแบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากร
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 

Similar to สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1

เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์sunisasa
 
Economics for kids final
Economics for kids finalEconomics for kids final
Economics for kids finalUtsani Yotwilai
 
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธKasetsart University
 
Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.MR.Praphit Faakham
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2Nitinop Tongwassanasong
 
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุยโครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุยtongkesmanee
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Utai Sukviwatsirikul
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ Sutasinee Phu-on
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนfreelance
 
หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6Chuchai Sornchumni
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงfreelance
 

Similar to สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1 (20)

เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
Economics for kids final
Economics for kids finalEconomics for kids final
Economics for kids final
 
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
 
Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
 
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุยโครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
ทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อ
 
Summary tl2019
Summary tl2019Summary tl2019
Summary tl2019
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1

  • 1. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1 บทที่ 1 ความหมาย ความสาคัญ และทรัพยากรในเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์อยู่รอบตัวเรา นักเรียนว่าอย่างนั้นไหมครับ ? มนุษย์เราต้องการปัจจัย 4 อันได้แก่ อาหาร ยารักษาโรค เครื่องนุ่งห่ม และที่อยู่อาศัยใน การดารงชีวิต สมัยก่อนมนุษย์มีกันไม่มากจึงจัดสรรปันปัจจัย 4 กันได้ไม่ยาก แต่ต่อมามนุษย์มี จานวนมากขึ้น ปัจจัย 4 ก็มีไม่เพียงพอจะจัดสรรให้ทุกคนจึงเกิดการแย่งชิงกัน ด้วยเหตุนี้เอง เศรษฐศาสตร์จึงเกิดขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่สาคัญในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้มนุษย์ นาไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีอยู่อย่างไม่จากัด ครับ การศึกษาเศรษฐศาสตร์ จาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค คือการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจระดับย่อย เช่น การซื้อขายสินค้าภายในชุมชน การออกเงินของคนในครอบครัว การจ้างงานของคนใน ตาบล 2. เศรษฐศาสตร์มหาภาค คือ การศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ ระดับใหญ่ เช่น รายได้ประชาชาติ (รายได้รวมของคนทั้งชาติ) การค้าระหว่างประเทศ สรุป เศรษฐศาสตร์คือการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีอยู่อย่างไม่จากัด ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  • 2. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์นอกจากจะทาให้เราเข้าใจระบบเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน แล้ว ยังช่วยให้รัฐบาลสามารถแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและจัดการเศรษฐกิจของประเทศได้ดี ช่วยให้ นักลงทุนสามารถวางแผนการลงทุนได้ นอกจากนี้ยังเกี่ยวขอ้งกับชีวิตประจาวันของคนทุกคน โดยตรง เช่น การตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าหรือบริการใดๆ การตัดสินใจลดค่าใช้จ่ายใดๆ อีกด้วย ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ การจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดเพื่อตอบสนองความต้องการไม่จากัดเป็นเรื่องยาก ผู้ผลิตทุกรายต้องประสบปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ 3 ข้อในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ให้ กระจายสู่ผู้บริโภคอย่าง ทั่วถึง ปัญหาพื้นฐานดังกล่าวประกอบด้วย ผลิตอะไร – ผลิตอย่างไร – และผลิตเพื่อใคร ผลิตอะไร – What ผู้ผลิตต้องคิดว่าจะผลิตสินค้าและบริการอะไร จานวนเท่าไร ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จากัดออกมาตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่มีไม่จากัด ผลิตอย่างไร – How ผู้ผลิตต้องคิดว่าจะผลิตสินค้าหรือบริการนั้นอย่างไร จึงจะใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ได้ อย่างมีประสิทธิภาพที่สุดและมีต้นทุนการผลิตต่าที่สุด ผลิตเพื่อใคร – For Whom ผู้ผลิตต้องคาดการณ์หรือกาหนดว่าใครคือผู้บริโภคของตน ความสาคัญของเศรษฐศาสตร์
  • 3. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ ปัจจัยการผลิต ( ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ ) ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์อันเป็นปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการมีทั้งหมด 4 ประเภท ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง ผลตอบแทน ที่ดิน ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติที่ ใช้เป็นปัจจัยในการผลิต ค่าเช่า แรงงาน ทรัพยากรมนุษย์ กาลังแรงงาน สติปัญญา ค่าจ้าง ทุน เงินทุน สินค้าที่เป็นทุน เช่น เครื่องจักรกล ที่ใช้ในการผลิต สินค้า สัตว์ที่ใช้แรงงาน (นัก เศรษฐศาสตร์ถือว่าสัตว์ที่ใช้ แรงงานเป็นทุน ) ดอกเบี้ย ผู้ประกอบการ ผู้ทาหน้าที่ควบคุมปัจจัยการ ผลิตทั้ง 3 อย่าง กาไร นักเรียนดูตารางแล้วเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตกับผลตอบแทนกันไหมครับ ? สมมติว่าครูปอเป็นเจ้าของโรงงานทาน้าหอม ตราสุนัขหางงอ เท่ากับครูปอเป็นผู้ประกอบการ ครู ต้องเช่าที่ดินเพื่อสร้างโรงงาน เจ้าของที่ดินจะได้รับค่าเช่าที่ครูปอต้องจ่ายให้ทุกเดือน ( นักเรียนจะ เห็นว่าที่จริงแล้วครูไม่ได้ให้ค่าเช่ากับที่ดิน แต่ครูให้ค่าเช่ากับเจ้าของทีดิน ) เมื่อครูเปิดโรงงานได้ แล้วก็ต้องสั่งทาเครื่องจักรผลิตขวดน้าหอม เครื่องจักรเหล่านั้นถือว่าเป็นทุน (นักเรียนอาจจะ สงสัยว่า เอ.... แล้วเครื่องจักรจะได้รับผลตอบแทนเป็นดอกเบี้ยได้อย่างไร คืออย่างนี้ครับ เครื่องจักรที่ถือว่าเป็นทุนนี้ ครูกู้เงินจากธนาคารมาซื้อ ทุกๆเดือน ครูจะต้องจ่ายหนี้ที่กู้ยืมมาจาก ธนาคารพร้อมดอกเบี้ย ธนาคารจึงเป็นเสมือนเจ้าของทุนที่ได้รับดอกเบี้ยเป็นสิ่งตอบแทน แต่เมื่อ ครูจ่ายหนี้หมดแล้ว ครูก็จะเป็นเจ้าของทุนหรือเครื่องจักรเหล่านี้เองครับ) เมื่อตั้งโรงงานและมี เครื่องจักรแล้ว ครูก็จัดการจ้างแรงงานมาทาน้าหอม อีก 50 คน แรงงานเหล่านี้จะได้รับค่าจ้างเป็น สิ่งตอบแทน คราวนี้นักเรียนคงพอจะเข้าใจใช่ไหมครับ ว่าทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์และ ผลตอบแทนนั้นสัมพันธ์กันอย่างไร
  • 4. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ บทที่ 2 สินค้า บริการ และ หลักอุปสงค์ – อุปทาน นักเรียนพอจะมองกันออกไหมครับว่า สินค้าและบริการนั้นแตกต่างกันอย่างไร สินค้าคือวัตถุสิ่งของที่เป็นรูปธรรม สัมผัสและแตะต้องได้ ส่วนบริการนั้นมีลักษณะเป็น นามธรรม เช่น บริการซักรีด บริการมอเตอร์ไซค์รับจ้าง การผลิตสินค้าและบริการนั้น ผู้ประกอบการ จะต้องดาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ คือใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่ามากที่สุด โดยจะต้องพิจารณา ความต้องการของผู้บริโภค คานึงถึงต้นทุนในการผลิตประกอบกับความต้องการขายของ ผู้ประกอบการด้วยกัน เราเรียกความต้องการซื้อของผู้บริโภค และความต้องการขายของ ผู้ประกอบการว่า “อุปสงค์ – อุปทาน” ครับทุกคน อุปสงค์ (Demand) ความต้องการซื้อของผู้บริโภค หากให้ครูปอ จากัดความคาว่า “อุปสงค์” แบบเป็นทางการ ครูจะจากัดความว่า “ปริมาณสินค้า และบริการที่ผู้บริโภคเต็มใจซื้อและมีอานาจซื้อ ณ ระดับราคาใดๆ ในช่วงเวลาใดเวลา หนึ่ง”แต่หากจากัดความแบบเข้าใจง่าย อุปสงค์ก็คือความต้องการ / ความพึงพอใจที่จะซื้อของ ผู้บริโภคหรือผู้ซื้อ และคนซื้อสามารถซื้อได้ นั้นเองครับ ปัจจัยกาหนดอุปสงค์ ปัจจัย อธิบาย ราคาสินค้า ราคาเป็นปัจจัยหลักในการกาหนดอุปสงค์ เพราะหัวใจของอุปสงค์คือผู้ซื้อ / ผู้บริโภค ราคาจึงมีผลต่อผู้ซื้อมาก ผู้ซื้อมักชื่นชอบสินค้าและบริการที่มีราคาถูก ขณะเดียวกันก็ต้องมีคุณภาพ ราคาจึงเป็นปัจจัยแรกที่ผู้ซื้อคานึงถึง หากสินค้า
  • 5. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ ใดมีราคาถูก (และมีคุณภาพดีหรือพอใช้) ผู้ซื้อย่อมสนใจเลือกซื้อสินค้านั้น ส่งผลให้อุปสงค์ของสินค้านั้นเพิ่มสูงขึ้น ในทางกลับกันหากราคาสินค้าแพงขึ้น อุปสงค์ของสินค้านั้นก็จะลดลง แต่ก็ไม่ใช่ว่าราคาจะมีผลต่ออุปสงค์ของสินค้า หรือบริการนั้นๆ เพียงอย่างเดียว การคาดคะเนของผู้ซื้อก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ทาให้อุป สงค์เพิ่มสูงขึ้นหรือลดต่าลงได้ เช่น หากผู้ซื้อคาดการณ์ว่าพรุ่งนี้ราคาน้ามันจะ สูงขึ้น ผู้ซื้อก็จะซื้อน้ามันในปริมาณที่มากกว่าปกติ ทาให้อุปสงค์ของน้ามันเพิ่ม สูงขึ้น แต่หากผู้ซื้อคาดการณ์ว่าน้ามันจะลดราคาในสัปดาห์ต่อไป ในช่วงก่อน สัปดาห์หน้าอุปสงค์ของน้ามันก็จะลดต่าลง เพราะผู้ซื้อจะรอไปซื้อในสัปดาห์ ถัดไป รายได้ผู้ซื้อ ผู้ซื้อที่มีรายได้เยอะย่อมสามารถซื้อสินค้าและบริการต่างๆ ได้มากกว่าผู้ซื้อที่มี รายได้น้อย เมื่อใดที่เศรษฐกิจดี ประชาชนมีอัตราการว่างงานน้อย มีรายได้สูง อุปสงค์ของสินค้าและบริการก็จะสูงขึ้นตาม แต่หากเศรษฐกิจไม่ดี ผู้คนไม่ค่อย จับจ่ายใช้สอยรายได้ของผู้ซื้อน้อยลง อุปสงค์ก็จะลดต่าลง ครับ คุณนักเรียน สินค้าที่ เกี่ยวข้อง สินค้าที่เกี่ยวข้อง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) สินค้าทดแทน คือสินค้าที่สามารถใช้ทดแทนกันได้ เช่น นักเรียนสั่ง น้าอัดลมยี่ห้อ ก. แต่เจ้าของร้านไม่มี มีแต่น้าอัดลมยี่ห้อ ข. นักเรียน กระหายน้ามากก็เลยซื้อ เพราะน้าอัดลมทั้งสองยี่ห้อมีรสชาติไม่ต่างกัน นัก ราคาก็เท่ากัน เราเรียกสินค้าลักษณะเช่นนี้ว่า “สินค้าทดแทน” (ไม่มี สินค้ายี่ห้อนี้ก็ใช้ยี่ห้ออื่นแทนได้) 2) สินค้าใช้ด้วยกัน คือสินค้าที่ต้องใช้คู่กัน เมื่อสินค้าอย่างหนึ่งราคาถูกลงก็ จะส่งผลให้อุปสงค์ของสินค้าอีกอย่างหนึ่งที่ใช้คู่กันเพิ่มขึ้นด้วย เช่น ถ้า ดินสอกดราคาถูกลง อุปสงค์ของไส้ดินสอที่ต้องใช้ด้วยกันไม่ว่าจะถูก หรือแพงกว่าดินสอกดก็จะสูงกว่าปกติ ในทางกลับกัน หากดินสอกด แพงขึ้น อุปสงค์ของไส้ดินสอก็จะลดต่าลงครับ สรุป สินค้าทดแทน – ไม่มีสินค้ายี่ห้อนี้ก็สามารถใช้อีกยี่ห้อหนึ่งแทนได้ สินค้าใช้ด้วยกัน – สินค้า 2 ประเภทที่ใช้งานด้วยกัน เมื่อซื้อสินค้าต้องซื้อ คู่กัน จานวน ประชากร หากประชากรต้องการซื้อสินค้าหรือบริการใดเป็นจานวนมาก อุปสงค์ของสินค้า และบริการนั้นก็จะสูงขึ้น กลับกันหากประชาชนต้องการซื้อสินค้าหรือบริการใด น้อย อุปสงค์ก็จะต่าลง
  • 6. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ ฤดูกาล / เทศกาล บางครั้งอุปสงค์ก็เกี่ยวข้องกับฤดูกาลหรือเทศกาลด้วย เช่น ฤดูฝน ร่มจะขายดี อุปสงค์ของร่มจึงเพิ่มสูงขึ้น แต่หากเป็นฤดูหนาว อุปสงค์ของร่มจะต่าลง เทศกาลสงกรานต์ อุปสงค์ของปืนฉีดน้าสูง และเทศกาลปีใหม่อุปสงค์ของ กระเช้าของขวัญสูง โฆษณา / รสนิยม ผู้ประกอบการที่ต้องการให้อุปสงค์สินค้าของตนเองสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จะใช้วิธี โฆษณา ประชาสัมพันธ์ในการทาให้ผู้ซื้อสินค้าจาสินค้าได้ขึ้นใจ และส่งผลให้ผู้ซื้อ เลือกซื้อสินค้านั้นๆ อย่างสม่าเสมอ นอกจากนี้รสนิยมก็ยังส่งผลต่ออุปสงค์อีก ด้วย เพราะรสนิยมหรือความชื่นชอบส่วนบุคคลจะทาให้ผู้ซื้อสินค้านั้นอย่าง ต่อเนื่อง กฎของอุปสงค์ แม้ว่าปัจจัยที่มีผลต่ออุปสงค์จะมีหลายข้อด้วยกัน แต่ราคาเป็นปัจจัยแรก ที่มีผลต่ออุปสงค์ ราคาของสินค้าและอุปสงค์แปรผกผันกัน ให้นักเรียนจากฎ อุปสงค์ง่ายๆ ว่า ของถูก – ซื้อมาก ของแพง – ซื้อน้อย นะครับบบบบ กราฟแสดงอุปสงค์ที่มีราคาเป็นปัจจัยสาคัญ
  • 7. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ ชวนรู้ แปรผกผันคืออะไร ? นักเรียนอาจจะงง หรือไม่เข้าใจว่า ทาไมอุปสงค์จึง แปรผกผันกับราคา ให้นักเรียนสังเกตที่กราฟด้านบนครับ นักเรียนจะเห็นแกนตั้งเป็น ราคาและแกนนอนเป็นปริมาณความต้องการสินค้า เมื่อสินค้ามีราคา 100 บาท (ของ แพง) ความต้องการสินค้าจะอยู่ที่ 30 ชิ้น (ซื้อน้อย) แต่เมื่อสินค้าราคาลดลงเหลือ 40 บาท (ของถูก) ความต้องการสินค้าก็เพิ่มขึ้นสูงขึ้นเป็น 180 ชิ้น (ซื้อมาก) นั่นแสดงว่า ราคาสินค้าและความต้องการสินค้านั้นแปรผกผันสวนทางกัน ราคายิ่งแพงคนซื้อยิ่งน้อย ราคายิ่งถูกคนซื้อยิ่งมาก นะครับ แพง ซื้อน้อย ถูก ซื้อมาก นักเรียนจะเห็นว่าหัวลูกศรในแต่ละบรรทัดนั้นชี้ไปคนละทิศ อุปสงค์ที่มีราคาเป็นปัจจัยสาคัญก็แปรผกผันกัน เหมือนกับหัวลูกศรนี้แหละครับ อุปทาน (Supply) ความต้องการขายของผู้ประกอบการ เมื่อมีผู้ซื้อหรือผู้บริโภคแล้ว ก็ต้องมีผู้ขายหรือผู้ประกอบการด้วย ผู้ประกอบการ ที่ว่านี้อาจจะเป็นผู้ผลิตและขายเอง หรืออาจจะเป็นผู้รับสินค้ามาขายอีกทอดหนึ่งก็ได้ อุปทานคือความเสนอขาย หรือนักเรียนบางคนใช้คาว่าความต้องการขาย คาจากัดความ แปรผกผัน
  • 8. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ อย่างเป็นทางการของอุปทานคือ “ปริมาณสินค้าและบริการที่ผู้ขายหรือผู้ผลิตเต็มใจขาย ณ ระดับราคาใดๆ ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง” แต่หากจากัดความแบบง่ายๆ “อุปทานก็คือปริมาณสินค้าและบริการที่ผู้ขายยินดีจะขายเมื่อได้ราคาที่ตนพอใจ” ปัจจัยกาหนดอุปทาน ปัจจัย อธิบาย ราคาสินค้า ราคาเป็นปัจจัยในการกาหนดอุปทานเช่นเดียวกับอุปสงค์ เป็นธรรมดาที่ ผู้ขายต้องการขายสินค้าให้ได้กาไรมากที่สุด ยิ่งราคาขายสูงขึ้นผู้ขายก็ยิ่ง อยากขายมากขึ้นในทางกลับกัน หากราคาขายถูกลงผู้ขายย่อมไม่ ต้องการขาย เพราะมีแรงจูงใจ (กาไร) น้อย นอกจากราคาสินค้าจะเป็น ปัจจัยกาหนดอุปทานแล้ว การคาดคะเนราคาสินค้าก็มีผลด้วยเช่นกัน เช่น หากผู้ขายเห็นว่าสัปดาห์ถัดไปสินค้าจะขายได้ราคาสูงขึ้น ผู้ขายก็จะ กักตุนสินค้าไว้รอขายเมื่อราคาสูงขึ้นแล้ว ทาให้ช่วงก่อนสัปดาห์หน้า อุปทานหรือความต้องการขายลดน้อยลง (สินค้าในตลาดมีน้อยลง เพราะผู้ขายไม่อยากขายตอนนี้ต้องการขายเมื่อราคาสูง ) ในทางกลับกัน หากผู้ขายคะเนว่าสินค้าจะขายได้ราคาต่าลง ผู้ขายจะรีบผลิตหรือนา สินค้านั้นออกมาขายทันทีอุปทานจึงสูงขึ้น (สินค้าออกสู่ตลาดจานวน มากเพราะผู้ขายต้องรีบขายก่อนราคาตก) ต้นทุนการ ผลิต ผู้ขายทุกรายล้วนต้องการลดต้นทุนเพื่อจะได้ขายสินค้าให้ได้กาไร สูงสุด หากต้นทุนที่ใช้ผลิตสินค้ามีราคาสูง ผู้ขายก็จะได้กาไรน้อยลง และหากไม่สามารถปรับเพิ่มราคาขายได้ ผู้ขายก็ย่อมไม่อยากผลิต สินค้าออกมาขายเพราะได้กาไรน้อย ส่งผลให้อุปทานน้อย นักเรียนจะเห็นว่าความต้องการของผู้ขายและผู้ซื้อนั้นแตกต่างกัน ขณะที่ผู้ขาย (ผู้ผลิต) ต้องการลดต้นทุนและขายสินค้าในราคาสูง ผู้ซื้อ ก็ต้องการสินค้าคุณภาพดีและราคาถูก เมื่อผู้ขายต้องการผลิตสินค้า ราคาถูกตามความต้องการของผู้ซื้อ จึงเกิดมีสินค้าราคาถูกแต่ไร้
  • 9. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ คุณภาพออกสู่ตลาด ทาให้ผู้ซื้อไม่พอใจและเกิดการฟ้องร้องทาง กฎหมายตามมา วิธีการผลิต – คู่แข่ง แม้การกาหนดราคาสินค้าให้สูงจะทาให้ผู้ขายได้กาไรเยอะขึ้น แต่ใน ความเป็นจริงสินค้าบางชนิดก็ไม่สามารถตั้งราคาสูงได้เพราะมีราคาที่ เป็นมาตรฐานแล้ว หรือบางทีก็มีคู่แข่งที่ผลิตสินค้าประเภทเดียวกันแต่ จาหน่ายในราคาไม่แพงอยู่ ผู้ขายจึงต้องหากาไรเพิ่มด้วยการผลิต สินค้าจานวนมาก โดยปัจจุบันผู้ผลิตนิยมใช้เทคโนโลยีเข้ามาแทน แรงงานเพื่อลดต้นทุน เมื่อได้กาไรมาก อุปทานก็จะมาก นอกจากนี้ คู่แข่งยังเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่ออุปทานด้วย หากผู้ผลิตมีคู่แข่ง มาก อุปทานก็จะมากด้วย แต่หากมีคู่แข่งน้อย อุปทานก็จะน้อยตามไป ด้วย นโยบาย – ฤดูกาล/ เทศกาล นโยบายจากภาครัฐเป็นปัจจัยหนึ่งที่กระตุ้นให้ความต้องการขายของ ผู้ขายเพิ่มขึ้น รัฐอาจจะเข้ามาสนับสนุนในเรื่องของสินเชื่อให้กู้ยืม ลด ภาษีบางชนิด หรือตั้งกาแพงภาษีนาเข้า ทาให้สินค้าในประเทศบางชนิด มีราคาสูงขึ้น นโยบายของรัฐจะเพิ่มทั้งความมั่นใจและกาลังในการผลิต สินค้าให้แก่ผู้ขาย ในส่วนของฤดูกาลหรือเทศกาลนั้นเป็นอีกปัจจัยหนึ่ง ที่ให้อุปทานของผู้ขายเพิ่มขึ้น เช่น ฤดูร้อน ผู้ขายน้าอัดลมจะเพิ่มการ ผลิตเพื่อรองรับความต้องการของผู้บริโภค อุปทานจึงเพิ่มสูงขึ้น หรือ ในช่วงเทศกาลคริสต์มาส ผู้ซื้อต้องการต้นคริสต์มาสและอุปกรณ์ ประดับตกแต่งมากขึ้น อุปทานของสินค้าประดับตกแต่งเหล่านี้จึงมีมาก ขึ้น
  • 10. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ กฎของอุปทาน แม้ว่าปัจจัยที่มีผลต่ออุปทานจะมีหลายอย่างด้วยกัน แต่ราคาเป็นปัจจัยแรกที่มี ผลต่ออุปทาน ราคาของสินค้าและอุปทานแปรตรงกัน ให้นักเรียนจากฎอุปทานง่ายๆ ว่า “ของถูก – อยากขายน้อย ของแพง – อยากขายมาก” ครัรบบบบบบ ชวนรู้ นะครับ อุปทาน คือ ความต้องการขายของผู้ขายที่เป็นไปในทิศทางเดียววันกับราคาจาก กราฟ นักเรียนจะเห็นว่าเมื่อสินค้ามีราคา 40 บาท ความต้องการขายจะอยู่ประมาณ 50 ชิ้น แต่ เมื่อสินค้าราคาสูงเป็น 100 บาท ความต้องการขายก็เพิ่มขึ้นตาม
  • 11. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ แพง อยากขายมาก แปรผันตรง ถูก อยากขายน้อย นักเรียนจะเห็นว่าหัวลูกศรในแต่ละบรรทัดนั้นชี้ไปทิศเดียวกัน อุปทานที่มีราคาเป็น ปัจจัยสาคัญก็แปรผันตามกันเหมือนกับหัวลูกศรนั่นเอง ครับบบบบบบบบ ทบทวน อุปสงค์ – อุปทาน หากนักเรียน เห็นคาว่า “อุปสงค์” ให้คิดถึง คนซื้อ คนซื้อชอบราคาถูก ของถูกซื้อมาก ของแพงซื้อน้อย แปรผกผันกัน หากนักเรียนเห็นคาว่า “อุปทาน” ให้คิดถึง คนขาย คนขายชอบกาไร ของถูกอยากขาย น้อย ของแพงอยากขายมาก แปรตรงกัน
  • 12. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ อุปสงค์ส่วนเกิน อุปทานส่วนเกิน ความเกินๆ ในระบบเศรษฐศาสตร์ เป็นเพราะอุปสงค์และอุปทานขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างไม่ใช่ราคาแค่เพียงอย่าง เดียว เราจึงไม่สามารถกาหนดความต้องการซื้อและความต้องการขายได้แน่นอน ทาให้ บางครั้งก็เกิดภาวะสินค้าขาดตลาดเพราะมีความต้องการซื้อมาก และบางครั้งก็เกิดภาวะ สินค้าล้นตลาดเพราะมีความต้องการขายมาก ภาวะทั้ง 2 อย่างนี้คืออะไร เรามาเรียนรู้กัน ครับ จากกราฟนักเรียนจะเห็นเส้น 2 เส้นด้วยกัน เส้นสีเขียวคือเส้นอุปสงค์ (ความต้องการซื้อ – ผู้ซื้อ) ส่วนเส้นสีส้มคือเส้นอุปทาน (ความต้องการขาย – ผู้ขาย) จุด E ที่เส้นทั้งสอง ตัดกันเรียกว่า “จุดดุลยภาพ” กราฟนี้บอกให้เรารู้ว่าผู้ซื้อและผู้ขายพอใจกับราคาสินค้า คือ 60 บาทต่อหน่วย ทั้งสองฝ่าย หากผู้ขายนาสินค้าออกมาขายในราคาดังกล่าว 120 ชิ้น ผู้ซื้อก็จะมีความต้องการและซื้อทั้งหมด 120 ชิ้น ผู้ขายไม่ขาดทุน ส่วนผู้ซื้อก็ได้สินค้าใน ราคาเหมาะสม ส่วนเส้นอุปสงค์และอุปทานที่เลยจุดดุลยภาพไปก็คือ “อุปสงค์ ส่วนเกิน” และ “อุปทานส่วนเกิน” ครับบบบบบบบบบ
  • 13. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ “อุปสงค์ส่วนเกิน” นักเรียนจาได้ไหมครับว่าอุปสงค์คืออะไร? พอนักเรียนเห็น คาว่าอุปสงค์ให้คิดถึงคนซื้อ และราคาเป็นหลัก อุปสงค์ส่วนเกินจะเกิดขึ้นเมื่อราคา สินค้าถูกหรือต่ากว่าราคาดุลยภาพ (ผู้ซื้ออยากได้ของถูก) ครับบบบบ กรณีตัวอย่าง บริษัทผลิตโทรศัพท์ยี่ห้อหนึ่งลดราคาสินค้า 50 % มีลูกค้าจานวนมากมาต่อแถว รอซื้อโทรศัพท์ (สิ่งจูงใจผู้ซื้อ – ราคาถูก) แต่ปรากฏว่าสินค้าหมดก่อน ลูกค้าจานวนมาก ไม่สามารถซื้อได้ (สินค้าขาดแคลน – ผู้ซื้อมีความต้องการซื้อมาก) ผลกระทบ : เมื่อสินค้าที่ขาดตลาดไป กลับเข้ามาในตลาดอีกครั้ง สินค้านั้นจะถูก ปรับราคาให้สูงขึ้นกว่าเดิม ราคาที่สูงขึ้นจะทาให้ความต้องการซื้อ (อุปสงค์) ลดลงและ ความต้องการขาย (อุปทาน) เพิ่มขึ้น เพราะเมื่อราคาแพงขึ้น ผู้ขายก็จะอยากขายมาก เพราะได้กาไรมาก อุปทานส่วนเกิน เมื่อพูดถึงอุปทานให้นักเรียนคิดถึงคนขายและกาไร ยิ่งสินค้ามีคามแพงมากก็ยิ่ง อยากขายมาก อุปทานส่วนเกินจะเกิดขึ้นเมื่อราคาสินค้าแพงขึ้นหรือสูงกว่าราคาดุลยภาพ (ผู้ขาย อยากได้กาไร) ครับบบบบบ
  • 14. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ กรณีตัวอย่าง แม่ค้าในตลาดแห่งหนึ่งเร่งทาขนมเข่งออกมาขายในช่วงเทศกาลตรุษจีน เป็น จานวนมาก เพราะเห็นว่าสามารถตั้งราคาขายได้สูงกว่าปกติและทากาไรได้มาก (สิ่งจูงใจ ผู้ขาย – กาไร) แต่ปรากฏว่าลูกค้าซื้อของในช่วงเทศกาลน้อยลงกว่าที่แม่ค้าในตลาด คาดการณ์ จึงทาให้ขนมเข่งเหลือเป็นจานวนมาก (สินค้าล้นตลาด – ผู้ขายอยากขาย มาก) ผลกระทบ เมื่อสินค้าล้นตลาดเพราะผู้ซื้อน้อยและผู้ขายแข่งกันขาย สินค้าที่ล้นตลาด นั้นจะถูกปรับราคาให้ลดนอ้ยลงกว่าเดิม ทาให้ความต้องการซื้อ (อุปสงค์) เพิ่มขึ้น (ผู้ซื้อ ซื้ออยากได้ของถูก เมื่อเห็นว่าสินค้าลดราคาก็ซื้อมากกว่าเดิม) ความต้องการขาย (อุปทาน) ลดลง (เพราะราคาถูกลง ผู้ขายได้กาไรน้อยไม่อยากขาย) ทิปจา “อุปสงค์” นึกถึงคนซื้อ “ส่วนเกิน” นึกถึงคาว่า มาก อุปสงค์ส่วนเกินคือคนซื้อมากของ ขาดตลาดเพราะแย่งกันซื้อ “อุปทาน” นึกถึงคนขาย “ส่วนเกิน” นึกถึงคาว่ามาก อุปทานส่วนเกินคือ คนขายมาก ของ ล้นตลาดเพราะแย่งกันขาย
  • 15. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ สรุป อุปสงค์ส่วนเกิน คิดถึงผู้ซื้อ เจอคาว่าส่วนเกินคิดถึงคาว่ามาก ผู้ซื้อมาก ของขาด ตลาด เพราะความต้องการสูง เมื่อเกิดภาวะนี้ สินค้าจะราคาสูงขึ้น ทาให้อุปสงค์ (ความ ต้องการซื้อ)ลดลง อุปทาน (ความต้องการขาย) เพิ่มขึ้น อุปทานส่วนเกิน คิดถึงคนขาย เจอคาว่าส่วนเกินคิดถึงคาว่ามาก ผู้ขายมาก ของ ล้นตลาด เมื่อเกิดภาวะนี้ สินค้าจะราคาถูกลง ทาให้อุปสงค์ (ความต้องการซื้อ) เพิ่มขึ้น อุปทาน (ความต้องการขาย) ลงลง พฤติกรรมการบริโภค ปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภค ได้แก่ - รายได้ ผู้มีรายได้สูงมักจะจับจ่ายใช้สอยมากกว่าผู้มีรายได้น้อย นอกจากนี้ยังมี พฤติกรรมการบริโภคที่แตกต่างกัน ในขณะที่ผู้มีรายได้น้อยคานึงถึงความคุ้มค่า เป็นหลัก ผู้มีรายได้สูงจะคานึงถึงความคุ้มค่าคุ้มราคารวมไปถึงความหรูหรา สวยงามและการได้รับการยอมรับจากสังคมด้วย - ค่านิยม ยังจาความหมายของค่านิยมได้ไหมครับ ค่านิยมคือความนิยมของผู้คน ในสังคม ค่านิยมของสังคมส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคมากครับ เช่น ค่านิยม ของสังคมไทยคือนิยมผู้หญิงผิวขาว ผู้หญิงไทยส่วนมากจึงเลือกซื้อสินค้าหรือ ผลิตภัณฑ์บารุงผิวที่ช่วยให้ผิวขาว นอกจากค่าที่นิยมแล้ว รสนิยมซึ่งเป็นความชื่น ชอบส่วนบุคคลก็มีผลกับพฤติกรรมการบริโภคเช่นกัน ทั้งค่านิยม และรสนิยม ต่างทาให้เกิดพฤติกรรมในการบริโภคทั้งคู่นะครับบบบ
  • 16. นายวีระยศเพชรภักดีโรงเรียนสารคามพิทยาคมสพม.๒๖ - การศึกษา ผู้มีความรู้ด้านหนึ่งๆ มักเลือกบริโภคสินค้าที่ตรงกับความรู้ของตน เช่น ผู้มีความรู้ด้านโภชนาการมักจะเลือกซื้ออาหารที่มีคุณค่าและมีประโยชน์ต่อ สุขภาพมากกว่าคนที่ไม่มีความรู้ด้านโภชนาการ ระดับการศึกษาก็มีผลต่อ พฤติกรรมการบริโภคเช่นกันครับ เช่น ผู้มีระดับการศึกษาสูงมักมีพฤติกรรมการ บริโภคที่หรูหรา ทันสมัย และสะดวกสบาย แต่ก็ไม่ใช่ทุกคนนะครัชช