SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
23/03/64
1
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาให้คําปรึกษา
ในการวิเคราะห์และพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
ทีมบัวแสงใส
นิยาม
1.จิตวิทยาพัฒนาการ
2. จิตวิทยาการศึกษา
3. จิตวิทยาให้คําปรึกษาในการวิเคราะห์
และพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
• จิตวิทยา ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Psychology มีรากศัพท์
มาจากภาษากรีก 2 คํา
• Psychology
• Psyche - - - - - - - Psycho = วิญญาณ (Soul)
Logos - - - - - - - - logy = การศึกษา
• Psycho + logy - - - - - - - - Psychology
• เดิม Psychology หมายถึง วิชาทีHศึกษาค้นคว้าเกีHยวกับ
วิญญาณหรือจิตใจของสิHงมีชีวิต
•
• ปัจจุบัน Psychology จิตวิทยาได้มีการพัฒนา
เปลีNยนแปลงไป
• ความหมายของจิตวิทยาได้มีการพัฒนา
เปลีNยนแปลงตามไปด้วย นัNนคือ จิตวิทยาเป็น
ศาสตร์ทีHศึกษาเกีHยวกับพฤติกรรมของมนุษย์
และสัตว์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เป
้ าหมายของการศึกษาจิตวิทยา
1. เพืHออธิบายพฤติกรรมของบุคคล ขัUนตํHา
2. เพืHอเข้าใจพฤติกรรมของบุคคล
3. เพืHอทํานายหรือพยากรณ์พฤติกรรมของ
บุคคล
4. เพืHอควบคุมพฤติกรรมของบุคคล ขัUนสูง
5
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547
• บิดาแห่งจิตวิทยาโลก = ซิกมัน ฟรอยด์
• บิดาแห่งจิตวิทยาวิเคราะห์ = ซิกมัน ฟรอยด์
• บิดาแห่งจิตวิทยาแผนใหม่ = จอห์น บี วัตสัน
• บิดาแห่งพฤติกรรมนิยม = จอห์น บี วัตสัน
• บิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง = วิลเฮล์ม แมกซ์ วุ้นท์
• บิดาแห่งสติปัญญา = อัลเฟรด บิเนต์
• บิดาแห่งจิตวิทยาการศึกษา = ธอร์นไดด์
• บิดาแห่งการแนะแนว = แฟรงค์ พาร์สัน
23/03/64
2
Q2.จิตวิทยา มีประโยชน์ต่อครูอย่างไร
ก.ช่วยให้ครูดูแลชัUนเรียนได้ดีขึUน
ข. ช่วยให้ครูเข้าใจวิธีสอน
ค. ช่วยให้ผลสัมฤทธิ]ของผู้เรียนสูงขึUน
ง. ช่วยให้ครูควบคุมพฤติกรรมของผู้เรียนได้ดีขึUน
7
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547
• 1.จิตวิทยาพัฒนาการ
• พัฒนาการ หมายถึง การเปลีNยนแปลงไปในทางทีNดี
ในทางทีNพึงปรารถนาทําให้เกิดการเปลีNยนแปลง
ทางด้านร่างกาย อารมณ์ ทางสังคม และทาง
สติปัญญา ซึNงจะเกิดติดต่อกันไปเรืNอย ๆ จากระยะ
หนึNงไปสู่อีกระยะหนึNง
• แนวคิดหลักจิตวิทยาพัฒนาการ
• 1. การเจริญเติบโตเป็นการเปลีNยนแปลงของร่างกายไปสู่วุฒิภาวะด้านปริมาณ โดย
การเพิNมจานวนและ/หรือขนาดของเซลล์ รวมทัaงขนาดของร่างกาย ส่วนพัฒนาการ
ด้านการเปลีNยนแปลงไปสู่วุฒิภาวะด้านคุณภาพ ทาให้เกิดทักษะ ความสามารถใหม่
ๆ และการปรับตัวด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
• 2. การศึกษาพัฒนาการของมนุษย์มีหลายวิธี ซึNงสามารถเลือกใช้ได้ตามความ
เหมาะสม การศึกษาพัฒนาการของมนุษย์จะช่วยให้พยาบาลเข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อืNน
ยอมรับในความเป็นบุคคล และความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึNงจะเป็นประโยชน์ใน
การให้บริการสุขภาพแบบองค์รวม
• 3. มนุษย์ทุกชาติ ทุกภาษา มีหลักพัฒนาการเป็นแบบฉบับเดียวกัน แต่อัตรา
พัฒนาการของแต่ละบุคคลจะแตกต่างกันอันเป็นผลเนืNองมาจากพันธุกรรมและ
สิNงแวดล้อม
• 4. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ได้รับอิทธิพลจากองค์ประกอบทัaงภายใน
และ ภายนอกร่างกาย ซึNงหมายถึงพันธุกรรมและสิNงแวดล้อม โดยทัaงสององค์ประกอบ
จะมีส่วนร่วมกันในการกาหนดคุณลักษณะ และพฤติกรรมของมนุษย์แต่ละคน
• นิยามศัพท์
• การเจริญเติบโต (Growth) หมายถึง การเปลีNยนแปลงด้าน
ปริมาณ มีการเพิNมขึaนของขนาดตัวทัaงหมด และขนาดของส่วนต่าง ๆ ของ
ร่างกายซึNงสามารถวัดได้ (สุวดี ศรีเลณวัติ, 2530 อ้างถึงใน กัลยา นาคเพ็ชร์
และคณะ, 2548)
• การเจริญเติบโต (Growth) หมายถึง การเปลีNยนแปลงของร่างกายซึNง
เกิดขึaนตัaงแต่ปฏิสนธิจนถึงการมีวุฒิภาวะ (Sigelman & Shaffer,
1994)
• สรุปการเจริญเติบโต หมายถึง การเปลีNยนแปลงในด้านการเพิNมขนาดของ
ร่างกาย หรือการเปลีNยนแปลงด้านปริมาณ โดยการเพิNมจานวนเซลล์และ/หรือ
ขนาดของเซลล์ รวมทัaงสัดส่วนของร่างกาย ซึNงสามารถสังเกต วัดและประเมิน
ได้อย่างชัดเจน ได้แก่ ส่วนสูง น้าหนัก ฟัน การเปลีNยนแปลงของกระดูกและ
กล้ามเนืaอ
• พัฒนาการ (Development)
• หมายถึง ลําดับของการเปลีNยนแปลงหรือกระบวนการ
เปลีNยนแปลงของมนุษย์ทุกส่วนทีNต่อเนืNองกันไปตัaงแต่
แรกเกิดจนตลอดชีวิต การเปลีNยนแปลงนีaจะก้าวหน้า
ไปเรืNอย ๆ เป็นขัaน ๆ จากระยะหนึNงไปสู่อีกระยะหนึNง
เพืNอทีNจะไปสู่วุฒิภาวะ ทาให้มีลักษณะและ
ความสามารถใหม่ ๆ (สุชา จันทร์เอม, 2540)
• วุฒิภาวะ (Maturation) หมายถึง การทีNบุคคลแต่ละ
คนมีความเจริญถึงภาวะสูงสุดทีNจะทาอะไรได้ (อรพรรณ ลือบุญธวัช
ชัย, 2541)
• วุฒิภาวะ (Maturation) หมายถึง ความสามารถของ
ร่างกายทีNถึงพร้อมในระยะใดระยะหนึNงในการจะทาหน้าทีNใด ๆ โดย
เกิดจากกรรมพันธ์เป็นตัวกาหนด(Vander Zanden,
1993)
• สรุปวุฒิภาวะ หมายถึง การบรรลุถึงขัaนการเจริญเติบโตเต็มทีN
ในระยะใดระยะหนึNงตามขัaนของพัฒนาการและมีความพร้อมทีNจะ
ทากิจกรรมนัaนได้เหมาะสมกับวัย
23/03/64
3
• การเรียนรู้ (Learning)
• หมายถึง การเปลีHยนแปลงของพฤติกรรม ทีH
เกิดขึUนค่อนข้างถาวร ซึHงเป็นผลมาจากการ
ฝึกหัด หรือการได้รับประสบการณ์
• ความสําคัญของการศึกษาพัฒนาการ
1. ทําให้เกิดความเข้าใจเกีHยวกับตนเองและผู้อืHน
2. ช่วยให้เกิดการยอมรับความเป็นปัจเจกบุคคลของแต่ละคน
3. สําหรับผู้ให้การพยาบาลจะช่วยให้สามารถประเมินและคัดกรอง
การเจริญเติบโต และพัฒนาการทีNปกติ และผิดปกติของผู้รับบริการได้
•วิธีการศึกษาพัฒนาการ
• วิธีการศึกษาพัฒนาการของมนุษย์มีหลายวิธี ซึNงอาจพิจารณาเลือกใช้ตาม
ความเหมาะสม ดังนีa
• 1. วิธีการศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross
Sectional Method) เป็นการศึกษาช่วงใดช่วงหนึNงของ
มนุษย์ในระยะสัaนจากกลุ่มตัวอย่างหลาย ๆ กลุ่ม เพืNอศึกษาความแตกต่าง
ระหว่างกลุ่มคนต่าง ๆ กัน
• ข้อดีของการศึกษาแบบภาคตัดขวาง
• คือ รวดเร็วและประหยัด กลุ่มตัวอย่างไม่เสีNยงต่อการสูญหายระหว่างทา
การศึกษา ข้อจากัด คือ ไม่สามารถยืนยันได้ว่าบุคคลทีNศึกษาในกลุ่มต่าง ๆ
นีaมีความแตกต่างกันเพราะสาเหตุอืNน ๆ หรือไม
2. วิธีการศึกษาแบบระยะยาว (Longitudinal
Method) เป็นการศึกษากลุ่มตัวอย่างเดียวต่อเนืNอง
ยาวนาน เพืNอศึกษาการเปลีNยนแปลงของกลุ่มตัวอย่าง
ตลอดช่วงเวลาทีNเปลีNยนแปลงไป
ข้อดีของการศึกษาแบบระยะยาว คือ
สามารถบอกความเปลีNยนแปลงทีNเกิดขึaนในกลุ่ม
ตัวอย่างทีNทําการศึกษาได้แน่นอน ข้อจํากัด คือ
สิaนเปลืองค่าใช้จ่าย เสียเวลาในมากในการดาเนินการ
และเสีNยงต่อการสูญหายของกลุ่มตัวอย่าง
• เทคนิคต่าง ๆ ในการศึกษาพัฒนาการของมนุษย์
มีดังนีU
1. การสังเกต (Observation) เป็นวิธีทีNช่วยให้ได้ข้อมูลใกล้เคียงความ
เป็นจริง ซึNงต้องกาหนดวัตถุประสงค์สิNงทีNต้องการจะสังเกตช่วงเวลาและ
เหตุการณ์ หลังจากนัaนสรุปผลและบันทึกไว้เป็นหลักฐาน
2. การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นวิธีทีNสะดวกรวดเร็ว แต่
อาจได้ข้อมูลคลาดเคลืNอนได้เนืNองจากผู้ตอบจาข้อมูลไม่ได้ทัaงหมด
3. การสัมภาษณ์ (Interview) เป็นการพูดคุยซักถามจากบุคคลโดยตรง
ซึNงจะทาให้ได้ข้อมูลทีNมีความเทีNยงตรงกว่าการใช้แบบสอบถาม
4. การศึกษาอัตตะชีวประวัติ (Autobiography) เป็นข้อมูลทีNได้จาก
การบันทึกประจาวันเกีNยวกับตนเอง และผู้เกีNยวข้อง หรือการเขียนประวัติตนเอง
5. การทดลอง (Experimental techniques) วิธีการ
ทดลองต้องมีการกําหนดสถานการณ์ขึaนมากระทําต่อกลุ่มทดลอง
แล้วดูการเปลีNยนแปลงทีNเกิดขึaนโดยเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม
6. การศึกษารายกรณี (Case study) เป็นวิธีการหาข้อมูลต่างๆ
เกีNยวกับบุคคล เพืNอให้ทราบแบบแผนพัฒนาการของบุคคล
องค์ประกอบทีNมีอิทธิพลต่อพัฒนาการตลอดจนปัญหาพัฒนาการทีN
เกิดขึaน
7. การทดสอบมาตรฐาน (Standardized testing) เป็น
การใช้แบบทดสอบในการเก็บข้อมูลรายบุคคลหรือรายกลุ่ม เช่น
แบบทดสอบเชาว์ปัญญา แบบวัดความสามารถของบุคคล
แบบทดสอบบุคลิกภาพ เป็นต้น
23/03/64
4
องค์ประกอบทีHมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
พันธุกรรมและสิHงแวดล้อมต่างมีบทบาทร่วมกันในการพัฒนา
ลักษณะและพฤติกรรมมนุษย์
• 1. พันธุกรรม
• หมายถึง ลักษณะต่าง ๆ ของบรรพบุรุษซึNงถ่ายทอดสู่
ลูกหลานด้วยวิธีการสืบพันธุ์ลักษณะต่าง ๆ ทีNถ่ายทอดมา
นัaนมีทัaงลักษณะทางร่างกาย สติปัญญา ลักษณะ
บุคลิกภาพ และลักษณะแฝงต่าง ๆ โดยถ่ายทอดทางยีนส์
ซึNงอยู่บนโครโมโซม
2. สิHงแวดล้อม
หมายถึง สิNงต่าง ๆ ทีNอยู่รอบตัวบุคคล ทัaงภายในและ
ภายนอกร่างกาย ทัaงทีNเป็นรูปธรรมและนามธรรม สิNงแวดล้อม
มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของบุคคล ตัaงแต่
เริNมปฏิสนธิในครรภ์จนถึงขณะคลอดและหลังคลอด
• เมืHอกล่าวถึงพัฒนาการของมนุษย์
• หมายถึง การเปลีNยนแปลงทุก ๆ ด้านพร้อมกันซึNง
เป็นการเปลีNยนแปลงทัaงทางด้านร่างกาย สติปัญญา
สังคม และอารมณ์ และการเปลีNยนแปลงนีaจะเป็นทัaง
ในด้านปริมาณและคุณภาพในเวลาเดียวกัน
พัฒนาการของเด็กแม้จะมีหลายสิNงหลายอย่างทีN
เหมือนกันแต่โดยแท้ จริงแล้ว เด็กจะมีพัฒนาการ
เฉพาะตัว
• ทัaงนีaเนืNองมาจากแต่ละคนจะมียีน(Genes) เป็นตัวกําหนดลักษณะ อีก
ทัaงสิNงแวดล้อมซึNงมีลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคลทีNเติบโตขึaนมาจึงทาให้
คนเราแตกต่างกัน โดยหลักการทัNวไป
• พัฒนาการของมนุษย์เป็นผลสืบเนืNองมาจากวุฒิภาวะ (Maturity)
และการเรียนรู้ (Learning) เป็นสําคัญ ทัaงนีaเพราะในช่วงระยะแรกๆ
ของชีวิตส่วนใหญ่พัฒนาการจะเป็นผลมาจากวุฒิภาวะ ซึNงเป็นการ
เปลีNยนแปลงอันเนืNองมาจากการเจริญงอกงามโดยเฉพาะทางด้านร่างกาย
แต่เมืNอเด็กเริNมเติบโตขึaนพัฒนาการส่วนใหญ่จะมาจากการเรียนรู้ในส่วนทีN
เกีNยวกับสิNงแวดล้อมในชีวิต ดังนัaนจะเห็นว่า พัฒนาการซึNงเป็นเรืNองของการ
เรียนรู้นัaน จะส่งผลให้คนเรามีพฤติกรรมทีNแตกต่างกันและพัฒนาการของ
แต่ละบุคคลทีNแตกต่างกันนัaน ก็เนืNองมาจากแต่ละบุคลมีอัตราการเจริญ
งอกงามทีNแตกต่างกัน
• ในการศึกษาเกีNยวกับพัฒนาการในส่วนทีNเกีNยวกับการเรียนการ
สอนนัaนสิHงสําคัญทีHครูจะต้องคํานึงคือความพร้อม
(Readiness) อันเป็นช่วงพัฒนาการของเด็ก ซึHงจะมี
จุดสูงสุด (Optimal Point) ทีHเด็กจะเรียนรู้ได้ดี ละบัง
เกิดผลดี ซึHงจุดทีHเราเรียกว่า “ความพร้อม” นีaถ้าเด็กยังไปไม่ถึง
จุดนีaหรือผ่านพ้นจุดนีaไปแล้ว เด็กจะเรียนไม่ได้ผลดีเท่าทีNควรกระนัaน
ก็ตามความคิดเห็นเกีNยวกับพัฒนาการนีaนักจิตวิทยาก็ยังมีความ
คิดเห็นแตกต่างกันออกไป อีกพวกหนึNงเห็นว่าเป็นเรืNองประสบการณ์
ทีNครูสามารถช่วยจัดให้ได้ ดังเช่น
• Arnold Gesell เห็นว่า ความพร้อมเป็นเรืNองของธรรมชาติทีNจะต้อง
ค่อยเป็นค่อยไป ถ้าเด็กยังไม่พร้อมเราควรให้เด็กรอให้พร้อม จึงให้เด็กเรียน
• Jerome Bruner เห็นว่า ความพร้อมเป็นเรืNองทีNสอนกันได้ ไม่จาเป็น
ต้องให้เด็กรอ เด็กสามารถเรียนได้ก่อนกําหนด ถ้าเรารู้จักวิธีการจัด
ประสบการณ์ทีNเหมาะสมเพืNอสอนให้เด็กพร้อม
• Jean Piaget ให้ข้อคิดว่า ครูควรจะสอนเพืNอเร่งเด็กหรือไม่ โดยเสนอขัaน
พัฒนาการทางสติปัญญาของมนุษย์ให้เป็นข้อพิจารณา
• Erik Erikson ได้เสนอทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพ เพืNอให้ครูเห็นว่า
ในแต่ละช่วงวัยนัaนเด็กมีความพร้อมทีNจะพัฒนาในเรืNองใด และเราควรจะจัด
การศึกษาอย่างไรให้สอดคล้องกับพัฒนาการในแต่ละช่วง
23/03/64
5
ระยะพัฒนาการ พัฒนาการของมนุษย์แบ่งตามช่วงอายุได้
เป็น 8 ระยะ ดังนีa(สุชา จันทน์เอม, 2536, น. 2-3)
1. ระยะก่อนเกิด (Prenatal stage)
คือตัUงแต่เริHมปฏิสนธิจนถึงระยะคลอด
2. วัยทารก เริHมตัUงแต่เกิดจนถึงอายุ 2 ปี
3. วัยเด็ก เริHมตัUงแต่อายุ 2 – 12 ปี
4. วัยย่างเข้าสู่วัยรุ่น ปกติหญิงเฉลีHยมีอายุ 12 ปี ชายเฉลีHยมีอายุ 14 ปี
5. วัยรุ่น ตัUงแต่อายุ 14 – 21 ปี
6. วัยผู้ใหญ่ ตัUงแต่อายุ 21 – 40 ปี
7. วัยกลางคน ตัUงแต่อายุ 40 – 60 ปี
8. วัยสูงอายุ ตัUงแต่อายุ 60 ปีขึUนไป
การแบ่งวัยระยะพัฒนาการ แบ่งตามอํายุได้ 8 ช่วงดังนีU
1. ระยะก่อนคลอด = เริHมปฏิสนธิจนถึงคลอด
2. ระยะหลังคลอด
2.1 แรกเกิด , ทารก = คลอดถึง 2 ขวบ
2.2 เด็กตอนต้น = 2 - 6 ขวบ
2.3 เด็กตอนกลาง = ช (7-12) , ญ (6-10)
2.4 ย่างสู่วัยรุ่น = ช(13-15), ญ(12-13)
2.5 วัยรุ่น = ตอนต้น(14-17), ตอนปลาย(17-20)
2.6 วัยผู้ใหญ่ตอนต้น = 18 – 40 ปี
2.7 วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง = 40 – 60 ปี
2.8 วัยชรา = มากกว่า 60 ปี
• พัฒนาการทางบุคลิกภาพ 8 ขัUนตอนของอิริกสัน
• อิริกสัน (Erikson) เห็นว่า พัฒนาการทางบุคลิกภาพเกิดขึUนทุกช่วง
ชีวิต ดังนัUนทุกช่วงชีวิตจึงมีความสําคัญเช่นกัน มิใช่สาคัญเฉพาะ
พฤติกรรมในช่วงแรกของชีวิตทีHอยู่ใน Critical Period
• เท่านัaน อิริกสัน (Erikson) ได้เน้นว่าพฤติกรรมในอดีตของบุคคล
จะมีผลสะท้อนถึงพฤติกรรมในอนาคตด้วย พัฒนาการของคนเราจะ
ดาเนินไปเป็นขัaนตอน ขัaนพัฒนาการแต่ละขัaนจะมีการสืบเนืNองติดต่อกัน
หลายเวลา โดยมีพัฒนาการทางร่างกายเป็นตัวนาไปสู่พัฒนาการขัaน
ต่อไป สิNงทีNมีอิทธิพลต่อพัฒนาการ ได้แก่ แรงขับภายใน
ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการของ อิริคสัน มี 8 ขัaน ดังนีa
1. ระยะทารก 0 – 2 ขวบ = ขัaนไว้วางใจและไม่ไว้วางใจผู้อืNน
2. วัยเริHมต้น 2 – 3 ขวบ = ขัaนมีอิสระกับความละอาย ความสงสัย
เป็นตัวของตัวเองหรือเรียก ขัaนพลังจิต
3. ระยะก่อนไปโรงเรียน 3 – 6 ปี = ขัaนมีความคิดริเริNมกับ
ความรู้สึกผิด, ขัaนมีความมุ่งประสงค์ (วัยเด็กซุกซน)
4. ระยะเข้าโรงเรียน 6 – 12 ปี = ขัaนเอาการเอางาน ขัaน
สมรรถภาพ กับความมีปมด้อย
5. ระยะวัยรุ่น 12 – 20 ปี = ขัaนเข้าใจอัตลักษณ์ของ
ตนเอง และ ไม่เข้าใจตนเอง
6. ระยะต้นของวัยผู้ใหญ่ 20–40 ปี =ขัaนใกล้ชิดสนิท
สนมกับความรู้สึกเปล่าเปลีNยว ขัaนความรัก
7. ระยะผู้ใหญ่ 40 – 60 ปี = การอนุเคราะห์เกืaอกูลกับ
การพะว้าพะวงตัวเอง ขัaนเอาใจใส่
8. ระยะสูงอายุ 60 ปีขึUนไป = มีความมัNนคงทางจิตใจกับ
ความสิaนหวัง, ขัaนบูรณาการ, วัยชรา
ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud, การพัฒนาการทาง
เพศ (Stage of Psychosexual Development)
5 ขัUน ดังนีU
1. ขัUนปาก (Oral Stage) เริNมตัaงแต่แรกเกิด
ถึง 1 ขวบ ในวัยนีa Erogenous Zone จะอยู่บริเวณปาก การได้รับ
การกระตุ้นหรือเร้าทีNปากจะทําให้เด็กเกิดความพึงพอใจ ทําให้เด็กตอบสนอง
ความพึงพอใจของตนเองโดยการดูด โดยเฉพาะอย่างยิNง การดูดนมแม่จึงเป็น
ความสุขและความพึงพอใจของเขาในขัaนนีa ถ้าพ่อแม่หรือผู้ใกล้ชิดให้การอบรม
เลีaยงดูอย่างเหมาะสม มีการดูแลเอาใจใส่ให้ความรักความอบอุ่นอย่างเต็มทีNจะ
ทําให้เด็ก เกิดความไว้วางใจและความรู้สึกทีNดีเกีNยวกับตนเองและ
สภาพแวดล้อม
23/03/64
6
• เนืNองจากเด็กวัยนีaเริNมพัฒนาความรัตัว
เอง (Narcissism) แต่ถ้าเด็กไม่ได้รับการตอบสนอง
อย่างเหมาะสม เช่น ถูกปล่อยให้ร้องไห้เพราะหิวเป็น
เวลานานๆ ไม่ได้รับประทานอาหารตามเวลาและไม่ได้รับ
การสัมผัสทีNอบอุ่นหรือการแสดงความรักความอบอุ่นจากพ่อ
แม่และผู้ใกล้ชิด จะทําให้เด็กพัฒนาความไม่
ไว้วางใจ (Distrust) มีความรู้สึกไม่ดีเกีNยวกับตนเอง
และเกลียดชังสภาพแวดล้อม ทําให้เกิดการยึด
ติด (Fixation) ของพัฒนาการในขัaน
ปาก พลัง Libido
• บางส่วนไม่ได้รับการเร้าอย่างเหมาะสม จะทําให้การยึดติดอยู่บริเวณ
ปาก และไม่สามารถเคลืNอนทีNไปยังส่วนอืNนของร่างกายตามความ
เหมาะสมของการพัฒนาการในขัaนต่อไปจะก่อให้เกิดความผิดปกติทาง
บุคลิกภาพในขัaนปากและเมืNอบุคคลเข้าสู่วัยรุ่นบุคคลก็จะแสดง
บุคลิกภาพทีNยึดติดในขัaนปากออกมาในรูปของพฤติกรรมต่างๆ เช่น
การติดสุรา ติดบุหรีH ยาเสพติด ชอบขบเคีUยวไม่หยุดปาก ชอบ
กินของคบเคีUยวกรอบๆ กินอาหารแปลกๆ เช่นกินกุ้งเต้น หรือ
ชอบพูดจาเยาะเย้ยถากถาง ก้าวร้าว บ้าอํานาจ พูดจาใส่ร้าย
ป
้ ายสีได้โดยขาดความละอาย และชอบทําตัวให้เป็นจุดเด่นใน
สังคมโดยวิธีการใช้ปากหรือเสียงดังๆ เป็นต้น
• . ขัUนทวาร (Anal Stage) เด็กจะมีอายุตัUงแต่ 1-3
ขวบ ในวัยนีa Erogenous Zone จะอยู่ทีNบริเวณทวาร โดยทีNเด็กจะมี
ความพึงพอใจเมืNอมีสิNงมากระตุ้น หรือเร้าบริเวณทวารในระยะนีaเด็กเริNมเป็นตัว
ของตัวเอง เริNมมีความพึงพอใจกับความสามารถในการควบคุมอวัยวะของ
ตนเอง โดยเฉพาะอวัยวะขับถ่าย กิจกรรมทีNเด็กมีความสุขจะเกีNยวข้องกับการ
กลัaนอุจจาระ (Anal Retention) และการถ่ายอุจจาระ (Anal
Expulsion) ความขัดแย้งทีNมักเกิดขึaนในขัaนนีaคือ การฝึกหัดการขับถ่าย
(Toilet) Training ดังนัaน ถ้าพ่อแม่เลีUยงดูด้วยความเอาใจใส่ และ
ฝึกการขับถ่ายให้เป็นไปอย่างเหมาะสมกับเวลา และสถานทีHโดยไม่
บังคับ หรือเข้มงวดและวางระเบียบมากเกินไป เพราะไม่เช่นนัaน เด็กจะ
เกิดความรู้สึกไม่แน่ใจในความมีอิสระ และความสามารถในการบังคับอวัยวะ
ของตนเอง ในขณะเดียวกันก็ไม่ได้หมายความว่า พ่อแม่จะปล่อยทุกอย่างให้
เป็นไปตามความพึงพอใจของเด็กโดยไม่สนใจให้การดูแล และฝึกหัดให้เด็ก
เรียนรู้การขับถ่ายทีNเหมาะสม
• ก็จะทําให้เด็กติดตรึงอยู่กับความต้องการของตนเอง ไม่พัฒนาการ
ยอมรับจากผู้อืNน จะเห็นได้ว่าปฏิกิริยา กฎเกณฑ์ และเจตคติของพ่อแม่
ในการฝึกหัดการขับถ่ายของเด็ก จึงมีความสําคัญต่อการพัฒนา
บุคลิกภาพทีNเหมาะสม ในขัaนทวารเพราะถ้าสัมพันธภาพระหว่างพ่อแม่
กับเด็กเป็นอย่างดีโดยเฉพาะ เกีNยวข้องกับการฝึกการขับถ่ายของเด็กจึงมี
ความสําคัญ ต่อการพัฒนาบุคลิกภาพทีNเหมาะสมในขัaนทวาร เพราะถ้า
สัมพันธภาพระหว่างพ่อแม่กับเด็กเป็นอย่างดี โดยเฉพาะเกีNยวข้องกับ
การฝึกการขับถ่าย จะทําให้เด็กพัฒนาอารมณ์ทีNมัNนคง เชืNอมัNนใน
ความสามารถของตนเอง เป็นคนสงบเสงีNยมอ่อนโยนแต่ถ้าเด็กเกิดการ
ติดตรึงในขัaนตอนนีaจะทําให้ไม่สามารถพัฒนาบุคลิกภาพตามความ
เหมาะสม เช่น ถ้าเด็กพอใจกับการถ่ายอุจจาระมากเกินไป
• เมืNอโตขึaนก็จะเป็นคนสุรุ่นสุร่าย แต่ถ้าเด็กพอใจกับการกลัaนอุจจาระไว้
ไม่ยอมขับถ่าย ก็จะเป็นคนขีaเหนียว ตระหนีN หรือถ้าเด็กรู้สึกโกรธหรือ
เกลียด พ่อแม่ทีNเข้มงวดในเรืNองขับถ่ายก็จะทําให้เด็กมีนิสัยดืaอรัaน แต่
ถ้าพ่อแม่ควบคุมเรืNองความสะอาดมากเกินไป ก็จะกลายเป็นเจ้า
ระเบียบ จู้จีaจุกจิก หรือถ้าพ่อแม่ทีNเน้นการขับถ่ายตรงเวลา ไม่รู้จัก
ยืดหยุ่นก็จะกลายเป็นคนเข้มงวด ไม่ยืดหยุ่น แต่ถ้ายึดติดในขัaนนีa
เป็นไปอย่างรุนแรง อาจทําให้เกิดเด็กมีบุคลิกภาพแปรปรวน เช่น
ชอบทําร้ายให้ผู้อืNนเจ็บปวด (Sadism) หรือการร่วมเพศด้วยวิธีการ
ต่าง ๆ เป็นต้น
• 3. ขัUนอวัยวะเพศตอนต้น (Phallic Stage)
• เริHมตัUงแต่ 3 – 5 ขวบ ในขัaนนีa Erogenous Zone จะอยู่ทีN
อวัยวะเพศ โดยทีNเด็กเกิดความรู้สึกพึงพอใจกับการจับต้องอวัยวะเพศ
เพราะมีความพึงพอใจทางเพศอยู่ทีNตนเองในระยะแรก ทําให้เด็กชายรัก
ใคร่ และหวงแหนแม่จึงเกิดความรู้สึกอิจฉา และเป็นปรปักษ์กับพ่อใน
ขณะทีHเด็กหญิงจะรักใคร่และหวง แหนพ่อ จึงรู้สึกอิจฉาและเป็น
ศัตรูกับแม่ ทีHเรียกปรากฏการณ์นีUว่า เป็นปมออดิปุส
(Oedipus Complex) ในเด็กชาย และปมอีเลคต้า (Electra
Complex) ในเด็กหญิง
•
23/03/64
7
• 4. ขัUนแฝง (Latency Stage)
• เริHมตัUงแต่ อายุ 6 – 11 ปี ในขัaนนีa Erogenous
Zone จะไม่ปรากฏอยู่ส่วนใดส่วนหนึNงของร่างกายโดยเฉพาะ
เสมือนขัaนแฝงของพลัง Libido เป็นระยะพักในเรืNองเพศ
และจินตนาการทางเพศ เด็กจะเริNมมีชีวิตสังคมภายนอกบ้าน
มากขึaนทีNจะเรียนรู้และปรับตัวให้เข้า กับเพืHอนๆ ใน
โรงเรียนโดยเฉพาะอย่างยิNงในวัยดังกล่าว เด็กหากเด็กมี
พัฒนาการในวัยต้นๆ อย่างเหมาะสมในขัaนนีaเด็กจะมี
ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับเพืNอนกลุ่ม เดียวกัน
• 5. ขัUนอวัยวะเพศตอนปลาย (Genital Stage)
• เริHมจาก 12 ขวบเป็นต้นไป ในระยะนีaเด็กจะเข้าสู่วัยรุ่น ไปจนถึงวัย
ผู้ใหญ่และวัยชรา โดยมี Erogenous Zone จะมาอยู่ทีNอวัยวะเพศ
(Genital Area) เมืNอเด็กย่างเข้าสู่วัยรุ่นจะมีการเปลีNยนแปลงทาง
ร่างกายทัaงหญิงและชาย ต่างๆ กัน และมีพัฒนาการทางร่างกายตนมี
ความสามารถในการสืบพันธุ์ นอกจากนีaยังมีการเปลีNยนแปลงทางอารมณ์ มี
ความต้องการตามสัญชาตญาณทางเพศอย่างรุนแรง ต้องการเป็นตัวของ
ตัวเอง ต้องการเป็นอิสระในขณะเดียวกับก็ต้องการได้รับความอบอุ่น และ
การดูแลเอาใจใส่ทางจิตใจจากพ่อแม่ เมืNอบุคคลมีวุฒิภาวะทางเพศอย่าง
สมบูรณ์แล้ว จะเกิดความพึงพอใจทางด้านเพศ มีการแสวงความสุขทางเพศ
ระหว่างชายหญิง บุคคลทีNมีการพัฒนาการทางบุคลิกภาพอย่างปกติ ไม่มี
การติดตรึง ก็จะสามารถมีชีวิตทางสังคมทีNถูกต้องเหมาะสมคือมีครอบครัว
และสามารถแสดงบทบาททางเพศ และบทบาทของพ่อแม่ได้อย่างเหมาะสม
1. Psychology มีรากศัพท์มาจากภาษาใด
ก. ภาษากรีก (Psyche + Logos)
ข. ภาษาสเปน (Psycho + Logy)
ค. ภาษารัสเซีย (Psyche + Logos)
ง. ภาษาบาลี (Psycho + Logy)
2. ในปัจจุบันความหมายของ จิตวิทยา หมายถึงข้อใด
ก. การศึกษาทีNเกีNยวกับเรืNองวิญญาณ
ข. วิชาทีNศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ และสัตว์ด้วย
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ค. การศึกษาทีNเกีNยวความคิดของคนยุคโบราณ
ง. วิชาทีNศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ต่างดาว
25. จิตวิทยา คามความหมายใหม่ เป็นศาสตร์ทีHว่า
ด้วยเรืHองใด
ก. พฤติกรรม
ข. วิญญาณ
ค. การเรียนรู้
ง. ถูกทุกข้อ
21. องค์ประกอบของพัฒนาการทีHว่า “ความ
เจริญเติบโตทัUงทางด้านร่างกายและจิตใจ พร้อม
ทีHจะทํางานตามหน้าทีH” หมายถึงข้อใด
ก. ความเข้าใจ
ข. การเรียนรู้
ค. วุฒิภาวะ
ง. อารมณ์
23/03/64
8
22. ความแตกต่างของบุคคลเกิดจาก 2 สิHง คือ
ก. การเรียนรู้, วุฒิภาวะ
ข. พันธุกรรม, สิNงแวดล้อม
ค. อารมณ์, สติปัญญา
ง. หัวใจ, สมอง
58. วุฒิภาวะ หมายถึงอะไร
ก. กระบวนการเปลีNยนแปลงพฤติกรรมทีNเกิดขึaนตาม
ธรรมชาติ
ข. กระบวนการเปลีNยนแปลงพฤติกรรมทีNเกิดขึaนจากการ
เรียนรู้
ค. กระบวนการเปลีNยนแปลงพฤติกรรมความเคร่งครัด
ระหว่างบุคคลจากสิNงแวดล้อม
ง. กระบวนการเปลีNยนแปลงพฤติกรรมความเคร่งครัด
ระหว่างบุคคลจากพฤติกรรม
35. ขัUนการพัฒนาบุคลิกภาพของคนมีความสุข
อยู่ทีHทวารหนักคือข้อใด
ก. Oral staqe
ข. Anal staqe
ค. Plalic staqe
ง. Lantency staqe
60. ขัUนการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กหญิงหวงพ่อ
หรือเด็กชายหวงแม่ อยู่ทีHข้อใด
ก. Oral staqe
ข. Anal staqe
ค. Plalic staqe
ง. Lantency staqe
66. ความรู้สึกพึงพอใจของวัยรุ่น จัดอยู่ในขัUนใด
ของขัUนพัฒนาบุคลิกภาพของฟรอยด์
ก. ขัaนทวาร
ข. ขัaนอวัยวะเพศตอนต้น
ค. ขัaนแฝง
ง. ขัaนอวัยวะเพศตอนปลาย
71. ขัUนแฝง ของขัUนพัฒนาบุคลิกภาพของ
ฟรอยด์จัดอยู่ในช่วงวัยใดต่อไปนีU
ก. แรกเกิด
ข. อนุบาล
ค. ประถมศึกษา
ง. มัธยมตอนต้น
23/03/64
9
•พัฒนาการของผู้เรียนวัยต่างๆ
• การจัดการเรียนการสอนทีNเอืaอให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้
อย่างมีประสิทธิภาพนัaน ผู้สอนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ
เกีNยวกับพัฒนาการของผู้เรียนวัยต่างๆ ดังนีa
• 1. วัยเด็กตอนต้น หรือวัยเด็กเล็ก หรือเด็กอนุบาล (ช่วง
อายุ 3 - 5 ปี) เป็นวัยทีNมีความก้าวหน้าทางพัฒนาการในทุก
ด้าน อยากเป็นอิสระ เริNมพึNงตนเองจึงอยากเป็นตัวของตัวเองชอบ
ปฏิเสธ ดืaอ ความคิดสร้างสรรค์เจริญสูงสุด
• 1) พัฒนาการทางร่างกาย เป็นวัยทีNเด็กสามารถควบคุม
ร่างกายและอวัยวะต่างๆได้ตามความต้องการของตนจึง
สามารถทากิจกรรมหลายๆ อย่างได้ด้วยตนเองจึงชอบทีNจะ
กระโดดโลดเต้นปีนป่าย เพืNอฝึกการควบคุมร่างกายให้เกิดความ
ชํานาญมากขึaน ซึNงผู้ใหญ่เรียกวัยนีaว่าเป็น วัยซน เด็กชายโตกว่า
เด็กหญิง
• 2) พัฒนาการทางอารมณ์ เด็กในวัยนีaจะเริNมเรียนรู้การแสดง
พฤติกรรมตอบสนองอารมณ์จากคนใกล้ชิดรอบข้างมักจะมี
ธรรมชาติของอารมณ์เหมือนวัยเด็กตอนต้นคือแสดงออกอย่าง
เปิดเผย ไม่ซับซ้อน แปรปรวนได้ง่าย
• 3) พัฒนาการทางสังคม เป็นวัยทีNต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้
วิธีการสร้างความสัมพันธ์กับเพืNอนใหม่และบุคคลแวดล้อมใน
สถานศึกษา เด็กจะเรียนรู้ในการแสดงพฤติกรรมทีNทาให้คนอืNน
ยอมรับและปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคมใหม่แต่
อย่างไรเด็กวัยนีaยังยึดตนเป็นศูนย์กลางอยู่เช่น อยากคุยในสิNงทีNตน
ต้องการ โดยไม่คํานึงว่าคนอืNนๆจะพูดเรืNองใดอยู่
• 4) พัฒนาการทางสติปัญญา เด็กวัยนีaจะมีพัฒนาการทาง
ภาษาอย่างต่อเนืNอง คือ สามารถใช้ภาษาในรูปแบบของประโยค
ได้ จะชอบเลียนแบบภาษาพูดและลักษณะท่าทางจากผู้ใหญ่
ลักษณะเด่นของเด็กวัยนีaคืออยากรู้อยากเห็นช่างสงสัย ชอบ
จินตนาการ จึงมักแสดงออกด้วยการซักถาม เช่น ทาไม อะไร
อย่างไร เป็นต้น สาหรับด้านความจา เด็กยังมีอยู่ในวงจากัด เช่น
จาเลขได้แค่ 1-2 หลัก จาสีได้เพียงแม่สี เป็นต้น
• 2. วัยเด็กตอนกลาง หรือเด็กระดับประถมศึกษา
ตอนต้น (ช่วงอายุ 6 – 9 ปี) 10
• พัฒนาการของเด็กในวัยนีaเปลีNยนแปลงไปจากเดิมไม่มากนัก มีพัฒนาการ
อย่างช้าๆ ได้แก่
• 1) พัฒนาการทางร่างกาย เด็กจะมีความคล่องแคล่วว่องไวในการ
เคลืNอนไหวมากขึaนกว่าเดิม สามารถบังคับกล้ามเนืaอทัaงใหญ่และย่อยได้ดีขึaน
และประสานงานกันได้ดี เด็กชอบเล่น ไม่ค่อยจะอยู่นิNง ร่างกายโตช้ากว่าวัย
อนุบาล เด็กชายและเด็กหญิงจะมีขนาดส่วนสูงและน้าหนักใกล้เคียงกัน
• 2) พัฒนาการทางอารมณ์ เด็กจะเริNมมีการควบคุมทางอารมณ์ได้บ้าง
แล้ว ลักษณะอารมณ์ของเด็กวัยนีaจะเต็มไปด้วยความสนุกสนาน มี
ความสุขกับการได้ทํากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับเพืNอน จนบางครัaงขาดความ
รับผิดชอบทีNได้รับมอบหมาย ผู้ใหญ่จึงมักเรียกเด็กในวัยนีaว่า วัยสนุกสนาน
• 3) พัฒนาการทางสังคม เด็กจะยังไม่มีการแบ่งกลุ่มทางเพศในการทา
กิจกรรมอย่างชัดเจน แต่จะเริNมลดการยึดตัวเองเป็นศูนย์กลางแห่ง
ความคิดและการกระทาลง และเริNมให้ความสําคัญกับกลุ่มเพืNอน รักพวก
พ้อง แต่ทัaงนีaเพืNอนในวัยเดียวจะเริNมมีบทบาทต่อทัศนคติและความคิดของ
เด็กมากขึaนมากเดิม
23/03/64
10
• 4) พัฒนาการทางสติปัญญา เด็กจะเริNมเรียนรู้
และมีประสบการณ์เพิNมขึaน รู้จักใช้เหตุผลในการตัดสินใจ
เลือกทาในสิNงทีNตนสนใจ มีความรับผิดชอบมากขึaน
สามารถจดจาสิNงทีNเรียนรู้ไปแล้วได้อย่างแม่นยา สามารถ
เรียงลาดับตัวเลขไม่มากนักได้ รู้จักแยกแยะสีได้มากกว่า
วัยเด็กตอนต้น
• 3. วัยเด็กตอนปลาย หรือเด็กระดับประถมศึกษา
ตอนปลาย (ช่วงอายุ 10 –12 ปี)
• ถือว่าเป็นช่วงเวลาทีHสําคัญของวัยเด็ก เนืHองจากว่าเป็นวัยทีHมีการ
เปลีHยนแปลงทีHชัดเจนในทุกด้านหลายประการ ดังนีa
• 1) พัฒนาการทางร่างกาย ร่างกายของเด็กวัยนีaจะมีการเปลีNยนแปลง
อย่างรวดเร็วอีกครัaงหนึNง โดยเฉพาะผู้หญิงจะมีการเปลีNยนแปลงทีNรวดเร็ว
กว่าผู้ชายเมืNออายุประมาณ 10 ปีครึNง ในขณะทีNเด็กชายจะเริNมการ
เปลีNยนแปลงเมืNออายุ 12 ปีครึNง บางครัaงเรียกวัยนีaอีกอย่างว่า วัยเตรียมเข้า
สู่วัยรุ่น
• 2) พัฒนาการทางอารมณ์ เด็กวัยนีaจะสามารถควบคุม
และเรียนรู้การแสดงออกทางอารมณ์ทีNสังคมยอมรับ เริNม
มีความวิลกกังวลและความเครียดเนืNองจากปัญญาใน
กลุ่มเพืNอนและการได้รับการยอมรับในกลุ่ม หรือ
แม้กระทัNงการแข่งขันในด้านการเรียนกับเพืNอนร่วมชัaน จน
ดูเหมือนกับว่าเด็กในวัยนีaหงุดหงิดได้ง่าย
• 3) พัฒนาการทางสังคม เด็กจะเริNมมีการแบ่งกลุ่ม
ระหว่างเพศหญิงและเพศชายอย่างเด่นชัด และจะเลือก
ทากิจกรรมทีNเหมาะสมของเพศของตน เพืNอนวัยเดียวกัน
จะมีอิทธิพลต่อความคิดและการกระทามากขึaน ผู้ใกล้ชิด
จึงควรให้คาแนะนาเกีNยวกับการคบหาเพืNอนของเด็ก
• 4) พัฒนาการทางสติปัญญา เด็กในวัยนีaมีระดับ
ทางสติปัญญาทีNเพิNมขึaนในอีกระดับหนึNง โดยเริNมมี
จินตนาการกว้างไกลขึaน สามารถเปรียบเทียบได้
เข้าใจความสัมพันธ์และความแตกต่างของสิNงรอบตัว
เข้าใจในความสัมพันธ์ของตัวเลขมากขึaน และมี
ความจาทีNแม่นยาขึaนกว่าเดิมมาก
• 4. วัยรุ่นตอนต้น หรือระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น (ช่วงอายุ 13-15 ปี)
• เป็นวัยซึNงอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นลักษณะโดยทัNวๆ ไป
เด็กผู้หญิงจะเข้าสู่วัยรุ่นก่อนเด็กผู้ชายคือ จะย่างเข้าสู่วัยรุ่นเมืNอ
อายุประมาณ 12-13 ปี ส่วนเด็กผู้ชายเตรียมเข้าสู่วัยรุ่นเมืNออายุ
ประมาณ 13-15 ปี วัยนีaบางทีเรียกว่า “วัยก่อนวัยรุ่น”(puberty)
คือ ระยะก่อนวัยหนุ่มสาว ลักษณะทางเพศจะปรากฏขึaนให้เห็นเด็ก
วัยนีaจะดูเก้งก้างทาอะไรขัดเขินไม่เรียบร้อยร่างกายต้องการอาหาร
ทีNมีประโยชน์เพืNอช่วยในการเจริญเติบโต
23/03/64
11
1) พัฒนาการทางกาย
• ร่างกายของเด็กวัยนีaจะสูงขึaน และมีน้าหนักเพิNมขึaน
แขนยาว มือใหญ่ขึaน เด็กผู้หญิง จะมีตะโพกผาย
หน้าอกขยายใหญ่ขึaน มีขนขึaนทีNอวัยวะเพศ มีประจา
เดือน ส่วนเด็กผู้ชายมีกล้ามเนืaอใหญ่กว้างและ
แข็งแรงขึaน มีขนตามแขน หน้าแข้ง เสียงจะห้าวแตก
จะมีน้าอสุจิ และจะมีการสําเร็จความใคร่ด้วยตนเอง
ทัaงเด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงมีภาวะพร้อมทีNจะเป็นพ่อ
คนและแม่คนได้
2) พัฒนาการทางอารมณ์
• เด็กวัยนีUมักจะเป็นคนเจ้าอารมณ์ อารมณ์ไม่คงทีH ปัHนป่วน
เปลีHยนแปลงง่าย หงุดหงิดง่าย เครียดง่าย โกรธง่าย อาจเกิด
อารมณ์ซึมเศร้าโดยไม่มีสาเหตุได้ง่ายอารมณ์ทีNไม่ดีเหล่านีaอาจทา
ให้เกิดพฤติกรรมเกเรก้าวร้าว มีผลต่อการเรียนและการดาเนิน
ชีวิต ในวัยรุ่นตอนต้นการควบคุมอารมณ์ยังไม่ค่อยดีนักบางครัaง
ยังทาอะไรตามอารมณ์ตัวเองอยู่บ้าง แต่จะค่อยๆดีขึaนเมืNออายุมาก
ขึaน อารมณ์เพศวัยนีaจะมีมากทาให้มีความสนใจเรืNองทางเพศ หรือ
มีพฤติกรรมทางเพศเช่น การสําเร็จความใคร่ด้วยตนเองซึNงถือว่า
เป็นเรืNองปกติในวัยนีa
3) พัฒนาการทางสังคม
• เด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงมักจะแยกกันเล่น แต่ก็เริNมสนใจซึNงกัน
และกันโดยไม่กล้าเปิดเผยสนใจการเล่นรวมเป็นกลุ่ม จะปฏิบัติ
ตามกฎของกลุ่ม และจะเลียนแบบสมาชิกในกลุ่มไม่ว่าจะเป็นด้าน
การ แต่งกาย การพูดจา หรือกิริยาท่าทาง เนืNองจากเด็กวัยนีaมักจะ
ขาดความมัNนใจและต้องการให้เป็นทีNยอมรับของกลุ่ม การกระทา
และความต้องการจึงมักจะขัดแย้งกับความต้องการให้เป็นทีN
ยอมรับของกลุ่ม การกระทาและความต้องการจึงมักจะขัดแย้งกับ
ความต้องการของพ่อแม่และผู้ใหญ่เสมอ
4) พัฒนาการทางสติปัญญา
• เด็กวัยนีaมีเหตุผลและควบคุมตนเองได้ดีขึaน รู้จักอดทนใน
การคบเพืNอน ช่วงความสนใจนานขึaน สามารถปรับตัวให้
เข้ากับสถานการณ์ใหม่ๆได้กว้างขวางขึaน เพราะเด็กเข้าใจ
สิNงทีNเป็นนามธรรมมากขึaน โดยเฉพาะคาพูด เข้าใจและ
รู้จักพูดถ้อยคาทีNลึกซึaง ถ้อยคาเปรียบเทียบต่างๆดีขึaน
เฉลียวฉลาดมากขึaนกว่าเดิม แต่บางครัaงก็นัNงฝันกลางวัน
เพืNอเป็นการชดเชยสิNงทีNขาด
5. วัยรุ่นตอนกลาง หรือระดับมัธยมศึกษาปลาย
(ช่วงอายุ 15-18 ปี)
• เด็กจะเข้าสู่วัยรุ่นเมืNออายุ 15 -18 ปี เป็นระยะทีNเด็กกาลังเรียนในชัaนมัธยมศึกษา
ตอนปลาย
• เป็นระยะทีNเด็กวัยรุ่นค้นหาลักษณะประจําตนและบทบาททีNแท้จริงของตนทัaงทาง
บ้านและทางโรงเรียนเช่นเดียวกับวัย 12-15 ปี เหตุนีaวัยรุ่นจึงเปลีNยนแบบแผน
พฤติกรรมของตนสู่วัยผู้ใหญ่ แต่ถ้าวัยนีaหาลักษณะประจําตนไม่ได้ และไม่ทราบ
ว่าบทบาททีNแท้จริงของตนคืออย่างไร จะเกิดความสับสนในบทบาทและจะ
ปรับตัวไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิNงเกีNยวกับเพศ และอาชีพ ในบางกรณีทีNเด็ก
ปรับตัวไม่ได้ สับสนในบทบาทเพศและอาชีพ เด็กจะรับเอาบทบาททีNไม่พึง
ประสงค์ และเป็นอันตรายจากสังคมมาเป็นของตน เช่น ติดยาเสพติด ซึNงเด็กรู้สึก
ว่าเป็นหนทางทีNจะแสวงหาความหมายให้กับชีวิตได้
1) พัฒนาการทางกาย
• ร่างกายของเด็กวัยนีaจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่เต็มทีN มีนํaาหนัก
และส่วนสูงมากทีNสุด กระดูกแข็งแรง ผิวพรรณผ่องใส ต่อม
ต่างๆ ทําหน้าทีNมากขึaนวัยนีaเริNมพิถีพิถันในเรืNองความงาม
เด็กจะสนใจรูปร่างหน้าตาและการแต่งกายมาก
23/03/64
12
2) พัฒนาการทางอารมณ์
• วัยนีaต้องการอิสรภาพมากขึaน มักจะแสดงอาการ
แข็งกร้าว เมืNอถูกจํากัดเสรีภาพ มักมีอารมณ์เพ้อฝัน
เกีNยวกับอนาคต เช่น อาชีพ การแต่งงาน เด็กวัยนีa
ปรับตัวได้ดีขึaน อารมณ์สุขุมเยือกเย็น กล้าเผชิญ
ความจริงมากขึaน
3) พัฒนาการทางสังคม
• เด็กวัยนีaพอใจทีNจะอยู่ในกลุ่มเพศเดียวกันและมักจะ
ทําตามกลุ่ม นิยมและคลัNงไคล้อะไรทีNเหมือนๆกัน
มักจะนิยมของแปลกๆและวิตถาร ไม่ค่อยสนิทสนม
คลุกคลีกับพ่อแม่พีNน้องเหมือนเดิม แต่จะสนใจ
เพืNอนมากกว่า จะใช้เวลากับเพืNอนนานๆมีกิจกรรม
นอกบ้านมาก
4) พัฒนาการทางสติปัญญา
• พัฒนาการทางสมองเกือบเท่าผู้ใหญ่เป็นวัยทีNเริNมมี
แนวทางชีวิตสาหรับตัวเอง มักจะสนใจเกีNยวกับศีลธรรม
จรรยาและด้านการเมือง แต่ก็ยังไม่สามารถตัดสินอะไรได้
เนืNองจากขาดประสบการณ์เป็นวัยทีNแสวงหาลักษณะประ
จาตนเพืNอเลือกและเตรียมตัวสาหรับอาชีพ
1. ทฤษฎีงานพัฒนาการของ Havighurst
(Devolopment Talks)
ซึHงฮาวิกเฮิร์ส ได้แบ่งพัฒนาการของมนุษย์ไว้เป็น 6 ช่วงอายุ คือ
1) วัยเด็กเล็ก-วัยเด็กตอนต้น
2) วัยเด็กตอนกลาง
3) วัยรุ่น
4) วัยผู้ใหญ่ตอนต้น
5) วัยกลางคน
6) วัยชรา
1) วัยเด็กเล็ก – วัยเด็กตอนต้น (แรกเกิด – อายุ 6 ปี)
-เรียนรู้ทีNจะเดิน
-เรียนรู้ทีNจะรับประทานอาหาร
-เรียนรู้ทีNจะพูด
-เรียนรู้ทีNจะควบคุมการขับถ่าย
-เรียนรู้ทีNจะมองเห็นความแตกต่างระหว่างเพศ
-รู้จักการทรงตัว เคลืNอนไหวได้สะดวก
-เริNมมีความคิดรวบยอดง่ายๆ เกีNยวกับความจริงทางสังคม
และทางกายภาพ
-เรียนรู้ทีNจะสร้างความผูกพันตนเองกับพ่อแม่พีNน้องตลอดจน
คนอืNนๆ
-เรียนรู้ทีNจะมองเห็นความแตกต่างระหว่างสิNงทีNผิด -ถูกและ
เริNมพัฒนาการทางจริยธรรม
23/03/64
13
2) วัยเด็กตอนกลาง (6 – 12 ปี)
- เรียนรู้ทีNจะใช้ทักษะด้านร่างกายในการเล่นเกมต่างๆ
- สร้างเจตคติต่อตนเองในฐานะทีNเป็นสิNงทีNมีชีวิต
- เรียนรู้ทีNจะปรับตนเองให้เข้ากันได้กับเพืNอนรุ่นเดียวกัน
- เรียนรู้บทบาททางสังคมทีNเหมาะสมของเพศหญิงและเพศชาย
- พัฒนาความคิดรวบยอดทีNจาเป็นสําหรับชีวิตประจาวัน
- พัฒนาเกีNยวกับเรืNองศีลธรรมจรรยาและค่านิยม
- สามารถช่วยเหลือตนเองได้
- พัฒนาเจตคติต่อกลุ่มสังคมและต่อสถาบันต่างๆ
- พัฒนาทักษะพืaนฐานในการ อ่าน เขียน และคํานวณ
3) วัยรุ่นตอนต้นและตอนปลาย (12 – 18 ปี)
-สามารถสร้างความสัมพันธ์อันดีและเหมาะสมกับเพืNอนรุ่นราว
คราวเดียวกันได้ ทัaงทีNเป็นเพืNอนเพศเดียวกันหรือต่างๆเพศ
-สามารถแสดงบทบาททางสังคมได้เหมาะสมกับเพศตนเอง
-ยอมรับสภาพร่างกายของตนเองสามารถปรับตัวให้เข้ากับความ
เปลีNยนแปลงทัaงหลายได้เป็นอย่างดี
-รู้จักควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
-มีความมัNนใจเกีNยวกับเรืNองการใช้จ่าย รู้จักการรับผิดชอบต่อการเงิน การใช้จ่าย
ของตนเองได้เป็นอย่างดี
-มีการคบเพืNอนต่างเพศ
-มีการเลือกและเตรียมตัวเพืNออาชีพ
-มีการเตรียมตัวเพืNอการแต่งงานและการมีครอบครัว
-เริNมเตรียมตัวทีNจะเป็นพลเมืองดี หาทักษะในการใช้ภาษา การสืNอความหมาย
การหาความรู้ ความเข้าใจเกีNยวกับเรืNองต่างๆ เช่น กฎหมาย รัฐบาล เศรษฐกิจ
สังคม
-มีความต้องการและรู้จักพัฒนาตนเองให้มีความรับผิดชอบทัaงต่อตนเองและผู้อืNน
-มีความรู้สึกและความเข้าใจในเรืNองค่านิยม ตลอดจนรู้จักตัดสินเลือกเอาค่านิยม
และ มาตรฐานทีNตน ควรยึดถือเป็นหลักเป็นแนวทางชีวิต
4) วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18 – 35 ปี)
-มีการเลือกคู่ครอง
-เรียนรู้ทีNจะมีชีวิตคู่ร่วมกับคู่แต่งงาน
-เริNมต้นสร้างครอบครัว
-รู้จักการอบรมเลีaยงลูก
-รู้จัดการจัดการภารกิจในครอบครัว
-เริNมต้นประกอบอาชีพ
-รู้จักหน้าทีNของพลเมืองดี
-สามารถหากลุ่มสังคมทีNเป็นพวกเดียวกันได
5) วัยกลางคน (35 – 60 ปี)
-บรรลุวัยผู้ใหญ่ การเป็นพลเมืองดี ตลอดจนการมีความรับผิดชอบ
ต่อสังคม
-สร้างหลักฐาน ฐานะเศรษฐกิจเพืNอความเป็นปึกแผ่นของครอบครัว
-การช่วยเหลือวัยรุ่นให้มีความรับผิดชอบ เพืNอจะได้เป็นผู้ใหญ่ทีNมีความสุข
-รู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
-สามารถทีNจะปรับตัวและทาความเข้าใจคู้ชีวิตของตนเองได้
-เรียนรู้ทีNจะยอมรับและปรับตัวให้เข้ากับสภาพการเปลีNยนแปลงของร่างกาย
-รู้จักปรับตัวให้เข้ากันได้กับพ่อแม่ทีNสูงอายุ
6) วัยชรา (60 ปีขึUนไป )
-สามารถปรับตัวได้กับสภาพทีNเสืNอมถอยลง
-ปรับตัวได้กับการทีNจะต้องเกษียณอายุ ตลอดจน
เงินเดือนทีNลดลง
-ปรับตัวได้กับการตายของคู่ครอง
-สามารถสร้างสัมพันธภาพกับคนในวัยเดียวกันได้
23/03/64
14
จิตวิทยาการศึกษา
• จิตวิทยาการศึกษามีบทบาทสําคัญในการจัดการศึกษา
ครูจึงจําเป็นต้องมีความรู้พืaนฐานทางจิตวิทยาการศึกษา
•จิตวิทยาการศึกษา
• คือ การศึกษาพฤติกรรมต่างๆมนุษย์ที6เกี6ยวข้อง
กับสถานการณ์การเรียนการสอน โดยเน้นทํา
ความเข้าใจพฤติกรรมการเรียนรู้และการพัฒนา
ความสามารถของผู้เรียนแต่ละคนแต่ละช่วงวัย
ที6แตกต่างกัน
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 80
Q1.ข้อใดกล่าวถูกต้องทีHสุดเกีHยวกับหลักจิตวิทยา
การศึกษา
ก.เป็นการศึกษาเกีHยวกับการเรียนรู้และพัฒนาการของ
ผู้เรียนในสภาพการเรียนการสอนในชัUนเรียน
ข. เป็นการศึกษาเกีHยวกับการเปลีHยนแปลงพฤติกรรมอัน
เนืHองมาจากประสบการณ์และการฝึกหัด
ค. ศึกษาเกีHยวกับพฤติกรรมหรือกิริยาอาการของมนุษย์
และสัตว์โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ง. ความรู้สึกของบุคคลทีHมีต่อสิHงใดๆซึHงแสดงออกมา
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 81
• ความสําคัญของจิตวิทยาการศึกษาต่ออาชีพครู
การเป็นครูทีNดีนัaนจะต้องเป็นด้วยจิตวิญาณมีความเข้าใจหลักการ
สอนกระบวนการสอนตามหลักวิชาการแล้วยังไม่พอ ครูจะต้องรู้
เกีNยวกับจิตวิทยาเพราะครูทุกคนมีวิถีชีวิตอยู่กับคนแทบจะ
ตลอดเวลาจึงจําเป็นจะต้องรู้ชีวิตจิตใจของมนุษย์ว่าเขาเหล่านัaนมี
ความต้องการอะไรดังมีกล่าวว่าคนเป็นครูจะต้องรู้จิตวิทยาเพราะว่า
จิตวิทยาช่วยครูได้ดังทีN
สุรางค์ โค้วตระกูล (2553 : 4 - 5) กล่าวไว้ดังต่อไปน
1. ช่วยครูให้รู้จักลักษณะนิสัย (Characteristics)
ของนักเรียนทีNครูต้องสอนโดยทราบหลักพัฒนาการทัaงทาง
ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และบุคลิกภาพเป็น
ส่วนรวม
2. ช่วยให้ครูมีความเข้าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบาง
ประการของนักเรียน เช่น อัตมโนทัศน์ (Self concept)
ว่าเกิดขึaนได้อย่างไร และเรียนรู้ถึงบทบาทของครูในการทีNจะ
ช่วยนักเรียนให้มีอัตมโนทัศน์ทีNดีและถูกต้องได้อย่างไร
3. ช่วยครูให้มีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล เพืNอจะได้
ช่วยนักเรียนเป็นรายบุคคลให้พัฒนาตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
4. ช่วยให้ครูรู้วิธีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก่วัย
และขัaนพัฒนาการของนักเรียนเพืNอจูงใจให้นักเรียนมีความสนใจและ
อยากจะเรียนรู้
5. ช่วยให้ครูทราบถึงตัวแปรต่างๆทีNมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของ
นักเรียน เช่น แรงจูงใจ อัตมโนทัศน์ และการตัaงความคาดหวังของครูทีN
มีต่อนักเรียน
6. ช่วยครูในการเตรียมการสอนวางแผนการเรียนเพืNอทาให้การสอนมี
ประสิทธิภาพสามารถช่วยให้นักเรียนทุกคนเรียนรู้ตามศักยภาพของ
แต่ละบุคคล โดยคํานึงหัวข้อต่อไปนีa
23/03/64
15
7. ช่วยครูให้ทราบหลักการและทฤษฎีของการเรียนรู้ทีNนักจิตวิทยา ได้พิสูจน์
แล้วว่าได้ผลดี เช่น การเรียนรู้จากการสังเกตหรือการเลียนแบบ
(Observational learning หรือ Modeling)
8. ช่วยครูให้ทราบถึงหลักการสอนและวิธีสอนทีNมีประสิทธิภาพ รวมทัaง
พฤติกรรมของครูทีNมีการสอนอย่างมีประสิทธิภาพว่ามีอะไรบ้าง เช่น การใช้
คําถาม การให้แรงเสริม และการทําตนเป็นต้นแบบ
9. ช่วยครูให้ทราบว่านักเรียนทีNมีผลการเรียนดีไม่ได้เป็นเพราะ ระดับเชาวน์
ปัญญาเพียงอย่างเดียว แต่มีองค์ประกอบอืNนๆ เช่น แรงจูงใจ
(Motivation) ทัศนคติหรือ อัตมโนทัศน์ของนักเรียนและความ
คาดหวังของครูทีNมีต่อตัวนักเรียน
10. ช่วยครูในการปกครองชัaนและการสร้างบรรยากาศของ
ห้องเรียน ให้เอืaอต่อการเรียนรู้และเสริมสร้างบุคลิกภาพของ
นักเรียน ครูและนักเรียนมีความรัก และไว้วางใจซึNงกันและ
กัน นักเรียน ต่างก็ช่วยเหลือซึNงกันและกัน ทาให้ห้องเรียน
เป็นสถานทีNทีNทุกคนมีความสุขและนักเรียนรักโรงเรียน
อยากมาโรงเรียน
Q3. ครูทีHมีความรู้ทางจิตวิทยา ควรมี
คุณสมบัติตามข้อใด
ก. รู้นิสัยของนักเรียน
ข. รู้วิธีก่อนสอน
ค. เข้าใจผู้เรียน
ง. สอนสนุก
87
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547
เพียเจต์ (Piaget)
พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาทัNงสิNน 4 ลําดับขัNน
ระยะทีP 1ขัNนของการใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเนืNอ (Sensory
– Motor Operation or Reflexive)อยู่ในช่วงอายุแรกเกิดถึง 2 ปี
เด็กจะพัฒนาการแก้ปัญหาโดยไม่ต้องใช้ภาษาเป็นสื6อเป็นช่วง
เริ6มต้นที6จะเรียนรู้ในการปรับตัวเข้ากับสิ6งแวดล้อมถ้ามีการใช้
ประสาทสัมผัสมากเท่าไรก็จะช่วยพัฒนาเชาวน์ปัญญาได้มาก
ขึNนด้วย โดยทัPวไปเด็กจะรับรู้สิPงทีPเป็นรูปธรรมได้เท่านัNน
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 88
• ระยะทีP 2 ขัNนเตรียมความคิดทีPมีเหตุผล หรือการคิด
ก่อนปฏิบัติการ (Preoperation or Preconceptural
Stage or Concret Thinking Operations) อยู่ในช่วง
อายุ 2-7 ปี พัฒนาการเชาว์ปัญญาของเด็กวัยนีNเน้นไป
ที6การเรียนรู้ และเริ6มมีพัฒนาการทางภาษาดีขึNนด้วย
โดยสามารถพูดได้เป็นประโยค มีการสร้างคําได้มาก
ขึNน แต่เด็กยังไม่สามารถใช้สติปัญญาคิดได้อย่าง
เต็มที6
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 89
• ระยะทีP 3 ขัNนคิดอย่างมีเหตุผลและเป็นรูปธรรม
(Concrete Operation Stage or Period of Concrete
Operation) หรือขัNนปฏิบัติการด้วยรูปธรรม
อยู่ในช่วงอายุ 7-11 ปี เด็กในวัยนีNจะสามารถใช้เหตุผล
ในการตัดสินใจปัญหา ต่าง ๆ ได้ดีขึNน โดยลักษณะเด่น
ของเด็กวัยนีNคือ
• >>สามารถคิดย้อนกลับไปมาได้ (Reversibility)
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 90
23/03/64
16
ระยะทีH 4 ขัUนของการคิดอย่างมีเหตุผลและอย่าง
เป็นนามธรรม (Formal Operation Stage
or Period of Formal Operation) หรือขัaน
การปฏิบัติการด้วยนามธรรม อยู่ในช่วงอายุตัUงแต่ 12
ปีขึUนไป เด็กจะเริNมคิดแบบผู้ใหญ่ได้ เข้าใจในสิNงทีNเป็น
นามธรรม เป็นตัวของตัวเอง ต้องการอิสระ ไม่ยึดตน
เป็นศูนย์กลาง รู้จักการใช้เหตุผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
“ เพียเจท์เชื,อว่าพัฒนาการของเชาวน์ปัญญามนุษย์จะดาเนินไปเป็นลําดับขัEน
เปลี,ยนแปลงหรือข้ามขัEนไม่ได้ ”
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 91
1. พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญา ของเพียเจต์ (Piaget) ช่วง
วัยใดที9คิดอย่างมีเหตุผลและเป็นรูปธรรม
ก.ช่วงอายุแรกเกิดถึง 2 ปี ข. ช่วงอายุ 2-7 ปี
ค. ช่วงอายุ 7-11 ปี ง. ตัNงแต่ 12 ปีขึNนไป
14. พัฒนาการเชาวน์ปัญญาของเพียเจต์ ขัUนคิดอย่างมี
เหตุผล สามารถคิดย้อนกลับได้ อยู่ในช่วงอายุ เท่าใด
ก. 0-2 ปี ข. 2 - 7 ปี
ค. 7 - 11 ปี ง. 12 ปีขึaนไป
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 92
Q. พัฒนาการทางเชาว์ปัญญาขัUนสูงสุดของเพียต์
เจท์ คือ
ก. Sensorimotor
ข. Preoperational
ค. Concrete
ง. Formal
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 93
แนวคิด ทฤษฎี ทางการศึกษา
จอนห์น ดิวอีN(John Dewey) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ตัดสินใจ
ด้วยตนเอง ผู้สอน มีหน้าที6ช่วยเหลือให้คําปรึกษา
“การเรียนรู้เกิดจากการกระทํา(Learning by doing)”
สกินเนอร์ (B.F. Skinner) การเรียนรู้แบบการกระทํา และ
การเสริมแรง ทัNงบวก ลบ และลงโทษ บวก ลบ
94
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547
ธอร์นไดค์ (Edward L. Thorndike ) ทฤษฎีสัมพันธ์
เชืPอมโยง (Connectionism Theory)เน้นสิPงเร้า
(Stimulus)กับการตอบสนอง(Response)
กฎแห่งการเรียนรู้ 3 กฎ
1. กฎแห่งการฝึกหัดหรือการกระทําซํNา
(The Law of Exerciseor Repetition)
2. กฎแห่งผล(The Law of Effect)
3. กฎแห่งความพร้อม(The Law of Readiness)
95
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547
1."เน้นยํUา ทําซํUา ทบทวน" น่าจะเกีHยวข้องกับ
ทฤษฎีและแนวคิดของใคร
ก. สกินเนอร์ ข. ดิวอีa
ค. ฟาฟลอฟ ง. ธอร์นไดค์
2. ข้อใดไม่ใช่ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดร์
ก. กฎแห่งการฝึกหัด
ข. กฎแห่งผล
ค. กฎแห่งความพร้อม
ง. กฎแห่งการกระทํา
96
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547
23/03/64
17
68. การนําหนังสือเเละเเบบทดสอบกลับมาทําอีกครัUง
ตรงกับทฤษฎีใดของธอร์นไดร์
ก. เเบบเข้าใจ ข. เเบบฝึกหัด
ค. นําไปใช้ ง. แบบสนใจ
69. การอ่านหนังสือและทบทวนบทเรียนของนักเรียน
อยู่ในกฎข้อใดของธอร์นไดร์
ก. กฎการใช้ ข. กฎแห่งการฝึกหัด
ค. กฎแห่งความพอใจ ง. กฎแห่งผล
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 97
87. น้องตุ๊กได้คะแนนวิชาภาษาไทยสูงเพราะน้องตุ๊
กชอบคุณครูวิชาภาษาไทย น้องตุ๊กจัดอยู่ในกฎข้อใด
ของธอร์นไดค์
ก. กฎการฝึกหัด
ข. กฎความพอใจ
ค. กฎความพร้อม
ง. กฎการได้ใช้
8 . เบนจามิน เอส บลูม Benjamin
S.Bloom ได้จําแนกพฤติกรรมการเรียนรู้ออกเป็น
หมวดหมู่ตามความ ยากง่าย เรียกว่า Taxonomy
of Edutional objectivers
พุทธพิสัย (Cognitive Domain)
จิตพิสัย (Affective Domain)
ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
99
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547
Bloom ได้แบ่งการเรียนรู้เป็น 6 ระดับ
พุทธพิสัย (Cognitive Domain)
1. ความจํา (knowledge)
>> สามารถจําความรู้ต่างๆทีNได้เรียนมา
2.ความเข้าใจ (Comprehend)
>> สามารถแปลความขยายความในสิNงทีNได้เรียนรู้
3.การประยุกต์ใช้ (Application)
>> สามารถนําสิNงทีNได้เรียนรู้มาใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 100
4.การวิเคราะห์ ( Analysis)
>> สามารถแยกความรู้ออกเป็นส่วนทําความเข้าใจในแต่
ละส่วนว่าสัมพันธ์ หรือแตกต่างกันอย่างไร
5.การสังเคราะห์ ( Synthesis)
>> สามารถในการรวมความรู้หรือประสบการณ์ต่างๆให้
เกิดเป็นสิNงใหม่
6.การประเมินค่า ( Evaluation)
>> สามารถตัดสินคุณค่าอย่างมีเหตุผล
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 101
จิตพิสัย (Affective Domain)(พฤติกรรมด้านจิตใจ)
ค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึ้ง ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจและ
คุณธรรม พฤติกรรมด้านนี้อาจไม่เกิดขึ้นทันที ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนโดยจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม และสอดแทรกสิ่งที่ดีงามอยู่ตลอดเวลา จะ
ทําให้พฤติกรรมของผู้เรียนเปลี่ยนไปในแนวทางที่พึงประสงค์ได้
1.การรับรู้ ... เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่อปรากฎการณ์ หรือสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่ง
2. การตอบสนอง ...เป็นการกระทําที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอม
และพอใจต่อสิ่งเร้านั้น
3. การเกิดค่านิยม ... การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม การยอมรับ
นับถือในคุณค่านั้น ๆ
4. การจัดระบบ ... การสร้างแนวคิด จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัย
ความสัมพันธ์
5. บุคลิกภาพ ... การนําค่านิยมที่ยึดถือมาแสดงพฤติกรรมทีHเป็นนิสัยประจําตัว
วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 102
จิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรม

More Related Content

What's hot

ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 krurutsamee
 
ซูโดกุ สสวท
ซูโดกุ สสวทซูโดกุ สสวท
ซูโดกุ สสวทNat Krub
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟFern Monwalee
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทับทิม เจริญตา
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมkanjana2536
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
อาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาคอาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาคstudentkc3 TKC
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1Manas Panjai
 
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origamiIS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origamiเติ้ล ดาว'เหนือ
 

What's hot (20)

ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
ซูโดกุ สสวท
ซูโดกุ สสวทซูโดกุ สสวท
ซูโดกุ สสวท
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
 
ตัวอย่างแผนภาพต้นไม้
ตัวอย่างแผนภาพต้นไม้ตัวอย่างแผนภาพต้นไม้
ตัวอย่างแผนภาพต้นไม้
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
อาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาคอาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาค
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
 
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origamiIS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 

Similar to จิตวิทยา 6 เฟรม

หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1jamjuree_ben
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education Weerachat Martluplao
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
Assignment 4 Siriporn
Assignment 4 SiripornAssignment 4 Siriporn
Assignment 4 Siripornsiriporn9915
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Natida Boonyadetwong
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1wanneemayss
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1fernfielook
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Pateemoh254
 

Similar to จิตวิทยา 6 เฟรม (20)

หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
งาน8และ construcionvism
งาน8และ construcionvismงาน8และ construcionvism
งาน8และ construcionvism
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
Assignment 4 Siriporn
Assignment 4 SiripornAssignment 4 Siriporn
Assignment 4 Siriporn
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 

More from ชีวิตนี้ จงอดทนในการเผชิญกับบททดสอบ

More from ชีวิตนี้ จงอดทนในการเผชิญกับบททดสอบ (20)

7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf
7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf
7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf
 
ติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdf
ติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdfติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdf
ติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdf
 
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้วภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญาพ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)
 
แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05
แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05
แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05
 
แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547
แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547
แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547
 
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
 
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรมบริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
 
การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)
การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)
การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)
 
กฎหมายการศึกษา 6
กฎหมายการศึกษา 6กฎหมายการศึกษา 6
กฎหมายการศึกษา 6
 
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
 
Trench final
Trench finalTrench final
Trench final
 
Kunnatam ex
Kunnatam exKunnatam ex
Kunnatam ex
 
Lesson plan electricfield
Lesson plan electricfieldLesson plan electricfield
Lesson plan electricfield
 
Checkins report
Checkins reportCheckins report
Checkins report
 
E0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98c
E0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98cE0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98c
E0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98c
 
Build your own_volcano
Build your own_volcanoBuild your own_volcano
Build your own_volcano
 
How to-use
How to-useHow to-use
How to-use
 
F7 zx41zhyfnx6g3
F7 zx41zhyfnx6g3F7 zx41zhyfnx6g3
F7 zx41zhyfnx6g3
 

จิตวิทยา 6 เฟรม

  • 1. 23/03/64 1 จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาให้คําปรึกษา ในการวิเคราะห์และพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ ทีมบัวแสงใส นิยาม 1.จิตวิทยาพัฒนาการ 2. จิตวิทยาการศึกษา 3. จิตวิทยาให้คําปรึกษาในการวิเคราะห์ และพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ • จิตวิทยา ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Psychology มีรากศัพท์ มาจากภาษากรีก 2 คํา • Psychology • Psyche - - - - - - - Psycho = วิญญาณ (Soul) Logos - - - - - - - - logy = การศึกษา • Psycho + logy - - - - - - - - Psychology • เดิม Psychology หมายถึง วิชาทีHศึกษาค้นคว้าเกีHยวกับ วิญญาณหรือจิตใจของสิHงมีชีวิต • • ปัจจุบัน Psychology จิตวิทยาได้มีการพัฒนา เปลีNยนแปลงไป • ความหมายของจิตวิทยาได้มีการพัฒนา เปลีNยนแปลงตามไปด้วย นัNนคือ จิตวิทยาเป็น ศาสตร์ทีHศึกษาเกีHยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ และสัตว์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป ้ าหมายของการศึกษาจิตวิทยา 1. เพืHออธิบายพฤติกรรมของบุคคล ขัUนตํHา 2. เพืHอเข้าใจพฤติกรรมของบุคคล 3. เพืHอทํานายหรือพยากรณ์พฤติกรรมของ บุคคล 4. เพืHอควบคุมพฤติกรรมของบุคคล ขัUนสูง 5 วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 • บิดาแห่งจิตวิทยาโลก = ซิกมัน ฟรอยด์ • บิดาแห่งจิตวิทยาวิเคราะห์ = ซิกมัน ฟรอยด์ • บิดาแห่งจิตวิทยาแผนใหม่ = จอห์น บี วัตสัน • บิดาแห่งพฤติกรรมนิยม = จอห์น บี วัตสัน • บิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง = วิลเฮล์ม แมกซ์ วุ้นท์ • บิดาแห่งสติปัญญา = อัลเฟรด บิเนต์ • บิดาแห่งจิตวิทยาการศึกษา = ธอร์นไดด์ • บิดาแห่งการแนะแนว = แฟรงค์ พาร์สัน
  • 2. 23/03/64 2 Q2.จิตวิทยา มีประโยชน์ต่อครูอย่างไร ก.ช่วยให้ครูดูแลชัUนเรียนได้ดีขึUน ข. ช่วยให้ครูเข้าใจวิธีสอน ค. ช่วยให้ผลสัมฤทธิ]ของผู้เรียนสูงขึUน ง. ช่วยให้ครูควบคุมพฤติกรรมของผู้เรียนได้ดีขึUน 7 วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 • 1.จิตวิทยาพัฒนาการ • พัฒนาการ หมายถึง การเปลีNยนแปลงไปในทางทีNดี ในทางทีNพึงปรารถนาทําให้เกิดการเปลีNยนแปลง ทางด้านร่างกาย อารมณ์ ทางสังคม และทาง สติปัญญา ซึNงจะเกิดติดต่อกันไปเรืNอย ๆ จากระยะ หนึNงไปสู่อีกระยะหนึNง • แนวคิดหลักจิตวิทยาพัฒนาการ • 1. การเจริญเติบโตเป็นการเปลีNยนแปลงของร่างกายไปสู่วุฒิภาวะด้านปริมาณ โดย การเพิNมจานวนและ/หรือขนาดของเซลล์ รวมทัaงขนาดของร่างกาย ส่วนพัฒนาการ ด้านการเปลีNยนแปลงไปสู่วุฒิภาวะด้านคุณภาพ ทาให้เกิดทักษะ ความสามารถใหม่ ๆ และการปรับตัวด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา • 2. การศึกษาพัฒนาการของมนุษย์มีหลายวิธี ซึNงสามารถเลือกใช้ได้ตามความ เหมาะสม การศึกษาพัฒนาการของมนุษย์จะช่วยให้พยาบาลเข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อืNน ยอมรับในความเป็นบุคคล และความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึNงจะเป็นประโยชน์ใน การให้บริการสุขภาพแบบองค์รวม • 3. มนุษย์ทุกชาติ ทุกภาษา มีหลักพัฒนาการเป็นแบบฉบับเดียวกัน แต่อัตรา พัฒนาการของแต่ละบุคคลจะแตกต่างกันอันเป็นผลเนืNองมาจากพันธุกรรมและ สิNงแวดล้อม • 4. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ได้รับอิทธิพลจากองค์ประกอบทัaงภายใน และ ภายนอกร่างกาย ซึNงหมายถึงพันธุกรรมและสิNงแวดล้อม โดยทัaงสององค์ประกอบ จะมีส่วนร่วมกันในการกาหนดคุณลักษณะ และพฤติกรรมของมนุษย์แต่ละคน • นิยามศัพท์ • การเจริญเติบโต (Growth) หมายถึง การเปลีNยนแปลงด้าน ปริมาณ มีการเพิNมขึaนของขนาดตัวทัaงหมด และขนาดของส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกายซึNงสามารถวัดได้ (สุวดี ศรีเลณวัติ, 2530 อ้างถึงใน กัลยา นาคเพ็ชร์ และคณะ, 2548) • การเจริญเติบโต (Growth) หมายถึง การเปลีNยนแปลงของร่างกายซึNง เกิดขึaนตัaงแต่ปฏิสนธิจนถึงการมีวุฒิภาวะ (Sigelman & Shaffer, 1994) • สรุปการเจริญเติบโต หมายถึง การเปลีNยนแปลงในด้านการเพิNมขนาดของ ร่างกาย หรือการเปลีNยนแปลงด้านปริมาณ โดยการเพิNมจานวนเซลล์และ/หรือ ขนาดของเซลล์ รวมทัaงสัดส่วนของร่างกาย ซึNงสามารถสังเกต วัดและประเมิน ได้อย่างชัดเจน ได้แก่ ส่วนสูง น้าหนัก ฟัน การเปลีNยนแปลงของกระดูกและ กล้ามเนืaอ • พัฒนาการ (Development) • หมายถึง ลําดับของการเปลีNยนแปลงหรือกระบวนการ เปลีNยนแปลงของมนุษย์ทุกส่วนทีNต่อเนืNองกันไปตัaงแต่ แรกเกิดจนตลอดชีวิต การเปลีNยนแปลงนีaจะก้าวหน้า ไปเรืNอย ๆ เป็นขัaน ๆ จากระยะหนึNงไปสู่อีกระยะหนึNง เพืNอทีNจะไปสู่วุฒิภาวะ ทาให้มีลักษณะและ ความสามารถใหม่ ๆ (สุชา จันทร์เอม, 2540) • วุฒิภาวะ (Maturation) หมายถึง การทีNบุคคลแต่ละ คนมีความเจริญถึงภาวะสูงสุดทีNจะทาอะไรได้ (อรพรรณ ลือบุญธวัช ชัย, 2541) • วุฒิภาวะ (Maturation) หมายถึง ความสามารถของ ร่างกายทีNถึงพร้อมในระยะใดระยะหนึNงในการจะทาหน้าทีNใด ๆ โดย เกิดจากกรรมพันธ์เป็นตัวกาหนด(Vander Zanden, 1993) • สรุปวุฒิภาวะ หมายถึง การบรรลุถึงขัaนการเจริญเติบโตเต็มทีN ในระยะใดระยะหนึNงตามขัaนของพัฒนาการและมีความพร้อมทีNจะ ทากิจกรรมนัaนได้เหมาะสมกับวัย
  • 3. 23/03/64 3 • การเรียนรู้ (Learning) • หมายถึง การเปลีHยนแปลงของพฤติกรรม ทีH เกิดขึUนค่อนข้างถาวร ซึHงเป็นผลมาจากการ ฝึกหัด หรือการได้รับประสบการณ์ • ความสําคัญของการศึกษาพัฒนาการ 1. ทําให้เกิดความเข้าใจเกีHยวกับตนเองและผู้อืHน 2. ช่วยให้เกิดการยอมรับความเป็นปัจเจกบุคคลของแต่ละคน 3. สําหรับผู้ให้การพยาบาลจะช่วยให้สามารถประเมินและคัดกรอง การเจริญเติบโต และพัฒนาการทีNปกติ และผิดปกติของผู้รับบริการได้ •วิธีการศึกษาพัฒนาการ • วิธีการศึกษาพัฒนาการของมนุษย์มีหลายวิธี ซึNงอาจพิจารณาเลือกใช้ตาม ความเหมาะสม ดังนีa • 1. วิธีการศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross Sectional Method) เป็นการศึกษาช่วงใดช่วงหนึNงของ มนุษย์ในระยะสัaนจากกลุ่มตัวอย่างหลาย ๆ กลุ่ม เพืNอศึกษาความแตกต่าง ระหว่างกลุ่มคนต่าง ๆ กัน • ข้อดีของการศึกษาแบบภาคตัดขวาง • คือ รวดเร็วและประหยัด กลุ่มตัวอย่างไม่เสีNยงต่อการสูญหายระหว่างทา การศึกษา ข้อจากัด คือ ไม่สามารถยืนยันได้ว่าบุคคลทีNศึกษาในกลุ่มต่าง ๆ นีaมีความแตกต่างกันเพราะสาเหตุอืNน ๆ หรือไม 2. วิธีการศึกษาแบบระยะยาว (Longitudinal Method) เป็นการศึกษากลุ่มตัวอย่างเดียวต่อเนืNอง ยาวนาน เพืNอศึกษาการเปลีNยนแปลงของกลุ่มตัวอย่าง ตลอดช่วงเวลาทีNเปลีNยนแปลงไป ข้อดีของการศึกษาแบบระยะยาว คือ สามารถบอกความเปลีNยนแปลงทีNเกิดขึaนในกลุ่ม ตัวอย่างทีNทําการศึกษาได้แน่นอน ข้อจํากัด คือ สิaนเปลืองค่าใช้จ่าย เสียเวลาในมากในการดาเนินการ และเสีNยงต่อการสูญหายของกลุ่มตัวอย่าง • เทคนิคต่าง ๆ ในการศึกษาพัฒนาการของมนุษย์ มีดังนีU 1. การสังเกต (Observation) เป็นวิธีทีNช่วยให้ได้ข้อมูลใกล้เคียงความ เป็นจริง ซึNงต้องกาหนดวัตถุประสงค์สิNงทีNต้องการจะสังเกตช่วงเวลาและ เหตุการณ์ หลังจากนัaนสรุปผลและบันทึกไว้เป็นหลักฐาน 2. การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นวิธีทีNสะดวกรวดเร็ว แต่ อาจได้ข้อมูลคลาดเคลืNอนได้เนืNองจากผู้ตอบจาข้อมูลไม่ได้ทัaงหมด 3. การสัมภาษณ์ (Interview) เป็นการพูดคุยซักถามจากบุคคลโดยตรง ซึNงจะทาให้ได้ข้อมูลทีNมีความเทีNยงตรงกว่าการใช้แบบสอบถาม 4. การศึกษาอัตตะชีวประวัติ (Autobiography) เป็นข้อมูลทีNได้จาก การบันทึกประจาวันเกีNยวกับตนเอง และผู้เกีNยวข้อง หรือการเขียนประวัติตนเอง 5. การทดลอง (Experimental techniques) วิธีการ ทดลองต้องมีการกําหนดสถานการณ์ขึaนมากระทําต่อกลุ่มทดลอง แล้วดูการเปลีNยนแปลงทีNเกิดขึaนโดยเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม 6. การศึกษารายกรณี (Case study) เป็นวิธีการหาข้อมูลต่างๆ เกีNยวกับบุคคล เพืNอให้ทราบแบบแผนพัฒนาการของบุคคล องค์ประกอบทีNมีอิทธิพลต่อพัฒนาการตลอดจนปัญหาพัฒนาการทีN เกิดขึaน 7. การทดสอบมาตรฐาน (Standardized testing) เป็น การใช้แบบทดสอบในการเก็บข้อมูลรายบุคคลหรือรายกลุ่ม เช่น แบบทดสอบเชาว์ปัญญา แบบวัดความสามารถของบุคคล แบบทดสอบบุคลิกภาพ เป็นต้น
  • 4. 23/03/64 4 องค์ประกอบทีHมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ พันธุกรรมและสิHงแวดล้อมต่างมีบทบาทร่วมกันในการพัฒนา ลักษณะและพฤติกรรมมนุษย์ • 1. พันธุกรรม • หมายถึง ลักษณะต่าง ๆ ของบรรพบุรุษซึNงถ่ายทอดสู่ ลูกหลานด้วยวิธีการสืบพันธุ์ลักษณะต่าง ๆ ทีNถ่ายทอดมา นัaนมีทัaงลักษณะทางร่างกาย สติปัญญา ลักษณะ บุคลิกภาพ และลักษณะแฝงต่าง ๆ โดยถ่ายทอดทางยีนส์ ซึNงอยู่บนโครโมโซม 2. สิHงแวดล้อม หมายถึง สิNงต่าง ๆ ทีNอยู่รอบตัวบุคคล ทัaงภายในและ ภายนอกร่างกาย ทัaงทีNเป็นรูปธรรมและนามธรรม สิNงแวดล้อม มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของบุคคล ตัaงแต่ เริNมปฏิสนธิในครรภ์จนถึงขณะคลอดและหลังคลอด • เมืHอกล่าวถึงพัฒนาการของมนุษย์ • หมายถึง การเปลีNยนแปลงทุก ๆ ด้านพร้อมกันซึNง เป็นการเปลีNยนแปลงทัaงทางด้านร่างกาย สติปัญญา สังคม และอารมณ์ และการเปลีNยนแปลงนีaจะเป็นทัaง ในด้านปริมาณและคุณภาพในเวลาเดียวกัน พัฒนาการของเด็กแม้จะมีหลายสิNงหลายอย่างทีN เหมือนกันแต่โดยแท้ จริงแล้ว เด็กจะมีพัฒนาการ เฉพาะตัว • ทัaงนีaเนืNองมาจากแต่ละคนจะมียีน(Genes) เป็นตัวกําหนดลักษณะ อีก ทัaงสิNงแวดล้อมซึNงมีลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคลทีNเติบโตขึaนมาจึงทาให้ คนเราแตกต่างกัน โดยหลักการทัNวไป • พัฒนาการของมนุษย์เป็นผลสืบเนืNองมาจากวุฒิภาวะ (Maturity) และการเรียนรู้ (Learning) เป็นสําคัญ ทัaงนีaเพราะในช่วงระยะแรกๆ ของชีวิตส่วนใหญ่พัฒนาการจะเป็นผลมาจากวุฒิภาวะ ซึNงเป็นการ เปลีNยนแปลงอันเนืNองมาจากการเจริญงอกงามโดยเฉพาะทางด้านร่างกาย แต่เมืNอเด็กเริNมเติบโตขึaนพัฒนาการส่วนใหญ่จะมาจากการเรียนรู้ในส่วนทีN เกีNยวกับสิNงแวดล้อมในชีวิต ดังนัaนจะเห็นว่า พัฒนาการซึNงเป็นเรืNองของการ เรียนรู้นัaน จะส่งผลให้คนเรามีพฤติกรรมทีNแตกต่างกันและพัฒนาการของ แต่ละบุคคลทีNแตกต่างกันนัaน ก็เนืNองมาจากแต่ละบุคลมีอัตราการเจริญ งอกงามทีNแตกต่างกัน • ในการศึกษาเกีNยวกับพัฒนาการในส่วนทีNเกีNยวกับการเรียนการ สอนนัaนสิHงสําคัญทีHครูจะต้องคํานึงคือความพร้อม (Readiness) อันเป็นช่วงพัฒนาการของเด็ก ซึHงจะมี จุดสูงสุด (Optimal Point) ทีHเด็กจะเรียนรู้ได้ดี ละบัง เกิดผลดี ซึHงจุดทีHเราเรียกว่า “ความพร้อม” นีaถ้าเด็กยังไปไม่ถึง จุดนีaหรือผ่านพ้นจุดนีaไปแล้ว เด็กจะเรียนไม่ได้ผลดีเท่าทีNควรกระนัaน ก็ตามความคิดเห็นเกีNยวกับพัฒนาการนีaนักจิตวิทยาก็ยังมีความ คิดเห็นแตกต่างกันออกไป อีกพวกหนึNงเห็นว่าเป็นเรืNองประสบการณ์ ทีNครูสามารถช่วยจัดให้ได้ ดังเช่น • Arnold Gesell เห็นว่า ความพร้อมเป็นเรืNองของธรรมชาติทีNจะต้อง ค่อยเป็นค่อยไป ถ้าเด็กยังไม่พร้อมเราควรให้เด็กรอให้พร้อม จึงให้เด็กเรียน • Jerome Bruner เห็นว่า ความพร้อมเป็นเรืNองทีNสอนกันได้ ไม่จาเป็น ต้องให้เด็กรอ เด็กสามารถเรียนได้ก่อนกําหนด ถ้าเรารู้จักวิธีการจัด ประสบการณ์ทีNเหมาะสมเพืNอสอนให้เด็กพร้อม • Jean Piaget ให้ข้อคิดว่า ครูควรจะสอนเพืNอเร่งเด็กหรือไม่ โดยเสนอขัaน พัฒนาการทางสติปัญญาของมนุษย์ให้เป็นข้อพิจารณา • Erik Erikson ได้เสนอทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพ เพืNอให้ครูเห็นว่า ในแต่ละช่วงวัยนัaนเด็กมีความพร้อมทีNจะพัฒนาในเรืNองใด และเราควรจะจัด การศึกษาอย่างไรให้สอดคล้องกับพัฒนาการในแต่ละช่วง
  • 5. 23/03/64 5 ระยะพัฒนาการ พัฒนาการของมนุษย์แบ่งตามช่วงอายุได้ เป็น 8 ระยะ ดังนีa(สุชา จันทน์เอม, 2536, น. 2-3) 1. ระยะก่อนเกิด (Prenatal stage) คือตัUงแต่เริHมปฏิสนธิจนถึงระยะคลอด 2. วัยทารก เริHมตัUงแต่เกิดจนถึงอายุ 2 ปี 3. วัยเด็ก เริHมตัUงแต่อายุ 2 – 12 ปี 4. วัยย่างเข้าสู่วัยรุ่น ปกติหญิงเฉลีHยมีอายุ 12 ปี ชายเฉลีHยมีอายุ 14 ปี 5. วัยรุ่น ตัUงแต่อายุ 14 – 21 ปี 6. วัยผู้ใหญ่ ตัUงแต่อายุ 21 – 40 ปี 7. วัยกลางคน ตัUงแต่อายุ 40 – 60 ปี 8. วัยสูงอายุ ตัUงแต่อายุ 60 ปีขึUนไป การแบ่งวัยระยะพัฒนาการ แบ่งตามอํายุได้ 8 ช่วงดังนีU 1. ระยะก่อนคลอด = เริHมปฏิสนธิจนถึงคลอด 2. ระยะหลังคลอด 2.1 แรกเกิด , ทารก = คลอดถึง 2 ขวบ 2.2 เด็กตอนต้น = 2 - 6 ขวบ 2.3 เด็กตอนกลาง = ช (7-12) , ญ (6-10) 2.4 ย่างสู่วัยรุ่น = ช(13-15), ญ(12-13) 2.5 วัยรุ่น = ตอนต้น(14-17), ตอนปลาย(17-20) 2.6 วัยผู้ใหญ่ตอนต้น = 18 – 40 ปี 2.7 วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง = 40 – 60 ปี 2.8 วัยชรา = มากกว่า 60 ปี • พัฒนาการทางบุคลิกภาพ 8 ขัUนตอนของอิริกสัน • อิริกสัน (Erikson) เห็นว่า พัฒนาการทางบุคลิกภาพเกิดขึUนทุกช่วง ชีวิต ดังนัUนทุกช่วงชีวิตจึงมีความสําคัญเช่นกัน มิใช่สาคัญเฉพาะ พฤติกรรมในช่วงแรกของชีวิตทีHอยู่ใน Critical Period • เท่านัaน อิริกสัน (Erikson) ได้เน้นว่าพฤติกรรมในอดีตของบุคคล จะมีผลสะท้อนถึงพฤติกรรมในอนาคตด้วย พัฒนาการของคนเราจะ ดาเนินไปเป็นขัaนตอน ขัaนพัฒนาการแต่ละขัaนจะมีการสืบเนืNองติดต่อกัน หลายเวลา โดยมีพัฒนาการทางร่างกายเป็นตัวนาไปสู่พัฒนาการขัaน ต่อไป สิNงทีNมีอิทธิพลต่อพัฒนาการ ได้แก่ แรงขับภายใน ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการของ อิริคสัน มี 8 ขัaน ดังนีa 1. ระยะทารก 0 – 2 ขวบ = ขัaนไว้วางใจและไม่ไว้วางใจผู้อืNน 2. วัยเริHมต้น 2 – 3 ขวบ = ขัaนมีอิสระกับความละอาย ความสงสัย เป็นตัวของตัวเองหรือเรียก ขัaนพลังจิต 3. ระยะก่อนไปโรงเรียน 3 – 6 ปี = ขัaนมีความคิดริเริNมกับ ความรู้สึกผิด, ขัaนมีความมุ่งประสงค์ (วัยเด็กซุกซน) 4. ระยะเข้าโรงเรียน 6 – 12 ปี = ขัaนเอาการเอางาน ขัaน สมรรถภาพ กับความมีปมด้อย 5. ระยะวัยรุ่น 12 – 20 ปี = ขัaนเข้าใจอัตลักษณ์ของ ตนเอง และ ไม่เข้าใจตนเอง 6. ระยะต้นของวัยผู้ใหญ่ 20–40 ปี =ขัaนใกล้ชิดสนิท สนมกับความรู้สึกเปล่าเปลีNยว ขัaนความรัก 7. ระยะผู้ใหญ่ 40 – 60 ปี = การอนุเคราะห์เกืaอกูลกับ การพะว้าพะวงตัวเอง ขัaนเอาใจใส่ 8. ระยะสูงอายุ 60 ปีขึUนไป = มีความมัNนคงทางจิตใจกับ ความสิaนหวัง, ขัaนบูรณาการ, วัยชรา ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud, การพัฒนาการทาง เพศ (Stage of Psychosexual Development) 5 ขัUน ดังนีU 1. ขัUนปาก (Oral Stage) เริNมตัaงแต่แรกเกิด ถึง 1 ขวบ ในวัยนีa Erogenous Zone จะอยู่บริเวณปาก การได้รับ การกระตุ้นหรือเร้าทีNปากจะทําให้เด็กเกิดความพึงพอใจ ทําให้เด็กตอบสนอง ความพึงพอใจของตนเองโดยการดูด โดยเฉพาะอย่างยิNง การดูดนมแม่จึงเป็น ความสุขและความพึงพอใจของเขาในขัaนนีa ถ้าพ่อแม่หรือผู้ใกล้ชิดให้การอบรม เลีaยงดูอย่างเหมาะสม มีการดูแลเอาใจใส่ให้ความรักความอบอุ่นอย่างเต็มทีNจะ ทําให้เด็ก เกิดความไว้วางใจและความรู้สึกทีNดีเกีNยวกับตนเองและ สภาพแวดล้อม
  • 6. 23/03/64 6 • เนืNองจากเด็กวัยนีaเริNมพัฒนาความรัตัว เอง (Narcissism) แต่ถ้าเด็กไม่ได้รับการตอบสนอง อย่างเหมาะสม เช่น ถูกปล่อยให้ร้องไห้เพราะหิวเป็น เวลานานๆ ไม่ได้รับประทานอาหารตามเวลาและไม่ได้รับ การสัมผัสทีNอบอุ่นหรือการแสดงความรักความอบอุ่นจากพ่อ แม่และผู้ใกล้ชิด จะทําให้เด็กพัฒนาความไม่ ไว้วางใจ (Distrust) มีความรู้สึกไม่ดีเกีNยวกับตนเอง และเกลียดชังสภาพแวดล้อม ทําให้เกิดการยึด ติด (Fixation) ของพัฒนาการในขัaน ปาก พลัง Libido • บางส่วนไม่ได้รับการเร้าอย่างเหมาะสม จะทําให้การยึดติดอยู่บริเวณ ปาก และไม่สามารถเคลืNอนทีNไปยังส่วนอืNนของร่างกายตามความ เหมาะสมของการพัฒนาการในขัaนต่อไปจะก่อให้เกิดความผิดปกติทาง บุคลิกภาพในขัaนปากและเมืNอบุคคลเข้าสู่วัยรุ่นบุคคลก็จะแสดง บุคลิกภาพทีNยึดติดในขัaนปากออกมาในรูปของพฤติกรรมต่างๆ เช่น การติดสุรา ติดบุหรีH ยาเสพติด ชอบขบเคีUยวไม่หยุดปาก ชอบ กินของคบเคีUยวกรอบๆ กินอาหารแปลกๆ เช่นกินกุ้งเต้น หรือ ชอบพูดจาเยาะเย้ยถากถาง ก้าวร้าว บ้าอํานาจ พูดจาใส่ร้าย ป ้ ายสีได้โดยขาดความละอาย และชอบทําตัวให้เป็นจุดเด่นใน สังคมโดยวิธีการใช้ปากหรือเสียงดังๆ เป็นต้น • . ขัUนทวาร (Anal Stage) เด็กจะมีอายุตัUงแต่ 1-3 ขวบ ในวัยนีa Erogenous Zone จะอยู่ทีNบริเวณทวาร โดยทีNเด็กจะมี ความพึงพอใจเมืNอมีสิNงมากระตุ้น หรือเร้าบริเวณทวารในระยะนีaเด็กเริNมเป็นตัว ของตัวเอง เริNมมีความพึงพอใจกับความสามารถในการควบคุมอวัยวะของ ตนเอง โดยเฉพาะอวัยวะขับถ่าย กิจกรรมทีNเด็กมีความสุขจะเกีNยวข้องกับการ กลัaนอุจจาระ (Anal Retention) และการถ่ายอุจจาระ (Anal Expulsion) ความขัดแย้งทีNมักเกิดขึaนในขัaนนีaคือ การฝึกหัดการขับถ่าย (Toilet) Training ดังนัaน ถ้าพ่อแม่เลีUยงดูด้วยความเอาใจใส่ และ ฝึกการขับถ่ายให้เป็นไปอย่างเหมาะสมกับเวลา และสถานทีHโดยไม่ บังคับ หรือเข้มงวดและวางระเบียบมากเกินไป เพราะไม่เช่นนัaน เด็กจะ เกิดความรู้สึกไม่แน่ใจในความมีอิสระ และความสามารถในการบังคับอวัยวะ ของตนเอง ในขณะเดียวกันก็ไม่ได้หมายความว่า พ่อแม่จะปล่อยทุกอย่างให้ เป็นไปตามความพึงพอใจของเด็กโดยไม่สนใจให้การดูแล และฝึกหัดให้เด็ก เรียนรู้การขับถ่ายทีNเหมาะสม • ก็จะทําให้เด็กติดตรึงอยู่กับความต้องการของตนเอง ไม่พัฒนาการ ยอมรับจากผู้อืNน จะเห็นได้ว่าปฏิกิริยา กฎเกณฑ์ และเจตคติของพ่อแม่ ในการฝึกหัดการขับถ่ายของเด็ก จึงมีความสําคัญต่อการพัฒนา บุคลิกภาพทีNเหมาะสม ในขัaนทวารเพราะถ้าสัมพันธภาพระหว่างพ่อแม่ กับเด็กเป็นอย่างดีโดยเฉพาะ เกีNยวข้องกับการฝึกการขับถ่ายของเด็กจึงมี ความสําคัญ ต่อการพัฒนาบุคลิกภาพทีNเหมาะสมในขัaนทวาร เพราะถ้า สัมพันธภาพระหว่างพ่อแม่กับเด็กเป็นอย่างดี โดยเฉพาะเกีNยวข้องกับ การฝึกการขับถ่าย จะทําให้เด็กพัฒนาอารมณ์ทีNมัNนคง เชืNอมัNนใน ความสามารถของตนเอง เป็นคนสงบเสงีNยมอ่อนโยนแต่ถ้าเด็กเกิดการ ติดตรึงในขัaนตอนนีaจะทําให้ไม่สามารถพัฒนาบุคลิกภาพตามความ เหมาะสม เช่น ถ้าเด็กพอใจกับการถ่ายอุจจาระมากเกินไป • เมืNอโตขึaนก็จะเป็นคนสุรุ่นสุร่าย แต่ถ้าเด็กพอใจกับการกลัaนอุจจาระไว้ ไม่ยอมขับถ่าย ก็จะเป็นคนขีaเหนียว ตระหนีN หรือถ้าเด็กรู้สึกโกรธหรือ เกลียด พ่อแม่ทีNเข้มงวดในเรืNองขับถ่ายก็จะทําให้เด็กมีนิสัยดืaอรัaน แต่ ถ้าพ่อแม่ควบคุมเรืNองความสะอาดมากเกินไป ก็จะกลายเป็นเจ้า ระเบียบ จู้จีaจุกจิก หรือถ้าพ่อแม่ทีNเน้นการขับถ่ายตรงเวลา ไม่รู้จัก ยืดหยุ่นก็จะกลายเป็นคนเข้มงวด ไม่ยืดหยุ่น แต่ถ้ายึดติดในขัaนนีa เป็นไปอย่างรุนแรง อาจทําให้เกิดเด็กมีบุคลิกภาพแปรปรวน เช่น ชอบทําร้ายให้ผู้อืNนเจ็บปวด (Sadism) หรือการร่วมเพศด้วยวิธีการ ต่าง ๆ เป็นต้น • 3. ขัUนอวัยวะเพศตอนต้น (Phallic Stage) • เริHมตัUงแต่ 3 – 5 ขวบ ในขัaนนีa Erogenous Zone จะอยู่ทีN อวัยวะเพศ โดยทีNเด็กเกิดความรู้สึกพึงพอใจกับการจับต้องอวัยวะเพศ เพราะมีความพึงพอใจทางเพศอยู่ทีNตนเองในระยะแรก ทําให้เด็กชายรัก ใคร่ และหวงแหนแม่จึงเกิดความรู้สึกอิจฉา และเป็นปรปักษ์กับพ่อใน ขณะทีHเด็กหญิงจะรักใคร่และหวง แหนพ่อ จึงรู้สึกอิจฉาและเป็น ศัตรูกับแม่ ทีHเรียกปรากฏการณ์นีUว่า เป็นปมออดิปุส (Oedipus Complex) ในเด็กชาย และปมอีเลคต้า (Electra Complex) ในเด็กหญิง •
  • 7. 23/03/64 7 • 4. ขัUนแฝง (Latency Stage) • เริHมตัUงแต่ อายุ 6 – 11 ปี ในขัaนนีa Erogenous Zone จะไม่ปรากฏอยู่ส่วนใดส่วนหนึNงของร่างกายโดยเฉพาะ เสมือนขัaนแฝงของพลัง Libido เป็นระยะพักในเรืNองเพศ และจินตนาการทางเพศ เด็กจะเริNมมีชีวิตสังคมภายนอกบ้าน มากขึaนทีNจะเรียนรู้และปรับตัวให้เข้า กับเพืHอนๆ ใน โรงเรียนโดยเฉพาะอย่างยิNงในวัยดังกล่าว เด็กหากเด็กมี พัฒนาการในวัยต้นๆ อย่างเหมาะสมในขัaนนีaเด็กจะมี ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับเพืNอนกลุ่ม เดียวกัน • 5. ขัUนอวัยวะเพศตอนปลาย (Genital Stage) • เริHมจาก 12 ขวบเป็นต้นไป ในระยะนีaเด็กจะเข้าสู่วัยรุ่น ไปจนถึงวัย ผู้ใหญ่และวัยชรา โดยมี Erogenous Zone จะมาอยู่ทีNอวัยวะเพศ (Genital Area) เมืNอเด็กย่างเข้าสู่วัยรุ่นจะมีการเปลีNยนแปลงทาง ร่างกายทัaงหญิงและชาย ต่างๆ กัน และมีพัฒนาการทางร่างกายตนมี ความสามารถในการสืบพันธุ์ นอกจากนีaยังมีการเปลีNยนแปลงทางอารมณ์ มี ความต้องการตามสัญชาตญาณทางเพศอย่างรุนแรง ต้องการเป็นตัวของ ตัวเอง ต้องการเป็นอิสระในขณะเดียวกับก็ต้องการได้รับความอบอุ่น และ การดูแลเอาใจใส่ทางจิตใจจากพ่อแม่ เมืNอบุคคลมีวุฒิภาวะทางเพศอย่าง สมบูรณ์แล้ว จะเกิดความพึงพอใจทางด้านเพศ มีการแสวงความสุขทางเพศ ระหว่างชายหญิง บุคคลทีNมีการพัฒนาการทางบุคลิกภาพอย่างปกติ ไม่มี การติดตรึง ก็จะสามารถมีชีวิตทางสังคมทีNถูกต้องเหมาะสมคือมีครอบครัว และสามารถแสดงบทบาททางเพศ และบทบาทของพ่อแม่ได้อย่างเหมาะสม 1. Psychology มีรากศัพท์มาจากภาษาใด ก. ภาษากรีก (Psyche + Logos) ข. ภาษาสเปน (Psycho + Logy) ค. ภาษารัสเซีย (Psyche + Logos) ง. ภาษาบาลี (Psycho + Logy) 2. ในปัจจุบันความหมายของ จิตวิทยา หมายถึงข้อใด ก. การศึกษาทีNเกีNยวกับเรืNองวิญญาณ ข. วิชาทีNศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ และสัตว์ด้วย กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ค. การศึกษาทีNเกีNยวความคิดของคนยุคโบราณ ง. วิชาทีNศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ต่างดาว 25. จิตวิทยา คามความหมายใหม่ เป็นศาสตร์ทีHว่า ด้วยเรืHองใด ก. พฤติกรรม ข. วิญญาณ ค. การเรียนรู้ ง. ถูกทุกข้อ 21. องค์ประกอบของพัฒนาการทีHว่า “ความ เจริญเติบโตทัUงทางด้านร่างกายและจิตใจ พร้อม ทีHจะทํางานตามหน้าทีH” หมายถึงข้อใด ก. ความเข้าใจ ข. การเรียนรู้ ค. วุฒิภาวะ ง. อารมณ์
  • 8. 23/03/64 8 22. ความแตกต่างของบุคคลเกิดจาก 2 สิHง คือ ก. การเรียนรู้, วุฒิภาวะ ข. พันธุกรรม, สิNงแวดล้อม ค. อารมณ์, สติปัญญา ง. หัวใจ, สมอง 58. วุฒิภาวะ หมายถึงอะไร ก. กระบวนการเปลีNยนแปลงพฤติกรรมทีNเกิดขึaนตาม ธรรมชาติ ข. กระบวนการเปลีNยนแปลงพฤติกรรมทีNเกิดขึaนจากการ เรียนรู้ ค. กระบวนการเปลีNยนแปลงพฤติกรรมความเคร่งครัด ระหว่างบุคคลจากสิNงแวดล้อม ง. กระบวนการเปลีNยนแปลงพฤติกรรมความเคร่งครัด ระหว่างบุคคลจากพฤติกรรม 35. ขัUนการพัฒนาบุคลิกภาพของคนมีความสุข อยู่ทีHทวารหนักคือข้อใด ก. Oral staqe ข. Anal staqe ค. Plalic staqe ง. Lantency staqe 60. ขัUนการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กหญิงหวงพ่อ หรือเด็กชายหวงแม่ อยู่ทีHข้อใด ก. Oral staqe ข. Anal staqe ค. Plalic staqe ง. Lantency staqe 66. ความรู้สึกพึงพอใจของวัยรุ่น จัดอยู่ในขัUนใด ของขัUนพัฒนาบุคลิกภาพของฟรอยด์ ก. ขัaนทวาร ข. ขัaนอวัยวะเพศตอนต้น ค. ขัaนแฝง ง. ขัaนอวัยวะเพศตอนปลาย 71. ขัUนแฝง ของขัUนพัฒนาบุคลิกภาพของ ฟรอยด์จัดอยู่ในช่วงวัยใดต่อไปนีU ก. แรกเกิด ข. อนุบาล ค. ประถมศึกษา ง. มัธยมตอนต้น
  • 9. 23/03/64 9 •พัฒนาการของผู้เรียนวัยต่างๆ • การจัดการเรียนการสอนทีNเอืaอให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพนัaน ผู้สอนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ เกีNยวกับพัฒนาการของผู้เรียนวัยต่างๆ ดังนีa • 1. วัยเด็กตอนต้น หรือวัยเด็กเล็ก หรือเด็กอนุบาล (ช่วง อายุ 3 - 5 ปี) เป็นวัยทีNมีความก้าวหน้าทางพัฒนาการในทุก ด้าน อยากเป็นอิสระ เริNมพึNงตนเองจึงอยากเป็นตัวของตัวเองชอบ ปฏิเสธ ดืaอ ความคิดสร้างสรรค์เจริญสูงสุด • 1) พัฒนาการทางร่างกาย เป็นวัยทีNเด็กสามารถควบคุม ร่างกายและอวัยวะต่างๆได้ตามความต้องการของตนจึง สามารถทากิจกรรมหลายๆ อย่างได้ด้วยตนเองจึงชอบทีNจะ กระโดดโลดเต้นปีนป่าย เพืNอฝึกการควบคุมร่างกายให้เกิดความ ชํานาญมากขึaน ซึNงผู้ใหญ่เรียกวัยนีaว่าเป็น วัยซน เด็กชายโตกว่า เด็กหญิง • 2) พัฒนาการทางอารมณ์ เด็กในวัยนีaจะเริNมเรียนรู้การแสดง พฤติกรรมตอบสนองอารมณ์จากคนใกล้ชิดรอบข้างมักจะมี ธรรมชาติของอารมณ์เหมือนวัยเด็กตอนต้นคือแสดงออกอย่าง เปิดเผย ไม่ซับซ้อน แปรปรวนได้ง่าย • 3) พัฒนาการทางสังคม เป็นวัยทีNต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้ วิธีการสร้างความสัมพันธ์กับเพืNอนใหม่และบุคคลแวดล้อมใน สถานศึกษา เด็กจะเรียนรู้ในการแสดงพฤติกรรมทีNทาให้คนอืNน ยอมรับและปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคมใหม่แต่ อย่างไรเด็กวัยนีaยังยึดตนเป็นศูนย์กลางอยู่เช่น อยากคุยในสิNงทีNตน ต้องการ โดยไม่คํานึงว่าคนอืNนๆจะพูดเรืNองใดอยู่ • 4) พัฒนาการทางสติปัญญา เด็กวัยนีaจะมีพัฒนาการทาง ภาษาอย่างต่อเนืNอง คือ สามารถใช้ภาษาในรูปแบบของประโยค ได้ จะชอบเลียนแบบภาษาพูดและลักษณะท่าทางจากผู้ใหญ่ ลักษณะเด่นของเด็กวัยนีaคืออยากรู้อยากเห็นช่างสงสัย ชอบ จินตนาการ จึงมักแสดงออกด้วยการซักถาม เช่น ทาไม อะไร อย่างไร เป็นต้น สาหรับด้านความจา เด็กยังมีอยู่ในวงจากัด เช่น จาเลขได้แค่ 1-2 หลัก จาสีได้เพียงแม่สี เป็นต้น • 2. วัยเด็กตอนกลาง หรือเด็กระดับประถมศึกษา ตอนต้น (ช่วงอายุ 6 – 9 ปี) 10 • พัฒนาการของเด็กในวัยนีaเปลีNยนแปลงไปจากเดิมไม่มากนัก มีพัฒนาการ อย่างช้าๆ ได้แก่ • 1) พัฒนาการทางร่างกาย เด็กจะมีความคล่องแคล่วว่องไวในการ เคลืNอนไหวมากขึaนกว่าเดิม สามารถบังคับกล้ามเนืaอทัaงใหญ่และย่อยได้ดีขึaน และประสานงานกันได้ดี เด็กชอบเล่น ไม่ค่อยจะอยู่นิNง ร่างกายโตช้ากว่าวัย อนุบาล เด็กชายและเด็กหญิงจะมีขนาดส่วนสูงและน้าหนักใกล้เคียงกัน • 2) พัฒนาการทางอารมณ์ เด็กจะเริNมมีการควบคุมทางอารมณ์ได้บ้าง แล้ว ลักษณะอารมณ์ของเด็กวัยนีaจะเต็มไปด้วยความสนุกสนาน มี ความสุขกับการได้ทํากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับเพืNอน จนบางครัaงขาดความ รับผิดชอบทีNได้รับมอบหมาย ผู้ใหญ่จึงมักเรียกเด็กในวัยนีaว่า วัยสนุกสนาน • 3) พัฒนาการทางสังคม เด็กจะยังไม่มีการแบ่งกลุ่มทางเพศในการทา กิจกรรมอย่างชัดเจน แต่จะเริNมลดการยึดตัวเองเป็นศูนย์กลางแห่ง ความคิดและการกระทาลง และเริNมให้ความสําคัญกับกลุ่มเพืNอน รักพวก พ้อง แต่ทัaงนีaเพืNอนในวัยเดียวจะเริNมมีบทบาทต่อทัศนคติและความคิดของ เด็กมากขึaนมากเดิม
  • 10. 23/03/64 10 • 4) พัฒนาการทางสติปัญญา เด็กจะเริNมเรียนรู้ และมีประสบการณ์เพิNมขึaน รู้จักใช้เหตุผลในการตัดสินใจ เลือกทาในสิNงทีNตนสนใจ มีความรับผิดชอบมากขึaน สามารถจดจาสิNงทีNเรียนรู้ไปแล้วได้อย่างแม่นยา สามารถ เรียงลาดับตัวเลขไม่มากนักได้ รู้จักแยกแยะสีได้มากกว่า วัยเด็กตอนต้น • 3. วัยเด็กตอนปลาย หรือเด็กระดับประถมศึกษา ตอนปลาย (ช่วงอายุ 10 –12 ปี) • ถือว่าเป็นช่วงเวลาทีHสําคัญของวัยเด็ก เนืHองจากว่าเป็นวัยทีHมีการ เปลีHยนแปลงทีHชัดเจนในทุกด้านหลายประการ ดังนีa • 1) พัฒนาการทางร่างกาย ร่างกายของเด็กวัยนีaจะมีการเปลีNยนแปลง อย่างรวดเร็วอีกครัaงหนึNง โดยเฉพาะผู้หญิงจะมีการเปลีNยนแปลงทีNรวดเร็ว กว่าผู้ชายเมืNออายุประมาณ 10 ปีครึNง ในขณะทีNเด็กชายจะเริNมการ เปลีNยนแปลงเมืNออายุ 12 ปีครึNง บางครัaงเรียกวัยนีaอีกอย่างว่า วัยเตรียมเข้า สู่วัยรุ่น • 2) พัฒนาการทางอารมณ์ เด็กวัยนีaจะสามารถควบคุม และเรียนรู้การแสดงออกทางอารมณ์ทีNสังคมยอมรับ เริNม มีความวิลกกังวลและความเครียดเนืNองจากปัญญาใน กลุ่มเพืNอนและการได้รับการยอมรับในกลุ่ม หรือ แม้กระทัNงการแข่งขันในด้านการเรียนกับเพืNอนร่วมชัaน จน ดูเหมือนกับว่าเด็กในวัยนีaหงุดหงิดได้ง่าย • 3) พัฒนาการทางสังคม เด็กจะเริNมมีการแบ่งกลุ่ม ระหว่างเพศหญิงและเพศชายอย่างเด่นชัด และจะเลือก ทากิจกรรมทีNเหมาะสมของเพศของตน เพืNอนวัยเดียวกัน จะมีอิทธิพลต่อความคิดและการกระทามากขึaน ผู้ใกล้ชิด จึงควรให้คาแนะนาเกีNยวกับการคบหาเพืNอนของเด็ก • 4) พัฒนาการทางสติปัญญา เด็กในวัยนีaมีระดับ ทางสติปัญญาทีNเพิNมขึaนในอีกระดับหนึNง โดยเริNมมี จินตนาการกว้างไกลขึaน สามารถเปรียบเทียบได้ เข้าใจความสัมพันธ์และความแตกต่างของสิNงรอบตัว เข้าใจในความสัมพันธ์ของตัวเลขมากขึaน และมี ความจาทีNแม่นยาขึaนกว่าเดิมมาก • 4. วัยรุ่นตอนต้น หรือระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น (ช่วงอายุ 13-15 ปี) • เป็นวัยซึNงอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นลักษณะโดยทัNวๆ ไป เด็กผู้หญิงจะเข้าสู่วัยรุ่นก่อนเด็กผู้ชายคือ จะย่างเข้าสู่วัยรุ่นเมืNอ อายุประมาณ 12-13 ปี ส่วนเด็กผู้ชายเตรียมเข้าสู่วัยรุ่นเมืNออายุ ประมาณ 13-15 ปี วัยนีaบางทีเรียกว่า “วัยก่อนวัยรุ่น”(puberty) คือ ระยะก่อนวัยหนุ่มสาว ลักษณะทางเพศจะปรากฏขึaนให้เห็นเด็ก วัยนีaจะดูเก้งก้างทาอะไรขัดเขินไม่เรียบร้อยร่างกายต้องการอาหาร ทีNมีประโยชน์เพืNอช่วยในการเจริญเติบโต
  • 11. 23/03/64 11 1) พัฒนาการทางกาย • ร่างกายของเด็กวัยนีaจะสูงขึaน และมีน้าหนักเพิNมขึaน แขนยาว มือใหญ่ขึaน เด็กผู้หญิง จะมีตะโพกผาย หน้าอกขยายใหญ่ขึaน มีขนขึaนทีNอวัยวะเพศ มีประจา เดือน ส่วนเด็กผู้ชายมีกล้ามเนืaอใหญ่กว้างและ แข็งแรงขึaน มีขนตามแขน หน้าแข้ง เสียงจะห้าวแตก จะมีน้าอสุจิ และจะมีการสําเร็จความใคร่ด้วยตนเอง ทัaงเด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงมีภาวะพร้อมทีNจะเป็นพ่อ คนและแม่คนได้ 2) พัฒนาการทางอารมณ์ • เด็กวัยนีUมักจะเป็นคนเจ้าอารมณ์ อารมณ์ไม่คงทีH ปัHนป่วน เปลีHยนแปลงง่าย หงุดหงิดง่าย เครียดง่าย โกรธง่าย อาจเกิด อารมณ์ซึมเศร้าโดยไม่มีสาเหตุได้ง่ายอารมณ์ทีNไม่ดีเหล่านีaอาจทา ให้เกิดพฤติกรรมเกเรก้าวร้าว มีผลต่อการเรียนและการดาเนิน ชีวิต ในวัยรุ่นตอนต้นการควบคุมอารมณ์ยังไม่ค่อยดีนักบางครัaง ยังทาอะไรตามอารมณ์ตัวเองอยู่บ้าง แต่จะค่อยๆดีขึaนเมืNออายุมาก ขึaน อารมณ์เพศวัยนีaจะมีมากทาให้มีความสนใจเรืNองทางเพศ หรือ มีพฤติกรรมทางเพศเช่น การสําเร็จความใคร่ด้วยตนเองซึNงถือว่า เป็นเรืNองปกติในวัยนีa 3) พัฒนาการทางสังคม • เด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงมักจะแยกกันเล่น แต่ก็เริNมสนใจซึNงกัน และกันโดยไม่กล้าเปิดเผยสนใจการเล่นรวมเป็นกลุ่ม จะปฏิบัติ ตามกฎของกลุ่ม และจะเลียนแบบสมาชิกในกลุ่มไม่ว่าจะเป็นด้าน การ แต่งกาย การพูดจา หรือกิริยาท่าทาง เนืNองจากเด็กวัยนีaมักจะ ขาดความมัNนใจและต้องการให้เป็นทีNยอมรับของกลุ่ม การกระทา และความต้องการจึงมักจะขัดแย้งกับความต้องการให้เป็นทีN ยอมรับของกลุ่ม การกระทาและความต้องการจึงมักจะขัดแย้งกับ ความต้องการของพ่อแม่และผู้ใหญ่เสมอ 4) พัฒนาการทางสติปัญญา • เด็กวัยนีaมีเหตุผลและควบคุมตนเองได้ดีขึaน รู้จักอดทนใน การคบเพืNอน ช่วงความสนใจนานขึaน สามารถปรับตัวให้ เข้ากับสถานการณ์ใหม่ๆได้กว้างขวางขึaน เพราะเด็กเข้าใจ สิNงทีNเป็นนามธรรมมากขึaน โดยเฉพาะคาพูด เข้าใจและ รู้จักพูดถ้อยคาทีNลึกซึaง ถ้อยคาเปรียบเทียบต่างๆดีขึaน เฉลียวฉลาดมากขึaนกว่าเดิม แต่บางครัaงก็นัNงฝันกลางวัน เพืNอเป็นการชดเชยสิNงทีNขาด 5. วัยรุ่นตอนกลาง หรือระดับมัธยมศึกษาปลาย (ช่วงอายุ 15-18 ปี) • เด็กจะเข้าสู่วัยรุ่นเมืNออายุ 15 -18 ปี เป็นระยะทีNเด็กกาลังเรียนในชัaนมัธยมศึกษา ตอนปลาย • เป็นระยะทีNเด็กวัยรุ่นค้นหาลักษณะประจําตนและบทบาททีNแท้จริงของตนทัaงทาง บ้านและทางโรงเรียนเช่นเดียวกับวัย 12-15 ปี เหตุนีaวัยรุ่นจึงเปลีNยนแบบแผน พฤติกรรมของตนสู่วัยผู้ใหญ่ แต่ถ้าวัยนีaหาลักษณะประจําตนไม่ได้ และไม่ทราบ ว่าบทบาททีNแท้จริงของตนคืออย่างไร จะเกิดความสับสนในบทบาทและจะ ปรับตัวไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิNงเกีNยวกับเพศ และอาชีพ ในบางกรณีทีNเด็ก ปรับตัวไม่ได้ สับสนในบทบาทเพศและอาชีพ เด็กจะรับเอาบทบาททีNไม่พึง ประสงค์ และเป็นอันตรายจากสังคมมาเป็นของตน เช่น ติดยาเสพติด ซึNงเด็กรู้สึก ว่าเป็นหนทางทีNจะแสวงหาความหมายให้กับชีวิตได้ 1) พัฒนาการทางกาย • ร่างกายของเด็กวัยนีaจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่เต็มทีN มีนํaาหนัก และส่วนสูงมากทีNสุด กระดูกแข็งแรง ผิวพรรณผ่องใส ต่อม ต่างๆ ทําหน้าทีNมากขึaนวัยนีaเริNมพิถีพิถันในเรืNองความงาม เด็กจะสนใจรูปร่างหน้าตาและการแต่งกายมาก
  • 12. 23/03/64 12 2) พัฒนาการทางอารมณ์ • วัยนีaต้องการอิสรภาพมากขึaน มักจะแสดงอาการ แข็งกร้าว เมืNอถูกจํากัดเสรีภาพ มักมีอารมณ์เพ้อฝัน เกีNยวกับอนาคต เช่น อาชีพ การแต่งงาน เด็กวัยนีa ปรับตัวได้ดีขึaน อารมณ์สุขุมเยือกเย็น กล้าเผชิญ ความจริงมากขึaน 3) พัฒนาการทางสังคม • เด็กวัยนีaพอใจทีNจะอยู่ในกลุ่มเพศเดียวกันและมักจะ ทําตามกลุ่ม นิยมและคลัNงไคล้อะไรทีNเหมือนๆกัน มักจะนิยมของแปลกๆและวิตถาร ไม่ค่อยสนิทสนม คลุกคลีกับพ่อแม่พีNน้องเหมือนเดิม แต่จะสนใจ เพืNอนมากกว่า จะใช้เวลากับเพืNอนนานๆมีกิจกรรม นอกบ้านมาก 4) พัฒนาการทางสติปัญญา • พัฒนาการทางสมองเกือบเท่าผู้ใหญ่เป็นวัยทีNเริNมมี แนวทางชีวิตสาหรับตัวเอง มักจะสนใจเกีNยวกับศีลธรรม จรรยาและด้านการเมือง แต่ก็ยังไม่สามารถตัดสินอะไรได้ เนืNองจากขาดประสบการณ์เป็นวัยทีNแสวงหาลักษณะประ จาตนเพืNอเลือกและเตรียมตัวสาหรับอาชีพ 1. ทฤษฎีงานพัฒนาการของ Havighurst (Devolopment Talks) ซึHงฮาวิกเฮิร์ส ได้แบ่งพัฒนาการของมนุษย์ไว้เป็น 6 ช่วงอายุ คือ 1) วัยเด็กเล็ก-วัยเด็กตอนต้น 2) วัยเด็กตอนกลาง 3) วัยรุ่น 4) วัยผู้ใหญ่ตอนต้น 5) วัยกลางคน 6) วัยชรา 1) วัยเด็กเล็ก – วัยเด็กตอนต้น (แรกเกิด – อายุ 6 ปี) -เรียนรู้ทีNจะเดิน -เรียนรู้ทีNจะรับประทานอาหาร -เรียนรู้ทีNจะพูด -เรียนรู้ทีNจะควบคุมการขับถ่าย -เรียนรู้ทีNจะมองเห็นความแตกต่างระหว่างเพศ -รู้จักการทรงตัว เคลืNอนไหวได้สะดวก -เริNมมีความคิดรวบยอดง่ายๆ เกีNยวกับความจริงทางสังคม และทางกายภาพ -เรียนรู้ทีNจะสร้างความผูกพันตนเองกับพ่อแม่พีNน้องตลอดจน คนอืNนๆ -เรียนรู้ทีNจะมองเห็นความแตกต่างระหว่างสิNงทีNผิด -ถูกและ เริNมพัฒนาการทางจริยธรรม
  • 13. 23/03/64 13 2) วัยเด็กตอนกลาง (6 – 12 ปี) - เรียนรู้ทีNจะใช้ทักษะด้านร่างกายในการเล่นเกมต่างๆ - สร้างเจตคติต่อตนเองในฐานะทีNเป็นสิNงทีNมีชีวิต - เรียนรู้ทีNจะปรับตนเองให้เข้ากันได้กับเพืNอนรุ่นเดียวกัน - เรียนรู้บทบาททางสังคมทีNเหมาะสมของเพศหญิงและเพศชาย - พัฒนาความคิดรวบยอดทีNจาเป็นสําหรับชีวิตประจาวัน - พัฒนาเกีNยวกับเรืNองศีลธรรมจรรยาและค่านิยม - สามารถช่วยเหลือตนเองได้ - พัฒนาเจตคติต่อกลุ่มสังคมและต่อสถาบันต่างๆ - พัฒนาทักษะพืaนฐานในการ อ่าน เขียน และคํานวณ 3) วัยรุ่นตอนต้นและตอนปลาย (12 – 18 ปี) -สามารถสร้างความสัมพันธ์อันดีและเหมาะสมกับเพืNอนรุ่นราว คราวเดียวกันได้ ทัaงทีNเป็นเพืNอนเพศเดียวกันหรือต่างๆเพศ -สามารถแสดงบทบาททางสังคมได้เหมาะสมกับเพศตนเอง -ยอมรับสภาพร่างกายของตนเองสามารถปรับตัวให้เข้ากับความ เปลีNยนแปลงทัaงหลายได้เป็นอย่างดี -รู้จักควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ -มีความมัNนใจเกีNยวกับเรืNองการใช้จ่าย รู้จักการรับผิดชอบต่อการเงิน การใช้จ่าย ของตนเองได้เป็นอย่างดี -มีการคบเพืNอนต่างเพศ -มีการเลือกและเตรียมตัวเพืNออาชีพ -มีการเตรียมตัวเพืNอการแต่งงานและการมีครอบครัว -เริNมเตรียมตัวทีNจะเป็นพลเมืองดี หาทักษะในการใช้ภาษา การสืNอความหมาย การหาความรู้ ความเข้าใจเกีNยวกับเรืNองต่างๆ เช่น กฎหมาย รัฐบาล เศรษฐกิจ สังคม -มีความต้องการและรู้จักพัฒนาตนเองให้มีความรับผิดชอบทัaงต่อตนเองและผู้อืNน -มีความรู้สึกและความเข้าใจในเรืNองค่านิยม ตลอดจนรู้จักตัดสินเลือกเอาค่านิยม และ มาตรฐานทีNตน ควรยึดถือเป็นหลักเป็นแนวทางชีวิต 4) วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18 – 35 ปี) -มีการเลือกคู่ครอง -เรียนรู้ทีNจะมีชีวิตคู่ร่วมกับคู่แต่งงาน -เริNมต้นสร้างครอบครัว -รู้จักการอบรมเลีaยงลูก -รู้จัดการจัดการภารกิจในครอบครัว -เริNมต้นประกอบอาชีพ -รู้จักหน้าทีNของพลเมืองดี -สามารถหากลุ่มสังคมทีNเป็นพวกเดียวกันได 5) วัยกลางคน (35 – 60 ปี) -บรรลุวัยผู้ใหญ่ การเป็นพลเมืองดี ตลอดจนการมีความรับผิดชอบ ต่อสังคม -สร้างหลักฐาน ฐานะเศรษฐกิจเพืNอความเป็นปึกแผ่นของครอบครัว -การช่วยเหลือวัยรุ่นให้มีความรับผิดชอบ เพืNอจะได้เป็นผู้ใหญ่ทีNมีความสุข -รู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ -สามารถทีNจะปรับตัวและทาความเข้าใจคู้ชีวิตของตนเองได้ -เรียนรู้ทีNจะยอมรับและปรับตัวให้เข้ากับสภาพการเปลีNยนแปลงของร่างกาย -รู้จักปรับตัวให้เข้ากันได้กับพ่อแม่ทีNสูงอายุ 6) วัยชรา (60 ปีขึUนไป ) -สามารถปรับตัวได้กับสภาพทีNเสืNอมถอยลง -ปรับตัวได้กับการทีNจะต้องเกษียณอายุ ตลอดจน เงินเดือนทีNลดลง -ปรับตัวได้กับการตายของคู่ครอง -สามารถสร้างสัมพันธภาพกับคนในวัยเดียวกันได้
  • 14. 23/03/64 14 จิตวิทยาการศึกษา • จิตวิทยาการศึกษามีบทบาทสําคัญในการจัดการศึกษา ครูจึงจําเป็นต้องมีความรู้พืaนฐานทางจิตวิทยาการศึกษา •จิตวิทยาการศึกษา • คือ การศึกษาพฤติกรรมต่างๆมนุษย์ที6เกี6ยวข้อง กับสถานการณ์การเรียนการสอน โดยเน้นทํา ความเข้าใจพฤติกรรมการเรียนรู้และการพัฒนา ความสามารถของผู้เรียนแต่ละคนแต่ละช่วงวัย ที6แตกต่างกัน วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 80 Q1.ข้อใดกล่าวถูกต้องทีHสุดเกีHยวกับหลักจิตวิทยา การศึกษา ก.เป็นการศึกษาเกีHยวกับการเรียนรู้และพัฒนาการของ ผู้เรียนในสภาพการเรียนการสอนในชัUนเรียน ข. เป็นการศึกษาเกีHยวกับการเปลีHยนแปลงพฤติกรรมอัน เนืHองมาจากประสบการณ์และการฝึกหัด ค. ศึกษาเกีHยวกับพฤติกรรมหรือกิริยาอาการของมนุษย์ และสัตว์โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ง. ความรู้สึกของบุคคลทีHมีต่อสิHงใดๆซึHงแสดงออกมา วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 81 • ความสําคัญของจิตวิทยาการศึกษาต่ออาชีพครู การเป็นครูทีNดีนัaนจะต้องเป็นด้วยจิตวิญาณมีความเข้าใจหลักการ สอนกระบวนการสอนตามหลักวิชาการแล้วยังไม่พอ ครูจะต้องรู้ เกีNยวกับจิตวิทยาเพราะครูทุกคนมีวิถีชีวิตอยู่กับคนแทบจะ ตลอดเวลาจึงจําเป็นจะต้องรู้ชีวิตจิตใจของมนุษย์ว่าเขาเหล่านัaนมี ความต้องการอะไรดังมีกล่าวว่าคนเป็นครูจะต้องรู้จิตวิทยาเพราะว่า จิตวิทยาช่วยครูได้ดังทีN สุรางค์ โค้วตระกูล (2553 : 4 - 5) กล่าวไว้ดังต่อไปน 1. ช่วยครูให้รู้จักลักษณะนิสัย (Characteristics) ของนักเรียนทีNครูต้องสอนโดยทราบหลักพัฒนาการทัaงทาง ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และบุคลิกภาพเป็น ส่วนรวม 2. ช่วยให้ครูมีความเข้าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบาง ประการของนักเรียน เช่น อัตมโนทัศน์ (Self concept) ว่าเกิดขึaนได้อย่างไร และเรียนรู้ถึงบทบาทของครูในการทีNจะ ช่วยนักเรียนให้มีอัตมโนทัศน์ทีNดีและถูกต้องได้อย่างไร 3. ช่วยครูให้มีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล เพืNอจะได้ ช่วยนักเรียนเป็นรายบุคคลให้พัฒนาตามศักยภาพของแต่ละบุคคล 4. ช่วยให้ครูรู้วิธีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก่วัย และขัaนพัฒนาการของนักเรียนเพืNอจูงใจให้นักเรียนมีความสนใจและ อยากจะเรียนรู้ 5. ช่วยให้ครูทราบถึงตัวแปรต่างๆทีNมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของ นักเรียน เช่น แรงจูงใจ อัตมโนทัศน์ และการตัaงความคาดหวังของครูทีN มีต่อนักเรียน 6. ช่วยครูในการเตรียมการสอนวางแผนการเรียนเพืNอทาให้การสอนมี ประสิทธิภาพสามารถช่วยให้นักเรียนทุกคนเรียนรู้ตามศักยภาพของ แต่ละบุคคล โดยคํานึงหัวข้อต่อไปนีa
  • 15. 23/03/64 15 7. ช่วยครูให้ทราบหลักการและทฤษฎีของการเรียนรู้ทีNนักจิตวิทยา ได้พิสูจน์ แล้วว่าได้ผลดี เช่น การเรียนรู้จากการสังเกตหรือการเลียนแบบ (Observational learning หรือ Modeling) 8. ช่วยครูให้ทราบถึงหลักการสอนและวิธีสอนทีNมีประสิทธิภาพ รวมทัaง พฤติกรรมของครูทีNมีการสอนอย่างมีประสิทธิภาพว่ามีอะไรบ้าง เช่น การใช้ คําถาม การให้แรงเสริม และการทําตนเป็นต้นแบบ 9. ช่วยครูให้ทราบว่านักเรียนทีNมีผลการเรียนดีไม่ได้เป็นเพราะ ระดับเชาวน์ ปัญญาเพียงอย่างเดียว แต่มีองค์ประกอบอืNนๆ เช่น แรงจูงใจ (Motivation) ทัศนคติหรือ อัตมโนทัศน์ของนักเรียนและความ คาดหวังของครูทีNมีต่อตัวนักเรียน 10. ช่วยครูในการปกครองชัaนและการสร้างบรรยากาศของ ห้องเรียน ให้เอืaอต่อการเรียนรู้และเสริมสร้างบุคลิกภาพของ นักเรียน ครูและนักเรียนมีความรัก และไว้วางใจซึNงกันและ กัน นักเรียน ต่างก็ช่วยเหลือซึNงกันและกัน ทาให้ห้องเรียน เป็นสถานทีNทีNทุกคนมีความสุขและนักเรียนรักโรงเรียน อยากมาโรงเรียน Q3. ครูทีHมีความรู้ทางจิตวิทยา ควรมี คุณสมบัติตามข้อใด ก. รู้นิสัยของนักเรียน ข. รู้วิธีก่อนสอน ค. เข้าใจผู้เรียน ง. สอนสนุก 87 วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 เพียเจต์ (Piaget) พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาทัNงสิNน 4 ลําดับขัNน ระยะทีP 1ขัNนของการใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเนืNอ (Sensory – Motor Operation or Reflexive)อยู่ในช่วงอายุแรกเกิดถึง 2 ปี เด็กจะพัฒนาการแก้ปัญหาโดยไม่ต้องใช้ภาษาเป็นสื6อเป็นช่วง เริ6มต้นที6จะเรียนรู้ในการปรับตัวเข้ากับสิ6งแวดล้อมถ้ามีการใช้ ประสาทสัมผัสมากเท่าไรก็จะช่วยพัฒนาเชาวน์ปัญญาได้มาก ขึNนด้วย โดยทัPวไปเด็กจะรับรู้สิPงทีPเป็นรูปธรรมได้เท่านัNน วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 88 • ระยะทีP 2 ขัNนเตรียมความคิดทีPมีเหตุผล หรือการคิด ก่อนปฏิบัติการ (Preoperation or Preconceptural Stage or Concret Thinking Operations) อยู่ในช่วง อายุ 2-7 ปี พัฒนาการเชาว์ปัญญาของเด็กวัยนีNเน้นไป ที6การเรียนรู้ และเริ6มมีพัฒนาการทางภาษาดีขึNนด้วย โดยสามารถพูดได้เป็นประโยค มีการสร้างคําได้มาก ขึNน แต่เด็กยังไม่สามารถใช้สติปัญญาคิดได้อย่าง เต็มที6 วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 89 • ระยะทีP 3 ขัNนคิดอย่างมีเหตุผลและเป็นรูปธรรม (Concrete Operation Stage or Period of Concrete Operation) หรือขัNนปฏิบัติการด้วยรูปธรรม อยู่ในช่วงอายุ 7-11 ปี เด็กในวัยนีNจะสามารถใช้เหตุผล ในการตัดสินใจปัญหา ต่าง ๆ ได้ดีขึNน โดยลักษณะเด่น ของเด็กวัยนีNคือ • >>สามารถคิดย้อนกลับไปมาได้ (Reversibility) วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 90
  • 16. 23/03/64 16 ระยะทีH 4 ขัUนของการคิดอย่างมีเหตุผลและอย่าง เป็นนามธรรม (Formal Operation Stage or Period of Formal Operation) หรือขัaน การปฏิบัติการด้วยนามธรรม อยู่ในช่วงอายุตัUงแต่ 12 ปีขึUนไป เด็กจะเริNมคิดแบบผู้ใหญ่ได้ เข้าใจในสิNงทีNเป็น นามธรรม เป็นตัวของตัวเอง ต้องการอิสระ ไม่ยึดตน เป็นศูนย์กลาง รู้จักการใช้เหตุผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ “ เพียเจท์เชื,อว่าพัฒนาการของเชาวน์ปัญญามนุษย์จะดาเนินไปเป็นลําดับขัEน เปลี,ยนแปลงหรือข้ามขัEนไม่ได้ ” วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 91 1. พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญา ของเพียเจต์ (Piaget) ช่วง วัยใดที9คิดอย่างมีเหตุผลและเป็นรูปธรรม ก.ช่วงอายุแรกเกิดถึง 2 ปี ข. ช่วงอายุ 2-7 ปี ค. ช่วงอายุ 7-11 ปี ง. ตัNงแต่ 12 ปีขึNนไป 14. พัฒนาการเชาวน์ปัญญาของเพียเจต์ ขัUนคิดอย่างมี เหตุผล สามารถคิดย้อนกลับได้ อยู่ในช่วงอายุ เท่าใด ก. 0-2 ปี ข. 2 - 7 ปี ค. 7 - 11 ปี ง. 12 ปีขึaนไป วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 92 Q. พัฒนาการทางเชาว์ปัญญาขัUนสูงสุดของเพียต์ เจท์ คือ ก. Sensorimotor ข. Preoperational ค. Concrete ง. Formal วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 93 แนวคิด ทฤษฎี ทางการศึกษา จอนห์น ดิวอีN(John Dewey) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ตัดสินใจ ด้วยตนเอง ผู้สอน มีหน้าที6ช่วยเหลือให้คําปรึกษา “การเรียนรู้เกิดจากการกระทํา(Learning by doing)” สกินเนอร์ (B.F. Skinner) การเรียนรู้แบบการกระทํา และ การเสริมแรง ทัNงบวก ลบ และลงโทษ บวก ลบ 94 วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 ธอร์นไดค์ (Edward L. Thorndike ) ทฤษฎีสัมพันธ์ เชืPอมโยง (Connectionism Theory)เน้นสิPงเร้า (Stimulus)กับการตอบสนอง(Response) กฎแห่งการเรียนรู้ 3 กฎ 1. กฎแห่งการฝึกหัดหรือการกระทําซํNา (The Law of Exerciseor Repetition) 2. กฎแห่งผล(The Law of Effect) 3. กฎแห่งความพร้อม(The Law of Readiness) 95 วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 1."เน้นยํUา ทําซํUา ทบทวน" น่าจะเกีHยวข้องกับ ทฤษฎีและแนวคิดของใคร ก. สกินเนอร์ ข. ดิวอีa ค. ฟาฟลอฟ ง. ธอร์นไดค์ 2. ข้อใดไม่ใช่ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดร์ ก. กฎแห่งการฝึกหัด ข. กฎแห่งผล ค. กฎแห่งความพร้อม ง. กฎแห่งการกระทํา 96 วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547
  • 17. 23/03/64 17 68. การนําหนังสือเเละเเบบทดสอบกลับมาทําอีกครัUง ตรงกับทฤษฎีใดของธอร์นไดร์ ก. เเบบเข้าใจ ข. เเบบฝึกหัด ค. นําไปใช้ ง. แบบสนใจ 69. การอ่านหนังสือและทบทวนบทเรียนของนักเรียน อยู่ในกฎข้อใดของธอร์นไดร์ ก. กฎการใช้ ข. กฎแห่งการฝึกหัด ค. กฎแห่งความพอใจ ง. กฎแห่งผล วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 97 87. น้องตุ๊กได้คะแนนวิชาภาษาไทยสูงเพราะน้องตุ๊ กชอบคุณครูวิชาภาษาไทย น้องตุ๊กจัดอยู่ในกฎข้อใด ของธอร์นไดค์ ก. กฎการฝึกหัด ข. กฎความพอใจ ค. กฎความพร้อม ง. กฎการได้ใช้ 8 . เบนจามิน เอส บลูม Benjamin S.Bloom ได้จําแนกพฤติกรรมการเรียนรู้ออกเป็น หมวดหมู่ตามความ ยากง่าย เรียกว่า Taxonomy of Edutional objectivers พุทธพิสัย (Cognitive Domain) จิตพิสัย (Affective Domain) ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) 99 วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 Bloom ได้แบ่งการเรียนรู้เป็น 6 ระดับ พุทธพิสัย (Cognitive Domain) 1. ความจํา (knowledge) >> สามารถจําความรู้ต่างๆทีNได้เรียนมา 2.ความเข้าใจ (Comprehend) >> สามารถแปลความขยายความในสิNงทีNได้เรียนรู้ 3.การประยุกต์ใช้ (Application) >> สามารถนําสิNงทีNได้เรียนรู้มาใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 100 4.การวิเคราะห์ ( Analysis) >> สามารถแยกความรู้ออกเป็นส่วนทําความเข้าใจในแต่ ละส่วนว่าสัมพันธ์ หรือแตกต่างกันอย่างไร 5.การสังเคราะห์ ( Synthesis) >> สามารถในการรวมความรู้หรือประสบการณ์ต่างๆให้ เกิดเป็นสิNงใหม่ 6.การประเมินค่า ( Evaluation) >> สามารถตัดสินคุณค่าอย่างมีเหตุผล วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 101 จิตพิสัย (Affective Domain)(พฤติกรรมด้านจิตใจ) ค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึ้ง ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจและ คุณธรรม พฤติกรรมด้านนี้อาจไม่เกิดขึ้นทันที ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนโดยจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม และสอดแทรกสิ่งที่ดีงามอยู่ตลอดเวลา จะ ทําให้พฤติกรรมของผู้เรียนเปลี่ยนไปในแนวทางที่พึงประสงค์ได้ 1.การรับรู้ ... เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่อปรากฎการณ์ หรือสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่ง 2. การตอบสนอง ...เป็นการกระทําที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอม และพอใจต่อสิ่งเร้านั้น 3. การเกิดค่านิยม ... การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม การยอมรับ นับถือในคุณค่านั้น ๆ 4. การจัดระบบ ... การสร้างแนวคิด จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัย ความสัมพันธ์ 5. บุคลิกภาพ ... การนําค่านิยมที่ยึดถือมาแสดงพฤติกรรมทีHเป็นนิสัยประจําตัว วิทยากรบัวแสงใส #รวมพลฯ085 766 1547 102