SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
ปัญหาการศึกษาไทย
ทัศนะ Constructionismกับการเรียนการสอน
             Teng lifang
              (เถิง หลีฟาง)




                                   BUSINESS
前言

บทนา

                 ดวยความกรุณาจากมูลนิธศึกษาพัฒน์ ทีให้
                   ้                                      ิ                    ่
โอกาสกับผมเข้าร่ วมในการอบรมทฤษฎีConstructionism ที่มูลนิธิจดขึ้น จุดเริ่ มต้น
                                                                            ั
นี้เองทาให้ผมได้รู้จกกับทฤษฎี Constructionism โดยตลอดระยะเวลาที่ได้เข้าร่ วม
                     ั
อบรม ผมได้เรี ยนรู้และทาความเข้าใจทฤษฎีน้ ีจากการเข้าร่ วมกิจกรรมด้วยตนเองและรับ
                                                            ั
ฟังจากผูรู้หลายท่าน(บุคคลสาคัญท่านหนึ่งที่ให้ความรู้กบผมคือ อ.บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์
         ้
ซึ่งท่านได้กรุ ณาอธิบายให้พวกเราผูเ้ ข้าร่ วมอบรมฟั ง จนหลายๆคนเริ่ มเข้าใจและปฏิบติ ั
ตามแนวทางของ Constructionis ได้) ซึ่ งเมื่อได้สมผัสมากๆเข้าก็เริ่ มมองเห็น
                                                        ั
ประโยชน์นานับประการ โดยมองว่าทฤษฎีน้ ีเป็ นทฤษฎีที่พฒนาคนในทุกๆด้านไม่เฉพาะ
                                                                ั
สติปัญญาเท่านั้น แต่ยงส่งเสริ มให้รู้จกตนเองและสังคมเพือจะได้ปรับตนเองให้เข้ากับ
                       ั              ั                       ่
สังคมได้อย่างมีความสุ ข ฝึ กให้คิดเป็ น , ทาเป็ น , แก้ปัญหาเป็ น ทฤษฎีน้ ีเหมาะกับคน
                         ่
ไทยเพราะมีความยืดหยุนสู ง ,ไม่ตีกรอบมากเกินไป , เป็ นทฤษฎีที่ตอบสนองความ
ต้องการรายบุคคลของผูเ้ รี ยนได้ดี
目录

             ตอนที่ 1 ปั ญหาการเรี ยนการสอนของไทย
       เมื่อปลายเดือนพฤษจิกายน(2541) ผมได้ดูรายการโทรทัศน์รายการ
หนึ่ งเป็ นการแสดงของเด็กที่มีชื่อกลุ่มว่าสมัชชาเด็ก เด็กเหล่านี้ได้แสดงละคร
แสดงหุ่นกระบอก หนังตะลุง และแสดงสิ่ งต่างๆ เพื่อถ่ายทอดความคิดเห็น
และความรู ้สึกของพวกเขาเกี่ยวกับปั ญหาการเรี ยนการสอนที่พวกเขาได้พบ
เมื่อดูแล้วมีความรู ้สึกว่าเด็กๆสะท้อนภาพปั ญหาที่เกิดขึ้นจากการเรี ยนการ
สอนได้อย่างดี ปั ญหาการเรี ยนการสอนที่ทาให้เด็กไม่มีความสุ ขในการเรี ยน
ถูกถ่ายทอดออกมาหลายเรื่ อง เช่น สภาพการเรี ยนการสอนที่น่าเบื่อหน่าย
คุณครู ใจร้ายที่ไม่เข้าใจเด็กเฆี่ยนตีและดุเด็ก คุณครู ที่ไม่ค่อยมาสอน คุณครู ที่
สั่งการบ้านมากเกินไปจนเด็กต้องทางานดึก หรื อคุณครู ข้ ีเมาที่มีกลิ่นสุ ราติด
ตัวเข้ามาสอน ในทางกลับกัน
目录




    เด็กๆอยากให้คุณครู รักและเข้าใจพวกเขามากขึ้นไม่ดุพวกเขาและไม่ทา
                                                                 ั
โทษพวกเขา(จากสาเหตุที่เขายังเด็กเขายังไม่รู้) อยากให้คุณครู ใจดีกบพวกเขา
มีเทคนิคการสอนที่สนุกและอยากมีสภาพห้องเรี ยนที่พวกเขาเรี ยกว่าห้องเรี ยน
ในฝันเป็ นห้องเรี ยนที่มีแต่ความสุ ขในการเรี ยนรู้
目录
       การเสนอปัญหาต่างๆเหล่านี้จากมุมมองของเด็ก ทาให้คนที่ดูหลายๆ
คนมีความเห็นพ้องกับเด็กๆเนื่องจากสมัยที่ตนเองเรี ยนก็เคยสัมผัสกับ
บรรยากาศเหล่านี้มาแล้ว จากสิ่ งที่เด็กๆเสนอมาครู อาจารย์บางท่านอาจมี
ความรู ้สึกคาดไม่ถึงว่าเด็กๆจะสังเกตการสอนของครู โดยมองเห็นปัญหา
และสะท้อนปัญหาเหล่านี้ออกมาได้ สิ่ งที่เด็กๆเสนอออกมาทาให้ครู หลายๆ
คนเข้าใจความรู ้สึกของเด็กๆมากขึ้น มีความรู ้สึกว่าในการเรี ยนการสอนที่
ผ่านมาคุณครู มกจะละเลยความรู ้สึกของเด็กๆเหล่านี้ และจากการได้เห็นสิ่ ง
               ั
ที่เด็กๆเสนอออกมาทาให้ครู บางท่านเริ่ มปรับเปลี่ยนการสอนรวมทั้งหา
                               ั
วิธีการสอนที่เหมาะสมมาใช้กบวิชาที่ตนเองสอน เพื่อพยายามให้เกิด
ห้องเรี ยนในฝันอย่างที่เด็กๆต้องการ
目录
สภาพการศึกษาของไทยและปัญหาผลิตผลทางการศึกษา

        ถ้าเรามองการเรี ยนการสอนจากอดีตก่อนที่จะมีระบบโรงเรี ยน
สมัยก่อนนั้นพ่อแม่จะเป็ น "ครู " ผูสั่งสอนลูก โดยมุ่งสอนให้นาความรู ้ไปใช้
                                   ้
ประโยชน์ได้อย่างแท้จริ ง พ่อแม่มีอาชีพอย่างไรก็มกสั่งสอนอาชีพนั้นแก่ลก
                                                    ั                   ู
ของตนเอง เช่น พ่อแม่มีอาชีพเกษตรกรก็สอนอาชีพนั้นแก่ลกๆ เพื่อที่ลกๆจะ
                                                             ู        ู
ได้มีทกษะอาชีพติดตัวไปทามาหากินในอนาคต ในการสอนอาชีพก็คอย
      ั
                         ั
แนะนาทักษะต่างๆให้กบลูกโดยใกล้ชิด ส่ วนลูกก็ได้ลงมือปฏิบติงานจริ ง
                                                                 ั
ภายใต้สภาพแวดล้อมจริ งที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ และเมื่อมีปัญหาก็จะให้
คาแนะนากับลูกเป็ นรายบุคคล หรื อนาลูกไปฝากไว้ที่วดหรื อสานักต่างๆ ซึ่ ง
                                                        ั
นอกจากจะได้เรี ยนสรรพวิชาต่างๆแล้วก็ยงมีการปลูกฝังคุณธรรมไปในตัว
                                          ั
ด้วย
目录
         ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 ประเทศไทยเริ่ มมีระบบโรงเรี ยน โดยทรงจัดตั้ง
โรงเรี ยนมหาดเล็กหลวงเพื่อเตรี ยมคนเป็ นข้าราชการ ตั้งแต่น้ นมาชาวไทยก็ถือว่า
                                                                 ั
การศึกษาเป็ นวิถีทางหนึ่ งที่จะยกฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของตนเองหรื อบุตร
ธิ ดาให้สูงขึ้น ชาวไทยมีทศนคติที่ดีต่อการศึกษามาก พ่อแม่พยายามที่จะส่ งลูกๆให้
                           ั
เข้าในระบบโรงเรี ยนและส่ งเสี ยให้ได้เรี ยนสู งๆ เมื่อเริ่ มมีระบบโรงเรี ยนนัก
การศึกษาในสมัยนั้นก็รับแนวคิดการจัดหลักสู ตรตะวันตกเข้ามามีอิทธิ พลต่อ
การศึกษาของไทย การสอนได้เปลี่ยนจากการสอนแบบเดิมที่มุ่งสอนให้นาความรู ้
ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริ ง จากเดิมมีครู สอนลูกศิษย์เพียง 2 - 3 คน เปลี่ยน
                         ื ่
มาเป็ นการสอนที่มีครู ยนอยูหน้าชั้นเรี ยนให้นกเรี ยน 30 - 50 คนนังฟั งภายใน
                                               ั                          ่
ห้องเรี ยนสี่ เหลี่ยมและคอยจดตามคาสอน กลายเป็ นภาพที่ติดแน่นมาจนถึงปั จจุบน    ั
อย่างยากที่จะลบเลือน
目录




    เด็กๆอยากให้คุณครู รักและเข้าใจพวกเขามากขึ้นไม่ดุพวกเขาและไม่ทา
                                                                 ั
โทษพวกเขา(จากสาเหตุที่เขายังเด็กเขายังไม่รู้) อยากให้คุณครู ใจดีกบพวกเขา
มีเทคนิคการสอนที่สนุกและอยากมีสภาพห้องเรี ยนที่พวกเขาเรี ยกว่าห้องเรี ยน
ในฝันเป็ นห้องเรี ยนที่มีแต่ความสุ ขในการเรี ยนรู้
目录

     จากการที่บรรยากาศการเรี ยนการสอนโดยยึดครู เป็ นศูนย์กลางการ
เรี ยนรู ้มานานนับร้อยปี ส่ งผลให้เกิดปัญหาทางการเรี ยนการสอนขึ้น
กล่าวคือ ผลผลิตทางการศึกษาของเราขาดคุณลักษณะที่สาคัญ 6
ประการ คือ 1) กล้าและรู ้จกแสดงความคิดเห็นต่อชุมชน 2) สามารถ
                                ั
ตัดสิ นใจด้วยตนเอง 3) รู ้จกทางานร่ วมกันเป็ นหมู่ได้อย่างมี
                              ั
ประสิ ทธิภาพ 4) รู ้จกแสวงหาความรู ้ดวยตนเอง 5) มีความคิดในการ
                      ั                  ้
พัฒนาและความคิดสร้างสรรค์ 6) มีความรับผิดชอบต่อตนเองและ
สังคม ปัญหาต่างๆเหล่านี้เกิดขึ้นได้อย่างไร? และเกี่ยวข้องกับการเรี ยน
การสอนอย่างไร ? ขออธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้
目录

      จากปั ญหาและสาเหตุเหล่านี้ เราอาจจะตั้งคาถามถามตัวเองว่าควรให้
                 ั
โอกาสเหล่านี้ กบนักเรี ยนของเราหรื อไม่ และถึงเวลาหรื อยังที่เราจะหาวิธีการ
สอนวิธีอื่นๆเข้ามาเสริ มการเรี ยนการสอน เพื่อตอบสนองความแตกต่าง
ระหว่างบุคคลมากขึ้น ทาให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนอย่างมีชีวตชีวาและมีความสุ ขในการ
                                                         ิ
เรี ยน มีบรรยากาศการเรี ยนรู้ที่ดี ผูเ้ รี ยนได้ฝึกคิด ฝึ ก
ปฏิบติ ฝึ กเผชิญปั ญหาและหาทางแก้ไขด้วยตนเองมากขึ้น เมื่อสาเร็ จการศึกษา
       ั
ออกมาก็
     จะเป็ นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพสมบูรณ์ท้ งร่ างกายจิตใจและสติปัญญา
                                                      ั
                                              ่
นอกจากนั้นยังฝึ กให้เขาพร้อมที่จะไปอยูในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ไม่วา   ่
สังคมจะเปลี่ยนไปอย่างใดก็ตาม เขาจะรู ้จกแก้ปัญหาได้ดวยตัวของเขาเอง
                                                ั           ้
目录



    ทฤษฎี Constructionism เป็ นทฤษฎีหนึ่งที่ผมขอ
                                                  ั
เสนอให้เป็ นทางเลือกอีกทาง (อาจจะนามาใช้ประยุกต์กบการเรี ยน
                        ็
การสอนของท่านหรื อไม่กได้ เพราะเป็ นเพียงทางเลือกหนึ่งเท่านั้น)
ในการนามาใช้พฒนาการเรี ยนการสอน
                ั
谢谢观赏
              THANKS


THANK YOU !




                BUSINESS

More Related Content

What's hot

ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยJo Smartscience II
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Beeby Bicky
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนananphar
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิดนวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิดTum'Tim Chanjira
 
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลwattanaka
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือwannisa_bovy
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5tyehh
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูพรรณภา ดาวตก
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมAtima Teraksee
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษากลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษาAdoby Milk Pannida
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ Naracha Nong
 

What's hot (20)

learnning
learnninglearnning
learnning
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิดนวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
 
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
 
จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษากลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 

Viewers also liked

EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้Tum Meng
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
ปัญหารการศึกษา
ปัญหารการศึกษาปัญหารการศึกษา
ปัญหารการศึกษาKukkik Kanya
 
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทยบทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทยณรงค์ พร้อมบัวป่า
 
屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?
屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?
屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?Kow Kuroda
 
Wifi Marketing tại sân bay
Wifi Marketing tại sân bay Wifi Marketing tại sân bay
Wifi Marketing tại sân bay Snow Summer
 
Swot learning network1
Swot learning network1Swot learning network1
Swot learning network1tenglifangad
 
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. Frequin
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. FrequinCongres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. Frequin
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. FrequinBeBright Consulting
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedkamjorn_t
 
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. Breunesse
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. BreunesseCongres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. Breunesse
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. BreunesseBeBright Consulting
 
Jianli การบ้าน1
Jianli การบ้าน1Jianli การบ้าน1
Jianli การบ้าน1tenglifangad
 
言語の「自然態」を捉える理論の必要性
言語の「自然態」を捉える理論の必要性言語の「自然態」を捉える理論の必要性
言語の「自然態」を捉える理論の必要性Kow Kuroda
 

Viewers also liked (20)

EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
ปัญหารการศึกษา
ปัญหารการศึกษาปัญหารการศึกษา
ปัญหารการศึกษา
 
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทยบทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
 
屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?
屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?
屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?
 
Wifi Marketing tại sân bay
Wifi Marketing tại sân bay Wifi Marketing tại sân bay
Wifi Marketing tại sân bay
 
Learning network1
Learning network1Learning network1
Learning network1
 
Swot learning network1
Swot learning network1Swot learning network1
Swot learning network1
 
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. Frequin
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. FrequinCongres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. Frequin
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. Frequin
 
BME NAG presentation SIS AGM 2014
BME NAG presentation SIS AGM 2014BME NAG presentation SIS AGM 2014
BME NAG presentation SIS AGM 2014
 
Hitchhikers guide to creativity
Hitchhikers guide to creativityHitchhikers guide to creativity
Hitchhikers guide to creativity
 
Rodrigo e edilson
Rodrigo e edilsonRodrigo e edilson
Rodrigo e edilson
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntaned
 
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. Breunesse
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. BreunesseCongres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. Breunesse
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. Breunesse
 
SIS AGM 2014 Directors' Report
SIS AGM 2014 Directors' ReportSIS AGM 2014 Directors' Report
SIS AGM 2014 Directors' Report
 
儿诗
儿诗儿诗
儿诗
 
Jianli การบ้าน1
Jianli การบ้าน1Jianli การบ้าน1
Jianli การบ้าน1
 
儿诗
儿诗儿诗
儿诗
 
Learning network
Learning networkLearning network
Learning network
 
言語の「自然態」を捉える理論の必要性
言語の「自然態」を捉える理論の必要性言語の「自然態」を捉える理論の必要性
言語の「自然態」を捉える理論の必要性
 

Similar to Education problem of thailand

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยArm Watcharin
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาJune Nitipan
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยFuangFah Tingmaha-in
 
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพKobwit Piriyawat
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังIct Krutao
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังIct Krutao
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education Weerachat Martluplao
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 

Similar to Education problem of thailand (20)

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
อาชีพครู
อาชีพครูอาชีพครู
อาชีพครู
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟัง
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟัง
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 

Education problem of thailand

  • 2. 前言 บทนา ดวยความกรุณาจากมูลนิธศึกษาพัฒน์ ทีให้ ้ ิ ่ โอกาสกับผมเข้าร่ วมในการอบรมทฤษฎีConstructionism ที่มูลนิธิจดขึ้น จุดเริ่ มต้น ั นี้เองทาให้ผมได้รู้จกกับทฤษฎี Constructionism โดยตลอดระยะเวลาที่ได้เข้าร่ วม ั อบรม ผมได้เรี ยนรู้และทาความเข้าใจทฤษฎีน้ ีจากการเข้าร่ วมกิจกรรมด้วยตนเองและรับ ั ฟังจากผูรู้หลายท่าน(บุคคลสาคัญท่านหนึ่งที่ให้ความรู้กบผมคือ อ.บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ ้ ซึ่งท่านได้กรุ ณาอธิบายให้พวกเราผูเ้ ข้าร่ วมอบรมฟั ง จนหลายๆคนเริ่ มเข้าใจและปฏิบติ ั ตามแนวทางของ Constructionis ได้) ซึ่ งเมื่อได้สมผัสมากๆเข้าก็เริ่ มมองเห็น ั ประโยชน์นานับประการ โดยมองว่าทฤษฎีน้ ีเป็ นทฤษฎีที่พฒนาคนในทุกๆด้านไม่เฉพาะ ั สติปัญญาเท่านั้น แต่ยงส่งเสริ มให้รู้จกตนเองและสังคมเพือจะได้ปรับตนเองให้เข้ากับ ั ั ่ สังคมได้อย่างมีความสุ ข ฝึ กให้คิดเป็ น , ทาเป็ น , แก้ปัญหาเป็ น ทฤษฎีน้ ีเหมาะกับคน ่ ไทยเพราะมีความยืดหยุนสู ง ,ไม่ตีกรอบมากเกินไป , เป็ นทฤษฎีที่ตอบสนองความ ต้องการรายบุคคลของผูเ้ รี ยนได้ดี
  • 3. 目录 ตอนที่ 1 ปั ญหาการเรี ยนการสอนของไทย เมื่อปลายเดือนพฤษจิกายน(2541) ผมได้ดูรายการโทรทัศน์รายการ หนึ่ งเป็ นการแสดงของเด็กที่มีชื่อกลุ่มว่าสมัชชาเด็ก เด็กเหล่านี้ได้แสดงละคร แสดงหุ่นกระบอก หนังตะลุง และแสดงสิ่ งต่างๆ เพื่อถ่ายทอดความคิดเห็น และความรู ้สึกของพวกเขาเกี่ยวกับปั ญหาการเรี ยนการสอนที่พวกเขาได้พบ เมื่อดูแล้วมีความรู ้สึกว่าเด็กๆสะท้อนภาพปั ญหาที่เกิดขึ้นจากการเรี ยนการ สอนได้อย่างดี ปั ญหาการเรี ยนการสอนที่ทาให้เด็กไม่มีความสุ ขในการเรี ยน ถูกถ่ายทอดออกมาหลายเรื่ อง เช่น สภาพการเรี ยนการสอนที่น่าเบื่อหน่าย คุณครู ใจร้ายที่ไม่เข้าใจเด็กเฆี่ยนตีและดุเด็ก คุณครู ที่ไม่ค่อยมาสอน คุณครู ที่ สั่งการบ้านมากเกินไปจนเด็กต้องทางานดึก หรื อคุณครู ข้ ีเมาที่มีกลิ่นสุ ราติด ตัวเข้ามาสอน ในทางกลับกัน
  • 4. 目录 เด็กๆอยากให้คุณครู รักและเข้าใจพวกเขามากขึ้นไม่ดุพวกเขาและไม่ทา ั โทษพวกเขา(จากสาเหตุที่เขายังเด็กเขายังไม่รู้) อยากให้คุณครู ใจดีกบพวกเขา มีเทคนิคการสอนที่สนุกและอยากมีสภาพห้องเรี ยนที่พวกเขาเรี ยกว่าห้องเรี ยน ในฝันเป็ นห้องเรี ยนที่มีแต่ความสุ ขในการเรี ยนรู้
  • 5. 目录 การเสนอปัญหาต่างๆเหล่านี้จากมุมมองของเด็ก ทาให้คนที่ดูหลายๆ คนมีความเห็นพ้องกับเด็กๆเนื่องจากสมัยที่ตนเองเรี ยนก็เคยสัมผัสกับ บรรยากาศเหล่านี้มาแล้ว จากสิ่ งที่เด็กๆเสนอมาครู อาจารย์บางท่านอาจมี ความรู ้สึกคาดไม่ถึงว่าเด็กๆจะสังเกตการสอนของครู โดยมองเห็นปัญหา และสะท้อนปัญหาเหล่านี้ออกมาได้ สิ่ งที่เด็กๆเสนอออกมาทาให้ครู หลายๆ คนเข้าใจความรู ้สึกของเด็กๆมากขึ้น มีความรู ้สึกว่าในการเรี ยนการสอนที่ ผ่านมาคุณครู มกจะละเลยความรู ้สึกของเด็กๆเหล่านี้ และจากการได้เห็นสิ่ ง ั ที่เด็กๆเสนอออกมาทาให้ครู บางท่านเริ่ มปรับเปลี่ยนการสอนรวมทั้งหา ั วิธีการสอนที่เหมาะสมมาใช้กบวิชาที่ตนเองสอน เพื่อพยายามให้เกิด ห้องเรี ยนในฝันอย่างที่เด็กๆต้องการ
  • 6. 目录 สภาพการศึกษาของไทยและปัญหาผลิตผลทางการศึกษา ถ้าเรามองการเรี ยนการสอนจากอดีตก่อนที่จะมีระบบโรงเรี ยน สมัยก่อนนั้นพ่อแม่จะเป็ น "ครู " ผูสั่งสอนลูก โดยมุ่งสอนให้นาความรู ้ไปใช้ ้ ประโยชน์ได้อย่างแท้จริ ง พ่อแม่มีอาชีพอย่างไรก็มกสั่งสอนอาชีพนั้นแก่ลก ั ู ของตนเอง เช่น พ่อแม่มีอาชีพเกษตรกรก็สอนอาชีพนั้นแก่ลกๆ เพื่อที่ลกๆจะ ู ู ได้มีทกษะอาชีพติดตัวไปทามาหากินในอนาคต ในการสอนอาชีพก็คอย ั ั แนะนาทักษะต่างๆให้กบลูกโดยใกล้ชิด ส่ วนลูกก็ได้ลงมือปฏิบติงานจริ ง ั ภายใต้สภาพแวดล้อมจริ งที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ และเมื่อมีปัญหาก็จะให้ คาแนะนากับลูกเป็ นรายบุคคล หรื อนาลูกไปฝากไว้ที่วดหรื อสานักต่างๆ ซึ่ ง ั นอกจากจะได้เรี ยนสรรพวิชาต่างๆแล้วก็ยงมีการปลูกฝังคุณธรรมไปในตัว ั ด้วย
  • 7. 目录 ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 ประเทศไทยเริ่ มมีระบบโรงเรี ยน โดยทรงจัดตั้ง โรงเรี ยนมหาดเล็กหลวงเพื่อเตรี ยมคนเป็ นข้าราชการ ตั้งแต่น้ นมาชาวไทยก็ถือว่า ั การศึกษาเป็ นวิถีทางหนึ่ งที่จะยกฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของตนเองหรื อบุตร ธิ ดาให้สูงขึ้น ชาวไทยมีทศนคติที่ดีต่อการศึกษามาก พ่อแม่พยายามที่จะส่ งลูกๆให้ ั เข้าในระบบโรงเรี ยนและส่ งเสี ยให้ได้เรี ยนสู งๆ เมื่อเริ่ มมีระบบโรงเรี ยนนัก การศึกษาในสมัยนั้นก็รับแนวคิดการจัดหลักสู ตรตะวันตกเข้ามามีอิทธิ พลต่อ การศึกษาของไทย การสอนได้เปลี่ยนจากการสอนแบบเดิมที่มุ่งสอนให้นาความรู ้ ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริ ง จากเดิมมีครู สอนลูกศิษย์เพียง 2 - 3 คน เปลี่ยน ื ่ มาเป็ นการสอนที่มีครู ยนอยูหน้าชั้นเรี ยนให้นกเรี ยน 30 - 50 คนนังฟั งภายใน ั ่ ห้องเรี ยนสี่ เหลี่ยมและคอยจดตามคาสอน กลายเป็ นภาพที่ติดแน่นมาจนถึงปั จจุบน ั อย่างยากที่จะลบเลือน
  • 8. 目录 เด็กๆอยากให้คุณครู รักและเข้าใจพวกเขามากขึ้นไม่ดุพวกเขาและไม่ทา ั โทษพวกเขา(จากสาเหตุที่เขายังเด็กเขายังไม่รู้) อยากให้คุณครู ใจดีกบพวกเขา มีเทคนิคการสอนที่สนุกและอยากมีสภาพห้องเรี ยนที่พวกเขาเรี ยกว่าห้องเรี ยน ในฝันเป็ นห้องเรี ยนที่มีแต่ความสุ ขในการเรี ยนรู้
  • 9. 目录 จากการที่บรรยากาศการเรี ยนการสอนโดยยึดครู เป็ นศูนย์กลางการ เรี ยนรู ้มานานนับร้อยปี ส่ งผลให้เกิดปัญหาทางการเรี ยนการสอนขึ้น กล่าวคือ ผลผลิตทางการศึกษาของเราขาดคุณลักษณะที่สาคัญ 6 ประการ คือ 1) กล้าและรู ้จกแสดงความคิดเห็นต่อชุมชน 2) สามารถ ั ตัดสิ นใจด้วยตนเอง 3) รู ้จกทางานร่ วมกันเป็ นหมู่ได้อย่างมี ั ประสิ ทธิภาพ 4) รู ้จกแสวงหาความรู ้ดวยตนเอง 5) มีความคิดในการ ั ้ พัฒนาและความคิดสร้างสรรค์ 6) มีความรับผิดชอบต่อตนเองและ สังคม ปัญหาต่างๆเหล่านี้เกิดขึ้นได้อย่างไร? และเกี่ยวข้องกับการเรี ยน การสอนอย่างไร ? ขออธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้
  • 10. 目录 จากปั ญหาและสาเหตุเหล่านี้ เราอาจจะตั้งคาถามถามตัวเองว่าควรให้ ั โอกาสเหล่านี้ กบนักเรี ยนของเราหรื อไม่ และถึงเวลาหรื อยังที่เราจะหาวิธีการ สอนวิธีอื่นๆเข้ามาเสริ มการเรี ยนการสอน เพื่อตอบสนองความแตกต่าง ระหว่างบุคคลมากขึ้น ทาให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนอย่างมีชีวตชีวาและมีความสุ ขในการ ิ เรี ยน มีบรรยากาศการเรี ยนรู้ที่ดี ผูเ้ รี ยนได้ฝึกคิด ฝึ ก ปฏิบติ ฝึ กเผชิญปั ญหาและหาทางแก้ไขด้วยตนเองมากขึ้น เมื่อสาเร็ จการศึกษา ั ออกมาก็ จะเป็ นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพสมบูรณ์ท้ งร่ างกายจิตใจและสติปัญญา ั ่ นอกจากนั้นยังฝึ กให้เขาพร้อมที่จะไปอยูในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ไม่วา ่ สังคมจะเปลี่ยนไปอย่างใดก็ตาม เขาจะรู ้จกแก้ปัญหาได้ดวยตัวของเขาเอง ั ้
  • 11. 目录 ทฤษฎี Constructionism เป็ นทฤษฎีหนึ่งที่ผมขอ ั เสนอให้เป็ นทางเลือกอีกทาง (อาจจะนามาใช้ประยุกต์กบการเรี ยน ็ การสอนของท่านหรื อไม่กได้ เพราะเป็ นเพียงทางเลือกหนึ่งเท่านั้น) ในการนามาใช้พฒนาการเรี ยนการสอน ั
  • 12. 谢谢观赏 THANKS THANK YOU ! BUSINESS