SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
1
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๓๔
ฉบับแรกบังคับใช้ 5 กันยายน ๒๕๓๔ **
ฉบับที่ 8 บังคับใช้ 8 กันยายน 2553
มาตรา ๓/๑ การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อ
1.ประโยชน์สุขของประชาชน
2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
3.ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ
4.การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
5.การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จาเป็น
6.การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอานาจตัดสินใจ
7.การอานวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน
ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน
การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดารงตาแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้อง
คานึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง
ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good
Government) โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คานึงถึง
1.ความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน
2.การมีส่วนร่วมของประชาชน
3.การเปิดเผยข้อมูล
4.การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน
ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ
เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกา
กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการ
ปฏิบัติก็ได้ (ส่งผลให้เกิด พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546)
ข้อสอบ..!!
2
มาตรา ๔ ให้จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ดังนี้ ( กลาง ภาค ถิ่น )
(๑) ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
(๒) ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
(๓) ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
มาตรา ๖ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
แผนภาพสรุปการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินแบ่งได้ 3 ส่วน
ข้อสอบ..!!
1.ส่วนกลาง
สานัก
นายกรัฐมนตรี
กระทรวง
ทบวง
กรม
ส่วนกลางใช้หลักการ
รวมอานาจ
2.ส่วนภูมิภาค
จังหวัด
อาเภอ
ส่วนภูมิภาคใช้หลักการ
แบ่งอานาจ
3.ส่วนท้องถิ่น
รูปแบบพิเศษ
1.กรุงเทพมหานคร
2.เมืองพัทยา
รูปแบบทั่วไป
1. อบต.
2. อบจ.
3. เทศบาล
ส่วนท้องถิ่นใช้หลักการ
กระจายอานาจ
3
มาตรา ๗ ให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง (รวมอานาจ) ดังนี้
(๑) สานักนายกรัฐมนตรี (มีฐานะเป็นกระทรวง)
(๒) กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง
(๓) ทบวง ซึ่งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
(๔) กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ซึ่งสังกัดหรือไม่
สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง
สานักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็นกระทรวง
ส่วนราชการตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔) มีฐานะเป็นนิติบุคคล
มาตรา ๘ การจัดตั้ง การรวม หรือการโอนส่วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ
*** กรมมี 2 แบบ ดังนี้
1.กรมที่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง เช่น กรมที่ดิน สังกัดกระทรวงมหาดไทย
2.กรมที่ไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง แต่อยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี เช่น
1.สานักงานตารวจแห่งชาติ
2.สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
3.สานักงานราชบัณฑิตยสภา
4.สานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
5.สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
มาตรา ๘ ทวิ การรวมหรือการโอนส่วนราชการตามมาตรา ๗ ไม่ว่าจะมีผลเป็นการจัดตั้งส่วนราชการขึ้น
ใหม่หรือไม่ ถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรืออัตราของข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มขึ้นให้ตราเป็นพระ
ราชกฤษฎีกา
ให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสานักงบประมาณมีหน้าที่ตรวจสอบดูแลมิ
ให้มีการกาหนดตาแหน่งหรืออัตราของข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหม่ หรือที่ถูก
รวมหรือโอนไปตามวรรคหนึ่ง เพิ่มขึ้นจนกว่าจะครบกาหนดสามปีนับแต่วันที่พระราชกฤษฎีกาตามวรรค
หนึ่งมีผลใช้บังคับ
มาตรา ๘ ตรี การเปลี่ยนชื่อส่วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
มาตรา ๘ จัตวา การยุบส่วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
ข้อสอบ..!!
ข้อสอบ..!!
ข้อสอบ..!!
4
เมื่อมีพระราชกฤษฎีกายุบส่วนราชการตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้งบประมาณรายจ่ายที่
เหลืออยู่ของส่วนราชการนั้นเป็นอันระงับไป สาหรับทรัพย์สินอื่นของส่วนราชการนั้นให้โอนให้แก่ส่วน
ราชการอื่นหรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ตามที่รัฐมนตรีซึ่งเป็นผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกาตามวรรค
หนึ่งกาหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี สาหรับวิธีการจัดการกิจการสิทธิและหนี้สินของส่วน
ราชการนั้นให้เป็นไปตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
ข้าราชการหรือลูกจ้างซึ่งต้องพ้นจากราชการเพราะเหตุยุบตาแหน่ง อันเนื่องมาแต่การยุบ
ส่วนราชการตามวรรคหนึ่ง นอกเหนือจากสิทธิประโยชน์ที่พึงได้รับตามกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับอื่น
แล้ว ให้ข้าราชการหรือลูกจ้างได้รับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
ตามวรรคหนึ่งด้วย
ในกรณีที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่นของรัฐประสงค์จะรับโอนข้าราชการหรือ
ลูกจ้างตามวรรคสามก็ให้กระทาได้โดยมิให้ถือว่าข้าราชการหรือลูกจ้างผู้นั้นได้พ้นจากราชการตามวรรค
สาม แต่ทั้งนี้ต้องกระทาภายในสามสิบวันนับแต่พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งมีผลใช้บังคับ
การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานรัฐมนตรี กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและ
มีฐานะเป็นกรม ให้ออกเป็นกฎกระทรวงและให้ระบุอานาจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการไว้ใน
กฎกระทรวงด้วย
ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดของส่วนราชการเป็นผู้ออกกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการดังกล่าว
กฎกระทรวงนั้นเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
หมวด ๑
การจัดระเบียบราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
สานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็นกระทรวง อยู่ภายในการบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี
ส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็นกรม มีดังนี้
1.ส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
2.ส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
ข้อสอบ..!!
ข้อสอบ..!!
5
การบังคับบัญชาและการบริหารราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
มาตรา 11 นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) กากับโดยทั่วไปซึ่งการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อการนี้จะสั่งให้ราชการส่วนกลาง
ราชการส่วนภูมิภาค และส่วนราชการซึ่งมีหน้าที่ควบคุมราชการส่วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงความคิดเห็น
ทารายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการ ในกรณีจาเป็นจะยับยั้งการปฏิบัติราชการใด ๆ ที่ขัดต่อนโยบาย
หรือ มติของคณะรัฐมนตรีก็ได้ และมีอานาจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของ
ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิ่น
สานักนายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี
รองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี
ส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
-สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
-สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
-กรมประชาสัมพันธ์
ส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
-สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
-สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
-สานักงบประมาณ
-สานักข่าวกรองแห่งชาติ
-สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
-สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
-สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
ฯลฯ (มาตรา 15)
6
(2) มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีกากับการบริหารราชการของกระทรวง หรือทบวงหนึ่ง
หรือหลายกระทรวงหรือทบวง
(3) บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารทุกตาแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่วน
ราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็นกรม
(4) สั่งให้ข้าราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบัติราชการสานัก
นายกรัฐมนตรี โดยจะให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรือไม่ก็ได้ ในกรณีที่ให้ขาดจากอัตรา
เงินเดือนทางสังกัดเดิม ให้ได้รับเงินเดือนในสานักนายกรัฐมนตรีในระดับ และขั้นที่ไม่สูงกว่าเดิม
(5) แต่งตั้งข้าราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดารงตาแหน่งของอีกกระทรวง
ทบวง กรมหนึ่ง โดยให้ได้รับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณีเช่นว่านี้ให้ข้าราชการซึ่ง
ได้รับแต่งตั้งมีฐานะเสมือนเป็นข้าราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมาดารงตาแหน่งนั้นทุก
ประการ แต่ถ้าเป็นการแต่งตั้งข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งอธิบดีหรือเทียบเท่าขึ้นไป ต้องได้รับอนุมัติ
จากคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษาหรือคณะที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรี
หรือเป็นคณะกรรมการเพื่อปฏิบัติราชการใด ๆ และกาหนดอัตราเบี้ยประชุมหรือค่าตอบแทนให้แก่ผู้ซึ่ง
ได้รับแต่งตั้ง
(7) แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบัติราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
(8) วางระเบียบปฏิบัติราชการ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปโดยรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายอื่น
(9) ดาเนินการอื่น ๆ ในการปฏิบัติตามนโยบาย
ระเบียบตาม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ใช้บังคับได้
รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ช่วยสั่งการและ
ปฏิบัติราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
การปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี
เมื่อนายกรัฐมนตรีต้องพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ เพราะว่านายกรัฐมนตรี
1.ตาย
2.ขาดคุณสมบัติ
3.ต้องคาพิพากษาให้จาคุก
4.สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจ
ข้อสอบ..!!
7
5.ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง
6.วุฒิสภามีมติให้ถอดถอนจากตาแหน่ง
โดยให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน
นายกรัฐมนตรี
ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในสานักนายกรัฐมนตรี กาหนดแนวทางและแผนการ
ปฏิบัติราชการของสานักนายกรัฐมนตรี
(2) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี รองจากนายกรัฐมนตรี
รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี ยกเว้นข้าราชการของส่วนราชการซึ่ง
หัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
(3) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และรับผิดชอบในการ
ปฏิบัติราชการของสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ
มาตรา 17 สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็นกรม มีอานาจหน้าที่
เกี่ยวกับราชการประจาทั่วไปของสานักนายกรัฐมนตรี และราชการที่คณะรัฐมนตรีมิได้กาหนดให้เป็น
หน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีโดยเฉพาะ
สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็นกรม
มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชา
ข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
ให้เลขาธิการนายกรัฐมนตรีและรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง เป็นข้าราชการ
การเมือง
และให้รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร และผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็น
ข้าราชการพลเรือนสามัญ
8
สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี มีฐานะเป็นกรม
มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับ ราชการของคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และราชการในพระองค์
ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
ให้เลขาธิการคณะรัฐมนตรี รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็น
ข้าราชการพลเรือนสามัญ
การจัดระเบียบราชการในกระทรวงหรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง
กระทรวง เป็นราชการส่วนกลาง มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเป็นหัวหน้า
1.สานักงานรัฐมนตรี ซึ่งไม่เป็นกรม มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการการเมือง มี
เลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเป็นข้าราชการการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานรัฐมนตรี
2.สานักงานปลัดกระทรวง มีฐานะเป็นกรมและเป็นนิติบุคคล มีอานาจหน้าที่
เกี่ยวกับราชการประจาทั่วไปของกระทรวง มีปลัดกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชา
3.กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็นกรม มีฐานะเป็น
นิติบุคคล มีอธิบดีหรือตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นมีฐานะเป็นอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชา
กระทรวง
1.สานักงานรัฐมนตรี 2.สานักงานปลัดกระทรวง 3.กรม หรือส่วนราชการที่
เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะ
เป็นกรม
ข้อสอบ..!!
9
กระทรวงใดมีความจาเป็นจะต้องมีส่วนราชการเพื่อทาหน้าที่จัดทานโยบายและแผน กากับ
เร่งรัด และติดตามนโยบายและแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง จะจัดระเบียบบริหารราชการโดย
อนุมัติคณะรัฐมนตรี เพื่อให้มีสานักนโยบายและแผนเป็นส่วนราชการภายใน ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงก็ได้
การบริหารราชการในกระทรวง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และกาหนดนโยบายของกระทรวง
ให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภา หรือคณะรัฐมนตรีกาหนดหรืออนุมัติ โดยจะ
ให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการก็ได้
มีปลัดกระทรวง รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในกระทรวง
มีรองปลัดกระทรวง 1 คน เป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการตามที่ปลัดกระทรวงมอบหมายก็ได้
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจะร่วมกันอนุมัติให้
กระทรวงนั้นมีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นกรณีพิเศษ โดยจะกาหนดเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาไว้ด้วย
หรือไม่ก็ได้
การจัดระเบียบราชการในกรม
กรม มีฐานะเป็นนิติบุคคล มี 2 ประเภท ดังนี้
1.กรม ซึ่งอยู่ในสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง
เช่น กรมป่าไม้ สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2.กรม ซึ่งไม่ได้อยู่ในสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง
เช่น สานักงานตารวจแห่งชาติ ราชบัณฑิตยสถาน สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นต้น
การแบ่งส่วนราชการในสานักงานรัฐมนตรี กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะ
เป็นกรม ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดออกเป็นกฎกระทรวง และให้สานักงาน ก.พ. จัดอัตรากาลัง และให้
สานักงบประมาณจัดสรรเงินงบประมาณ
ข้อสอบ..!!
10
กรมมีอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของกรมให้
เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง
มีรองอธิบดี เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการรองจากอธิบดีและช่วยอธิบดีปฏิบัติราชการ
ผู้ตรวจราชการ กระทรวง ทบวง หรือกรมใด โดยสภาพและปริมาณของงานสมควรมีผู้ตรวจ
ราชการของกระทรวง ทบวง หรือกรมนั้น ก็ให้กระทาได้
การบริหารราชการในต่างประเทศ
การบริหารราชการในต่างประเทศ ถือว่าเป็นการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
เพราะจะมีสานักงานหรือผู้แทนของกระทรวงต่าง ๆไปปฏิบัติงานในต่างประเทศ
“คณะผู้แทน” หมายความว่า บรรดาข้าราชการฝ่ายพลเรือน หรือข้าราชการฝ่ายทหาร
ประจาการในต่างประเทศซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลใหญ่
สถานกงสุล สถานรองกงสุล ส่วนราชการของกระทรวงการต่างประเทศซึ่งเรียกชื่อเป็นอย่างอื่นและ
ปฏิบัติหน้าที่เช่นเดียวกับสถานเอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุลใหญ่ และคณะผู้แทนถาวรไทยประจา
องค์การระหว่างประเทศ
“หัวหน้าคณะผู้แทน” หมายความว่า ข้าราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศซึ่งได้รับแต่งตั้ง
ให้ดารงตาแหน่งหัวหน้าคณะผู้แทนตามระเบียบพิธีการทูต หรือระเบียบพิธีการกงสุล ในกรณีของคณะ
ผู้แทนถาวรไทยประจาองค์การระหว่างประเทศ ให้หมายความว่าข้าราชการสังกัดส่วนราชการซึ่งได้รับ
แต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งหัวหน้าคณะผู้แทนถาวรไทยประจาองค์การระหว่างประเทศ
“รองหัวหน้าคณะผู้แทน” หมายความว่า ข้าราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งได้รับ
แต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทนหัวหน้าคณะผู้แทน ในกรณีของคณะผู้แทน
กรม
สานักงานเลขานุการกรม กอง หรือส่วนราชการที่เทียบเท่ากอง
ข้อสอบ..!!
11
ถาวรไทยประจาองค์การระหว่างประเทศ ให้หมายความว่าข้าราชการสังกัดส่วนราชการ ซึ่งได้รับแต่งตั้ง
ให้ดารงตาแหน่งในลักษณะเดียวกัน
ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้รับนโยบายและคาสั่งจากนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มาปฏิบัติการให้เหมาะสมกับการปฏิบัติราชการในต่างประเทศ และ
เป็นหัวหน้าบังคับบัญชาบุคคลในคณะผู้แทนและจะให้มีรองหัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติ
ราชการแทนหัวหน้าคณะผู้แทนก็ได้
การสั่ง และการปฏิบัติราชการของกระทรวง ทบวง กรม ต่อบุคคลในคณะผู้แทนให้เป็นไปตาม
ระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกาหนด
การจัดระเบียบราชการในส่วนภูมิภาค
มาตรา ๕๑ ให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค ดังนี้
(๑) จังหวัด (เป็นนิติบุคคล)
(๒) อาเภอ (ไม่เป็นนิติบุคคล)
มาตรา ๕๒ ให้รวมท้องที่หลาย ๆ อาเภอตั้งขึ้นเป็นจังหวัด มีฐานะเป็นนิติบุคคล
การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด ให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ
ปัจจุบันมี 76 จังหวัด
1.อานาจของจังหวัด
1.นาภารกิจของรัฐและนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์
2.ดูแลให้มีการปฏิบัติและบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยและ
เป็นธรรมในสังคม
3.จัดให้มีการคุ้มครอง ป้องกัน ส่งเสริม และช่วยเหลือประชาชนและชุมชนที่ด้อยโอกาสเพื่อให้
ได้รับความเป็นธรรมทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมในการดารงชีวิตอย่างพอเพียง
4.จัดให้มีการบริหารภาครัฐเพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงได้อย่างเสมอหน้า รวดเร็วและมีคุณภาพ
ข้อสอบ..!!
12
5.จัดให้มีการส่งเสริม อุดหนุน และสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
6.ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรมมอบหมาย
สานักงานจังหวัด มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปและวางแผนพัฒนาจังหวัด มีหัวหน้าสานักงาน
จังหวัดเป็นผู้บังคับบัญชา
ส่วนราชการประจาจังหวัด คือ ส่วนต่าง ๆซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้ตั้งขึ้น มีหัวหน้าส่วน
ราชการประจาจังหวัดนั้นเป็นผู้ปกครอง เช่น
-สานักงานเกษตรจังหวัด
-สานักงานคลังจังหวัด
-สานักงานพาณิชย์จังหวัด
-สานักงานแรงงานจังหวัด
-สานักงานประมงจังหวัด
-สานักงานปศุสัตว์จังหวัด
-สานักงานเรือนจาจังหวัด
ฯลฯ
ในจังหวัดจะมีคณะกรมการจังหวัด และคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด (ก.ธ.จ.)
จังหวัด
สานักงานจังหวัด ส่วนราชการประจาจังหวัด
13
คณะกรมการจังหวัด
ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้นและ
ให้ความเห็นชอบในการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด กับปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือมติ
ของคณะรัฐมนตรีกาหนด
ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน
รองผู้ว่าราชการจังหวัดหนึ่งคนตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย เป็นกรมการจังหวัด
ปลัดจังหวัด เป็นกรมการจังหวัด
อัยการจังหวัดซึ่งเป็นหัวหน้าที่ทาการอัยการจังหวัด เป็นกรมการจังหวัด
ผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัด เป็นกรมการจังหวัด
หัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัดจากกระทรวงต่าง ๆที่ประจาอยู่ในจังหวัด กระทรวงละ 1 คน
ยกเว้นกระทรวงมหาดไทย เป็นกรมการจังหวัด
หัวหน้าสานักงานจังหวัด เป็นกรมการจังหวัดและเลขานุการ
คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด (ก.ธ.จ.)
ในจังหวัด (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) ให้มีคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด (ก.ธ.จ.) ทาหน้าที่
สอดส่องและเสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐในจังหวัดให้ใช้วิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดีและเป็นไปตามหลักการในการบริหารราชการแผ่นดิน ในกรณีที่ ก.ธ.จ. พบว่ามีการ
ละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ หรือมีการทุจริต ให้เป็นหน้าที่ของ ก.ธ.จ. ที่ต้อง
แจ้งผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี
เพื่อดาเนินการตามหน้าที่ต่อไป
ก.ธ.จ. ประกอบด้วย
ผู้ตรวจราชการสานักนายกรัฐมนตรีซึ่งมีเขตอานาจในจังหวัด ประธาน
ผู้แทนภาคประชาสังคม กรรมการ
ผู้แทนสมาชิกสภาท้องถิ่นที่ไม่ได้ดารงตาแหน่งผู้บริหาร กรรมการ
ผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน กรรมการ
ข้อสอบ..!!
14
ให้จังหวัดจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด ให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมใน
ระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด
ผู้ว่าราชการจังหวัด
ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้รับนโยบายและคาสั่งจากนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มาปฏิบัติการให้เหมาะสมกับท้องที่และประชาชน และเป็นหัวหน้า
บังคับบัญชาบรรดาข้าราชการฝ่ายบริหาร ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในราชการส่วนภูมิภาคในเขตจังหวัด และ
รับผิดชอบในราชการจังหวัดและอาเภอ
ผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด และผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด สังกัด
กระทรวงมหาดไทย
อานาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด
(๑) บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ
(๒) บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามที่
นายกรัฐมนตรีสั่งการในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
(๓) บริหารราชการตามคาแนะนาและคาชี้แจงของผู้ตรวจราชการกระทรวง
(๔) กากับดูแลการปฏิบัติราชการอันมิใช่ราชการส่วนภูมิภาคของข้าราชการซึ่งประจาอยู่ใน
จังหวัดนั้น ยกเว้นข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ายตุลาการ ข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนใน
มหาวิทยาลัย ข้าราชการในสานักงานตรวจเงินแผ่นดินและข้าราชการครู ให้ปฏิบัติราชการให้เป็นไปตาม
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับหรือคาสั่งของกระทรวง ทบวง กรม หรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่ง
การของนายกรัฐมนตรี หรือยับยั้งการกระทาใด ๆ ของข้าราชการในจังหวัดที่ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคับ หรือคาสั่งของกระทรวง ทบวง กรม
(5)ประสานงานและร่วมมือกับข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ายตุลาการ ข้าราชการฝ่ายอัยการ
ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ข้าราชการในสานักงานตรวจเงินแผ่นดินและข้าราชการครู ผู้ตรวจ
ราชการและหัวหน้าส่วนราชการในระดับเขตหรือภาค ในการพัฒนาจังหวัดหรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ
ข้อสอบ..!!
15
(๖) เสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้องตามโครงการหรือแผนพัฒนาจังหวัด และรายงาน
ให้กระทรวงมหาดไทยทราบ
(๗) กากับดูแลการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นในจังหวัดตามกฎหมาย
(๘) กากับการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานองค์การของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ในการนี้ให้มี
อานาจทารายงานหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนินงานขององค์การของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ
ต่อรัฐมนตรีเจ้าสังกัดองค์การของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ
(๙) บรรจุ แต่งตั้ง ให้บาเหน็จ และลงโทษข้าราชการส่วนภูมิภาคในจังหวัดตามกฎหมาย และ
ตามที่ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง หรืออธิบดีมอบหมาย
การยกเว้น จากัด หรือตัดทอน อานาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการใน
จังหวัด หรือให้ข้าราชการของส่วนราชการใดมีอานาจหน้าที่ในการบริหารราชการส่วนภูมิภาค
เช่นเดียวกับผู้ว่าราชการจังหวัดจะกระทาได้โดยตราเป็นพระราชบัญญัติ
ปลัดจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัด
ซึ่งกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ส่งมาประจาทาหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือผู้ว่าราชการจังหวัด และมี
อานาจบังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารส่วนภูมิภาคซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมนั้น ในจังหวัดนั้น
อาเภอ
เป็นหน่วยราชการบริหารรองจากจังหวัด ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล ประกอบขึ้นจากท้องที่
หลายๆตาบลรวมกัน
การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขตอาเภอ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
ในอาเภอหนึ่ง มีนายอาเภอคนหนึ่งเป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการในอาเภอ
และรับผิดชอบงานบริหารราชการของอาเภอ นายอาเภอสังกัดกระทรวงมหาดไทย
ข้อสอบ..!!
16
สานักงานอาเภอ มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของอาเภอนั้น ๆ มีนายอาเภอเป็นผู้ปกครองบังคับ
บัญชาข้าราชการและรับผิดชอบ
ส่วนราชการประจาอาเภอ มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรมนั้น ๆ
มีหัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอ นั้น ๆ เป็นผู้ปกครองบังคับบัญชารับผิดชอบ ปัจจุบันมีส่วน
ราชการประจาอาเภอ คือ
- ที่ทาการปกครองอาเภอ สานักงานเกษตรอาเภอ
-สานักงานสาธารณสุขอาเภอ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ
-สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอาเภอ
อานาจหน้าที่ของอาเภอ ให้อาเภอมีหน้าที่ภายในเขตอาเภอ ดังนี้
1.อานาจหน้าที่เหมือนกับอานาจหน้าที่ของจังหวัด แต่มีเฉพาะในพื้นที่เขตอาเภอ และต้อง
ปฏิบัติให้สอดคล้องและเป็นไปตามแผนพัฒนาจังหวัด
2.ส่งเสริม สนับสนุน และจัดให้มีการบริการร่วมกันของหน่วยงานของรัฐในลักษณะศูนย์บริการ
ร่วม
3.ประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อร่วมมือกับชุมชนในการดาเนินการให้มีแผน
ชุมชน เพื่อรองรับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด กระทรวง ทบวง
กรม
อาเภอ
สานักงานอาเภอ ส่วนราชการประจาอาเภอ
17
4.ไกล่เกลี่ยหรือจัดให้มีการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท ในเรื่องพิพาททางแพ่งเกี่ยวกับที่ดิน
มรดก และข้อพิพาททางแพ่งอื่นที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน 2 แสนบาท หรือมากกว่านั้น (อ้างอิง
จากกฎกระทรวงว่าด้วยการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาททางแพ่ง พ.ศ. ๒๕๕๓ ส่วนตรงประโยคที่ว่า
หรือมากกว่านั้น เป็นการเผื่อไว้ในอนาคตที่อาจจะต้องแก้ไขเพิ่มทุนทรัพย์ให้สูงขึ้น รัฐบาลก็ตราเป็นพระ
ราชกฤษฎีกา เพิ่มทุนทรัพย์เป็นสามแสนสี่แสนได้เลย โดยไม่ต้องนาเข้าพิจารณาในสภาฯ)
ให้นายอาเภอ โดยความเห็นชอบของคณะกรมการจังหวัด จัดทาบัญชีรายชื่อบุคคลที่จะทา
หน้าที่เป็นคณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท โดยคัดเลือกจากบุคคลผู้มีความรู้หรือ
มีประสบการณ์เหมาะสมกับการทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
ถ้าคู่พิพาททั้งสองฝ่ายตกลงกันได้ ให้คณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทจัดให้
มีการทาสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างคู่พิพาทและให้ถือเอาข้อตกลงตามสัญญา
ประนีประนอมยอมความมีผลผูกพันคู่พิพาททั้งสองฝ่าย
ให้ข้อตกลงมีผลเช่นเดียวกับคาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการตามกฎหมายว่าด้วยอนุญาโตตุลาการ
อานาจหน้าที่ของ นายอาเภอ
(๑) บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ถ้ากฎหมายใดมิได้
บัญญัติว่าการปฏิบัติตามกฎหมายนั้นเป็นหน้าที่ของผู้ใดโดยเฉพาะ ให้เป็นหน้าที่ของนายอาเภอที่จะต้อง
รักษาการให้เป็นไปตามกฎหมายนั้นด้วย
(๒) บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามที่
นายกรัฐมนตรีสั่งการในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
(๓) บริหารราชการตามคาแนะนาและคาชี้แจงของผู้ว่าราชการจังหวัดและผู้มีหน้าที่ตรวจการ
อื่นซึ่งคณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม และผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย
(๔) ควบคุมดูแลการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นในอาเภอตามกฎหมาย
18
การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
ท้องถิ่นใดที่เห็นสมควรจัดให้ราษฎรมีส่วนในการปกครองท้องถิ่นให้จัดระเบียบการปกครองเป็น
ราชการส่วนท้องถิ่น
- องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) - กรุงเทพมหานคร
- องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) - เมืองพัทยา
- เทศบาล
1.เทศบาลนคร
2.เทศบาลเมือง
3.เทศบาลตาบล
รูปแบบทั่วไป รูปแบบพิเศษ
ราชการส่วนท้องถิ่น
ข้อสอบ..!!
19
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)
ก.พ.ร. มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงานของ
รัฐอย่างอื่น ซึ่งรวมถึงโครงสร้างระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากร มาตรฐานทางคุณธรรม
และจริยธรรม ค่าตอบแทน และวิธีปฏิบัติราชการอื่น
(๒) เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่หน่วยงานอื่นของรัฐที่มิได้อยู่ในกากับของราชการฝ่ายบริหาร
ตามที่หน่วยงานดังกล่าวร้องขอ
(๓) รายงานต่อคณะรัฐมนตรีในกรณีที่มีการดาเนินการขัดหรือไม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่
กาหนดในมาตรา ๓/๑
(๔) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกาหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานในการจัดตั้งการรวม การโอน
การยุบเลิก การกาหนดชื่อ การเปลี่ยนชื่อ การกาหนดอานาจหน้าที่ และการแบ่งส่วนราชการภายในของ
ส่วนราชการที่เป็นกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น
(๕) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกา และกฎที่ออกตาม
พระราชบัญญัตินี้
(๖) ดาเนินการให้มีการชี้แจงทาความเข้าใจแก่ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องและ
ประชาชนทั่วไป
(๗) ติดตาม ประเมินผล และแนะนาเพื่อให้มีการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ และรายงานต่อ
คณะรัฐมนตรีพร้อมทั้งข้อเสนอแนะ
(๘) ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้
(๙) เรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความเห็นประกอบการพิจารณา
(๑๐) จัดทารายงานประจาปีเกี่ยวกับการพัฒนาและจัดระบบราชการและงานของรัฐอย่างอื่น
เสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา
(๑๑) แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทางาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ตามที่
มอบหมาย และจะกาหนดอัตราเบี้ยประชุมหรือค่าตอบแทนอื่นด้วยก็ได้
(๑๒) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
20
ก.พ.ร. ประกอบด้วย
นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ประธาน (นายวิษณุ เครืองาม)
รัฐมนตรีหนึ่งคนที่นายกรัฐมนตรีกาหนด รองประธาน (นายอนุชา นาคาศัย)
ผู้ซึ่งคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอบหมาย กรรมการ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกินสิบ กรรมการ
เลขาธิการ ก.พ.ร. เป็นกรรมการและเลขานุการโดยตาแหน่ง
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสี่ปี ผู้ซึ่งพ้นจากตาแหน่งแล้ว อาจได้รับ
แต่งตั้งอีกได้ แต่ไม่เกินสองวาระติดต่อกัน
การปฏิบัติราชการแทน
คือ การที่ผู้บังคับบัญชามอบอานาจให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติราชการแทน เช่น การสั่งการ
การอนุญาต การอนุมัติ หรือการดาเนินการอื่นที่ผู้มีอานาจพึงปฏิบัติได้ โดยที่การมอบอานาจให้ทาเป็น
หนังสือ
ในการมอบอานาจ ให้ผู้มอบอานาจพิจารณาสิ่งต่อไปนี้
1.การอานวยความสะดวกแก่ประชาชน
2.ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ
3.การกระจายความรับผิดชอบตามสภาพของตาแหน่งของผู้รับมอบอานาจ
มอบ...หนังสือ สะดวก....รวดเร็ว
ผู้รับมอบอานาจต้องปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบอานาจตามวัตถุประสงค์ของการมอบอานาจ
ดังกล่าว
ผู้มอบอานาจมีหน้าที่กากับดูแลและติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอานาจ และ
สามารถแนะนา แก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอานาจได้
ข้อสอบ..!!
ข้อสอบ..!!
21
การมอบอานาจในส่วนกลาง (การปฏิบัติราชการแทน)
ผู้มอบอานาจ ผู้รับมอบอานาจ
นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
ปลัดกระทรวง
อธิบดีหรือตาแหน่งเทียบเท่า
ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
อธิบดีหรือตาแหน่งเทียบเท่า
ปลัดกระทรวง
รองปลัดกระทรวง
ผู้ช่วยปลัดกระทรวง
อธิบดีหรือเทียบเท่า
อธิบดีหรือเทียบเท่า
รองอธิบดี หรือเทียบเท่า
ผู้ช่วยอธิบดี หรือเทียบเท่า
ผู้อานวยการกอง หรือเทียบเท่า
หัวหน้ากอง หรือเทียบเท่า
22
การมอบอานาจในส่วนภูมิภาค (การปฏิบัติราชการแทน)
ผู้มอบอานาจ ผู้รับมอบอานาจ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ปลัดกระทรวง
อธิบดีหรือเทียบเท่า
(ไม่มีนายกรัฐมนตรี)
ผู้ว่าราชการจังหวัด
ผู้ว่าราชการจังหวัด
รองผู้ว่าราชการจังหวัด
ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด
ปลัดจังหวัด
หัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัด
นายอาเภอ
ปลัดอาเภอ
หัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอ
นายอาเภอ
ปลัดอาเภอ
หัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอ
ปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจากิ่งอาเภอ
ปลัดอาเภอประจากิ่งอาเภอ
หัวหน้าส่วนราชการประจากิ่งอาเภอ
การมอบอานาจสิ้นสุดลง จะต้องทาเป็น...หนังสือ
23
การรักษาราชการแทน (ในโรงเรียนใช้ รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา)
ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่ง หรือมี แต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ เนื่องจากผู้มีอานาจไม่สามารถ
ใช้อานาจนั้นได้เพราะไม่อยู่ อาทิเช่น ป่วย หรือไปปฏิบัติราชการต่างจังหวัด ให้ผู้ดารงตาแหน่งรองลงมา
เป็นผู้รักษาราชการแทน โดยการมีคาสั่งแต่งตั้งให้รักษาราชการแทน
ตาแหน่ง ผู้รักษาราชการแทน
นายกรัฐมนตรี
1.รองนายกรัฐมนตรี
ถ้ามีรองนายกรัฐมนตรีหลายคน ให้ ค.ร.ม.
มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็น
ผู้รักษาราชการแทน
2.รัฐมนตรี
กรณีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรี หรือมี
แต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ ค.ร.ม. มอบหมาย
ให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
1.รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
ถ้ามีรัฐมนตรีช่วยหลายคน ให้ ค.ร.ม. มอบหมาย
ให้รัฐมนตรีช่วยคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการ
แทน
2.รัฐมนตรี
กรณีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีช่วย หรือมีแต่ไม่
อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ ค.ร.ม.มอบหมายให้
รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
24
ตาแหน่ง ผู้รักษาราชการแทน
ผู้ว่าราชการจังหวัด
1.รองผู้ว่าราชการจังหวัด
กรณีที่มีรองผู้ว่าราชการจังหวัดหลายคน ให้
ปลัดกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งรองผู้ว่าราชการ
จังหวัดคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
2.ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด
กรณีที่ไม่มีรองผู้ว่าราชการจังหวัด หรือมีแต่ไม่
อาจปฏิบัติราชการได้ และถ้ามีผู้ช่วยผู้ว่าราชการ
จังหวัดหลายคน ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทย
แต่งตั้งผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด
3.ปลัดจังหวัด
กรณีที่ไม่มีรองผู้ว่าราชการจังหวัด และผู้ช่วยผู้ว่า
ราชการจังหวัด หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
ให้ปลัดจังหวัดรักษาราชการแทน
4.หัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัดซึ่งมีอาวุโส
นายอาเภอ
ปลัดอาเภอ หรือหัวหน้าส่วนราชการประจา
อาเภอที่อาวุโส
กรณีที่ไม่มีนายอาเภอ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
แต่งตั้งผู้ดารงตาแหน่งปลัดอาเภอ หรือหัวหน้า
ส่วนราชการประจาอาเภอนั้นซึ่งมีอาวุโส
25
หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการจาเป็นต้องกาหนด
ขอบเขตอานาจหน้าที่ของส่วนราชการต่าง ๆ ให้ชัดเจนเพื่อมิให้มีการปฏิบัติงานซ้าซ้อนกันระหว่าง
ส่วนราชการต่าง ๆ และเพื่อให้การบริหารงานในระดับกระทรวงมีเอกภาพสามารถดาเนินการให้เป็นไป
ตามนโยบายที่รัฐมนตรีกาหนดได้ และสมควรเพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับการมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการ
แทนให้ครบถ้วนชัดเจนเพื่อไม่ให้เป็นอุปสรรคในการปฏิบัติราชการและกาหนดอานาจและหน้าที่ของผู้ว่า
ราชการจังหวัดในการควบคุมดูแลการปฏิบัติราชการของข้าราชการซึ่งปฏิบัติราชการในเขตจังหวัดให้
เหมาะสมขึ้น ประกอบกับประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่ง
เป็นกฎหมายหลักในการบริหารราชกาแผ่นดินได้ประกาศใช้บังคับมาเป็นเวลานานแล้ว สมควรแก้ไข
ปรับปรุงเป็นพระราชบัญญัติเสียในคราวเดียวกัน จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
26
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 2534
และแก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ( ฉบับแรก) มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. 4 กันยายน 2534 ข. 5 สิงหาคม 2534
ค. 5 กันยายน 2534 ง. 4 สิงหาคม 2534
2. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2553 ( ฉบับที่ 8) มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. 8 กรกฎาคม 2553 ข. 7 กันยายน 2553
ค. 8 กันยายน 2553 ง. 7 ธันวาคม 2553
3. การบริหารราชการตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 ต้องเป็นไป
ตามข้อใด
ก. เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ค. ความมีประสิทธิภาพ ง. ถูกทุกข้อ
4. หลักการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องใช้วิธีการใด
ก. วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ข. วิธีลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ค. วิธีการกระจายอานาจการตัดสินใจ
ง. วิธีการกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น
5.ข้อใดไม่ใช่การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ก. ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
ข. ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
ค. ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
ง. ระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด
27
6.เมื่อมีการแบ่งส่วนราชการ ให้ส่วนราชการกาหนดตาแหน่งและอัตราเงินเดือนของส่วนราชการ
โดยต้องคานึงถึงเรื่องใด
ก. คุณภาพและปริมาณงาน ข. คุณภาพและประสิทธิภาพ
ค. ความคุ้มค่าและปริมาณงาน ง. ความคุ้มค่าและลดขั้นตอน
7.ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 คือข้อใด
ก. นายกรัฐมนตรี ข.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ค. รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี ง. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
8.ข้อใดไม่ใช่การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
ก. สานักนายกรัฐมนตรี ข. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ค. กระทรวง ง. กรม
9.ส่วนราชการใด ไม่เป็นนิติบุคคล
ก. สานักนายกรัฐมนตรี ข. กระทรวง
ค. ทบวง ง. สานักงานรัฐมนตรี
10.สานักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็นอะไร
ก. กระทรวง ข. ทบวง
ค. กรม ง. กอง
11.การจัดตั้ง การรวม การโอน สานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม จะต้องตราเป็น
กฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. พระราชกาหนด ง. ประกาศกระทรวง
28
12.การรวมหรือโอน สานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม ถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรือ
อัตราของข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มขึ้น ให้ตราเป็นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. พระราชกาหนด ง. ประกาศกระทรวง
13.การเปลี่ยนชื่อส่วนราชการ การยุบส่วนราชการของสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม
ให้กระทาได้โดยตราเป็นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. พระราชกาหนด ง. ประกาศกระทรวง
14.การแบ่งส่วนราชการภายในสานักนายกรัฐมนตรี กรมหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
และมีฐานะเป็นกรม ให้กระทาได้โดยออกเป็นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง ง. ประกาศกระทรวง
15.หน่วยงานใดมีหน้าที่เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี ให้แบ่งส่วนราชการภายในกรมส่งเสริม
การปกครองท้องถิ่น
ก. สานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. สานักงานพัฒนาระบบราชการ
ง. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสานักงบประมาณ
16.ส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรีที่กาหนดไว้ในกฎหมาย มีฐานะเป็นไปตามข้อใด
ก. กระทรวง ข. ทบวง
ค. กรม ง. กอง
29
17.ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีตาย ขาดคุณสมบัติ ต้องคาพิพากษาให้จาคุก สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่
ไว้วางใจ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง หรือวุฒิสภามีมติ
ให้ถอดถอนจากตาแหน่ง ในระหว่างที่รอคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้ามารับหน้าที่นั้น คณะรัฐมนตรีชุด
เก่า จะต้องดาเนินการอย่างไร
ก. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี
ข. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี
ค. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี
ง. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งทาการแทนนายกรัฐมนตรี
18.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี
ก. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีกากับการบริหารราชการของกระทรวงหรือทบวงหนึ่ง
หรือหลายกระทรวงหรือทบวง
ข. บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารทุกตาแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่วน
ราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็นกรม
ค. แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบัติราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
ง. แต่งตั้งข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งอธิบดีขึ้นไป ไปดารงตาแหน่งอีกกระทรวง ทบวง กรม
หนึ่งโดยไม่ต้องได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี
19.สานักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่ในเรื่องใด
ก. ราชการทางการเมือง ข.ราชการประจา
ค. ราชการในพระองค์ ง.ราชการทั่วไป
20. เลขาธิการนายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ ขึ้น
ตรงต่อผู้ใด
ก. นายกรัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี
ค. รัฐสภา ง. กระทรวง
30
21.ตาแหน่งตามข้อใดเป็นข้าราชการการเมือง
ก. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ข. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง
ค. ผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข.
22.ตาแหน่งตามข้อใดเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ
ก. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ข. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร
ค. ผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ง. ถูกทั้งข้อ ข.และค.
23. การมอบอานาจให้ผู้ดารงตาแหน่งใดที่คณะรัฐมนตรีต้องกาหนดหลักเกณฑ์ให้มอบอานาจ
ต่อไปให้ผู้ดารงตาแหน่งอื่นได้
ก. ปลัดกระทรวง ข. อธิบดี
ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด ง. นายอาเภอ
24.ข้อใดมีหน้าที่เป็นที่ปรึกษาผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัด
ก. ผู้ทรงคุณวุฒิ ข. คณะกรรมการจังหวัด
ค. คณะกรมการจังหวัด ง. ถูกทุกข้อ
25.ตาแหน่งตามข้อใดเป็นประธาน “ก.ธ.จ.”
ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ข. ผู้ตรวจราชการสานักนายกรัฐมนตรีซึ่งมีเขตอานาจในจังหวัด
ค. หัวหน้าสานักงานจังหวัด
ง. ปลัดจังหวัด
**************************************************************************
31
ประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๒
ความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ มาตรา 147 - 166
--------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๑๔๗๑ ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซื้อ ทา จัดการหรือรักษาทรัพย์ใด เบียดบัง
ทรัพย์นั้นเป็นของตน หรือเป็นของผู้อื่นโดยทุจริต หรือโดยทุจริตยอมให้ผู้อื่นเอาทรัพย์นั้นเสีย ต้องระวาง
โทษจาคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย
อาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๔๘๒ ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน ใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรือจูงใจ
เพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรือหามาให้ซึ่งทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรือผู้อื่น ต้องระวางโทษ
จาคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท หรือประหาร
ชีวิต
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย
อาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๔๙๓ ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด หรือ
สมาชิกสภาเทศบาล เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดสาหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิ
ชอบ เพื่อกระทาการหรือไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งไม่ว่าการนั้นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่ ต้อง
ระวางโทษจาคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท
หรือประหารชีวิต
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย
อาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๕๐๔ ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน กระทาการหรือไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งโดย
เห็นแก่ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด ซึ่งตนได้เรียก รับ หรือยอมจะรับไว้ก่อนที่ตนได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้า
พนักงานในตาแหน่งนั้น ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่
หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย
อาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๕๑๕ ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซื้อ ทา จัดการหรือรักษาทรัพย์ใด ๆ ใช้อานาจ
ในตาแหน่งโดยทุจริต อันเป็นการเสียหายแก่รัฐ เทศบาล สุขาภิบาลหรือเจ้าของทรัพย์นั้น ต้องระวางโทษ
จาคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)

More Related Content

What's hot

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ปล่อยใจ ตามสบาย
 

What's hot (20)

สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
 
การรักษาราชการแทน และการปฏิบัติราชการแทน
การรักษาราชการแทน และการปฏิบัติราชการแทนการรักษาราชการแทน และการปฏิบัติราชการแทน
การรักษาราชการแทน และการปฏิบัติราชการแทน
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษรวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
 
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
 
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
 
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
 
สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 

More from ชีวิตนี้ จงอดทนในการเผชิญกับบททดสอบ

More from ชีวิตนี้ จงอดทนในการเผชิญกับบททดสอบ (20)

7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf
7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf
7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf
 
ติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdf
ติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdfติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdf
ติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdf
 
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้วภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
 
แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05
แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05
แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05
 
แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547
แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547
แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547
 
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
 
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรมบริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
 
จิตวิทยา 6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรมจิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา 6 เฟรม
 
การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)
การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)
การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)
 
กฎหมายการศึกษา 6
กฎหมายการศึกษา 6กฎหมายการศึกษา 6
กฎหมายการศึกษา 6
 
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
 
Trench final
Trench finalTrench final
Trench final
 
Kunnatam ex
Kunnatam exKunnatam ex
Kunnatam ex
 
Lesson plan electricfield
Lesson plan electricfieldLesson plan electricfield
Lesson plan electricfield
 
Checkins report
Checkins reportCheckins report
Checkins report
 
E0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98c
E0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98cE0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98c
E0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98c
 
Build your own_volcano
Build your own_volcanoBuild your own_volcano
Build your own_volcano
 
How to-use
How to-useHow to-use
How to-use
 
F7 zx41zhyfnx6g3
F7 zx41zhyfnx6g3F7 zx41zhyfnx6g3
F7 zx41zhyfnx6g3
 
Popmake valentineheart
Popmake valentineheartPopmake valentineheart
Popmake valentineheart
 

พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)

  • 1. 1 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ฉบับแรกบังคับใช้ 5 กันยายน ๒๕๓๔ ** ฉบับที่ 8 บังคับใช้ 8 กันยายน 2553 มาตรา ๓/๑ การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อ 1.ประโยชน์สุขของประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ 4.การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จาเป็น 6.การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอานาจตัดสินใจ 7.การอานวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดารงตาแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้อง คานึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Government) โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คานึงถึง 1.ความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน 2.การมีส่วนร่วมของประชาชน 3.การเปิดเผยข้อมูล 4.การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกา กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการ ปฏิบัติก็ได้ (ส่งผลให้เกิด พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546) ข้อสอบ..!!
  • 2. 2 มาตรา ๔ ให้จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ดังนี้ ( กลาง ภาค ถิ่น ) (๑) ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง (๒) ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค (๓) ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น มาตรา ๖ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ แผนภาพสรุปการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินแบ่งได้ 3 ส่วน ข้อสอบ..!! 1.ส่วนกลาง สานัก นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม ส่วนกลางใช้หลักการ รวมอานาจ 2.ส่วนภูมิภาค จังหวัด อาเภอ ส่วนภูมิภาคใช้หลักการ แบ่งอานาจ 3.ส่วนท้องถิ่น รูปแบบพิเศษ 1.กรุงเทพมหานคร 2.เมืองพัทยา รูปแบบทั่วไป 1. อบต. 2. อบจ. 3. เทศบาล ส่วนท้องถิ่นใช้หลักการ กระจายอานาจ
  • 3. 3 มาตรา ๗ ให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง (รวมอานาจ) ดังนี้ (๑) สานักนายกรัฐมนตรี (มีฐานะเป็นกระทรวง) (๒) กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง (๓) ทบวง ซึ่งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง (๔) กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ซึ่งสังกัดหรือไม่ สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง สานักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็นกระทรวง ส่วนราชการตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔) มีฐานะเป็นนิติบุคคล มาตรา ๘ การจัดตั้ง การรวม หรือการโอนส่วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ *** กรมมี 2 แบบ ดังนี้ 1.กรมที่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง เช่น กรมที่ดิน สังกัดกระทรวงมหาดไทย 2.กรมที่ไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง แต่อยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี เช่น 1.สานักงานตารวจแห่งชาติ 2.สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 3.สานักงานราชบัณฑิตยสภา 4.สานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 5.สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ มาตรา ๘ ทวิ การรวมหรือการโอนส่วนราชการตามมาตรา ๗ ไม่ว่าจะมีผลเป็นการจัดตั้งส่วนราชการขึ้น ใหม่หรือไม่ ถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรืออัตราของข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มขึ้นให้ตราเป็นพระ ราชกฤษฎีกา ให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสานักงบประมาณมีหน้าที่ตรวจสอบดูแลมิ ให้มีการกาหนดตาแหน่งหรืออัตราของข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหม่ หรือที่ถูก รวมหรือโอนไปตามวรรคหนึ่ง เพิ่มขึ้นจนกว่าจะครบกาหนดสามปีนับแต่วันที่พระราชกฤษฎีกาตามวรรค หนึ่งมีผลใช้บังคับ มาตรา ๘ ตรี การเปลี่ยนชื่อส่วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มาตรา ๘ จัตวา การยุบส่วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ข้อสอบ..!! ข้อสอบ..!! ข้อสอบ..!!
  • 4. 4 เมื่อมีพระราชกฤษฎีกายุบส่วนราชการตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้งบประมาณรายจ่ายที่ เหลืออยู่ของส่วนราชการนั้นเป็นอันระงับไป สาหรับทรัพย์สินอื่นของส่วนราชการนั้นให้โอนให้แก่ส่วน ราชการอื่นหรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ตามที่รัฐมนตรีซึ่งเป็นผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกาตามวรรค หนึ่งกาหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี สาหรับวิธีการจัดการกิจการสิทธิและหนี้สินของส่วน ราชการนั้นให้เป็นไปตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา ข้าราชการหรือลูกจ้างซึ่งต้องพ้นจากราชการเพราะเหตุยุบตาแหน่ง อันเนื่องมาแต่การยุบ ส่วนราชการตามวรรคหนึ่ง นอกเหนือจากสิทธิประโยชน์ที่พึงได้รับตามกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับอื่น แล้ว ให้ข้าราชการหรือลูกจ้างได้รับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา ตามวรรคหนึ่งด้วย ในกรณีที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่นของรัฐประสงค์จะรับโอนข้าราชการหรือ ลูกจ้างตามวรรคสามก็ให้กระทาได้โดยมิให้ถือว่าข้าราชการหรือลูกจ้างผู้นั้นได้พ้นจากราชการตามวรรค สาม แต่ทั้งนี้ต้องกระทาภายในสามสิบวันนับแต่พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งมีผลใช้บังคับ การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานรัฐมนตรี กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและ มีฐานะเป็นกรม ให้ออกเป็นกฎกระทรวงและให้ระบุอานาจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการไว้ใน กฎกระทรวงด้วย ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดของส่วนราชการเป็นผู้ออกกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการดังกล่าว กฎกระทรวงนั้นเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ หมวด ๑ การจัดระเบียบราชการในสานักนายกรัฐมนตรี สานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็นกระทรวง อยู่ภายในการบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี ส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็นกรม มีดังนี้ 1.ส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อปลัดสานักนายกรัฐมนตรี 2.ส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ข้อสอบ..!! ข้อสอบ..!!
  • 5. 5 การบังคับบัญชาและการบริหารราชการในสานักนายกรัฐมนตรี มาตรา 11 นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอานาจหน้าที่ ดังนี้ (1) กากับโดยทั่วไปซึ่งการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อการนี้จะสั่งให้ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และส่วนราชการซึ่งมีหน้าที่ควบคุมราชการส่วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงความคิดเห็น ทารายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการ ในกรณีจาเป็นจะยับยั้งการปฏิบัติราชการใด ๆ ที่ขัดต่อนโยบาย หรือ มติของคณะรัฐมนตรีก็ได้ และมีอานาจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของ ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิ่น สานักนายกรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี ส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อปลัดสานักนายกรัฐมนตรี -สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี -สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค -กรมประชาสัมพันธ์ ส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี -สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี -สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี -สานักงบประมาณ -สานักข่าวกรองแห่งชาติ -สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ -สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน -สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ฯลฯ (มาตรา 15)
  • 6. 6 (2) มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีกากับการบริหารราชการของกระทรวง หรือทบวงหนึ่ง หรือหลายกระทรวงหรือทบวง (3) บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารทุกตาแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่วน ราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็นกรม (4) สั่งให้ข้าราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบัติราชการสานัก นายกรัฐมนตรี โดยจะให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรือไม่ก็ได้ ในกรณีที่ให้ขาดจากอัตรา เงินเดือนทางสังกัดเดิม ให้ได้รับเงินเดือนในสานักนายกรัฐมนตรีในระดับ และขั้นที่ไม่สูงกว่าเดิม (5) แต่งตั้งข้าราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดารงตาแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง กรมหนึ่ง โดยให้ได้รับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณีเช่นว่านี้ให้ข้าราชการซึ่ง ได้รับแต่งตั้งมีฐานะเสมือนเป็นข้าราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมาดารงตาแหน่งนั้นทุก ประการ แต่ถ้าเป็นการแต่งตั้งข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งอธิบดีหรือเทียบเท่าขึ้นไป ต้องได้รับอนุมัติ จากคณะรัฐมนตรี (6) แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษาหรือคณะที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรี หรือเป็นคณะกรรมการเพื่อปฏิบัติราชการใด ๆ และกาหนดอัตราเบี้ยประชุมหรือค่าตอบแทนให้แก่ผู้ซึ่ง ได้รับแต่งตั้ง (7) แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบัติราชการในสานักนายกรัฐมนตรี (8) วางระเบียบปฏิบัติราชการ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปโดยรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายอื่น (9) ดาเนินการอื่น ๆ ในการปฏิบัติตามนโยบาย ระเบียบตาม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ใช้บังคับได้ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ช่วยสั่งการและ ปฏิบัติราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย การปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี เมื่อนายกรัฐมนตรีต้องพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ เพราะว่านายกรัฐมนตรี 1.ตาย 2.ขาดคุณสมบัติ 3.ต้องคาพิพากษาให้จาคุก 4.สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจ ข้อสอบ..!!
  • 7. 7 5.ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง 6.วุฒิสภามีมติให้ถอดถอนจากตาแหน่ง โดยให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน นายกรัฐมนตรี ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่ดังนี้ (1) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในสานักนายกรัฐมนตรี กาหนดแนวทางและแผนการ ปฏิบัติราชการของสานักนายกรัฐมนตรี (2) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี รองจากนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี ยกเว้นข้าราชการของส่วนราชการซึ่ง หัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี (3) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และรับผิดชอบในการ ปฏิบัติราชการของสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ มาตรา 17 สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็นกรม มีอานาจหน้าที่ เกี่ยวกับราชการประจาทั่วไปของสานักนายกรัฐมนตรี และราชการที่คณะรัฐมนตรีมิได้กาหนดให้เป็น หน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีโดยเฉพาะ สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็นกรม มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชา ข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ให้เลขาธิการนายกรัฐมนตรีและรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง เป็นข้าราชการ การเมือง และให้รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร และผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็น ข้าราชการพลเรือนสามัญ
  • 8. 8 สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี มีฐานะเป็นกรม มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับ ราชการของคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และราชการในพระองค์ ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ให้เลขาธิการคณะรัฐมนตรี รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็น ข้าราชการพลเรือนสามัญ การจัดระเบียบราชการในกระทรวงหรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง กระทรวง เป็นราชการส่วนกลาง มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเป็นหัวหน้า 1.สานักงานรัฐมนตรี ซึ่งไม่เป็นกรม มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการการเมือง มี เลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเป็นข้าราชการการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานรัฐมนตรี 2.สานักงานปลัดกระทรวง มีฐานะเป็นกรมและเป็นนิติบุคคล มีอานาจหน้าที่ เกี่ยวกับราชการประจาทั่วไปของกระทรวง มีปลัดกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชา 3.กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็นกรม มีฐานะเป็น นิติบุคคล มีอธิบดีหรือตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นมีฐานะเป็นอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชา กระทรวง 1.สานักงานรัฐมนตรี 2.สานักงานปลัดกระทรวง 3.กรม หรือส่วนราชการที่ เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะ เป็นกรม ข้อสอบ..!!
  • 9. 9 กระทรวงใดมีความจาเป็นจะต้องมีส่วนราชการเพื่อทาหน้าที่จัดทานโยบายและแผน กากับ เร่งรัด และติดตามนโยบายและแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง จะจัดระเบียบบริหารราชการโดย อนุมัติคณะรัฐมนตรี เพื่อให้มีสานักนโยบายและแผนเป็นส่วนราชการภายใน ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงก็ได้ การบริหารราชการในกระทรวง รัฐมนตรีว่าการกระทรวง เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และกาหนดนโยบายของกระทรวง ให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภา หรือคณะรัฐมนตรีกาหนดหรืออนุมัติ โดยจะ ให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการก็ได้ มีปลัดกระทรวง รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในกระทรวง มีรองปลัดกระทรวง 1 คน เป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการตามที่ปลัดกระทรวงมอบหมายก็ได้ คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจะร่วมกันอนุมัติให้ กระทรวงนั้นมีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นกรณีพิเศษ โดยจะกาหนดเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาไว้ด้วย หรือไม่ก็ได้ การจัดระเบียบราชการในกรม กรม มีฐานะเป็นนิติบุคคล มี 2 ประเภท ดังนี้ 1.กรม ซึ่งอยู่ในสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง เช่น กรมป่าไม้ สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2.กรม ซึ่งไม่ได้อยู่ในสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง เช่น สานักงานตารวจแห่งชาติ ราชบัณฑิตยสถาน สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นต้น การแบ่งส่วนราชการในสานักงานรัฐมนตรี กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะ เป็นกรม ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดออกเป็นกฎกระทรวง และให้สานักงาน ก.พ. จัดอัตรากาลัง และให้ สานักงบประมาณจัดสรรเงินงบประมาณ ข้อสอบ..!!
  • 10. 10 กรมมีอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของกรมให้ เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง มีรองอธิบดี เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการรองจากอธิบดีและช่วยอธิบดีปฏิบัติราชการ ผู้ตรวจราชการ กระทรวง ทบวง หรือกรมใด โดยสภาพและปริมาณของงานสมควรมีผู้ตรวจ ราชการของกระทรวง ทบวง หรือกรมนั้น ก็ให้กระทาได้ การบริหารราชการในต่างประเทศ การบริหารราชการในต่างประเทศ ถือว่าเป็นการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง เพราะจะมีสานักงานหรือผู้แทนของกระทรวงต่าง ๆไปปฏิบัติงานในต่างประเทศ “คณะผู้แทน” หมายความว่า บรรดาข้าราชการฝ่ายพลเรือน หรือข้าราชการฝ่ายทหาร ประจาการในต่างประเทศซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล สถานรองกงสุล ส่วนราชการของกระทรวงการต่างประเทศซึ่งเรียกชื่อเป็นอย่างอื่นและ ปฏิบัติหน้าที่เช่นเดียวกับสถานเอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุลใหญ่ และคณะผู้แทนถาวรไทยประจา องค์การระหว่างประเทศ “หัวหน้าคณะผู้แทน” หมายความว่า ข้าราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศซึ่งได้รับแต่งตั้ง ให้ดารงตาแหน่งหัวหน้าคณะผู้แทนตามระเบียบพิธีการทูต หรือระเบียบพิธีการกงสุล ในกรณีของคณะ ผู้แทนถาวรไทยประจาองค์การระหว่างประเทศ ให้หมายความว่าข้าราชการสังกัดส่วนราชการซึ่งได้รับ แต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งหัวหน้าคณะผู้แทนถาวรไทยประจาองค์การระหว่างประเทศ “รองหัวหน้าคณะผู้แทน” หมายความว่า ข้าราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งได้รับ แต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทนหัวหน้าคณะผู้แทน ในกรณีของคณะผู้แทน กรม สานักงานเลขานุการกรม กอง หรือส่วนราชการที่เทียบเท่ากอง ข้อสอบ..!!
  • 11. 11 ถาวรไทยประจาองค์การระหว่างประเทศ ให้หมายความว่าข้าราชการสังกัดส่วนราชการ ซึ่งได้รับแต่งตั้ง ให้ดารงตาแหน่งในลักษณะเดียวกัน ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้รับนโยบายและคาสั่งจากนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาล คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มาปฏิบัติการให้เหมาะสมกับการปฏิบัติราชการในต่างประเทศ และ เป็นหัวหน้าบังคับบัญชาบุคคลในคณะผู้แทนและจะให้มีรองหัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติ ราชการแทนหัวหน้าคณะผู้แทนก็ได้ การสั่ง และการปฏิบัติราชการของกระทรวง ทบวง กรม ต่อบุคคลในคณะผู้แทนให้เป็นไปตาม ระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกาหนด การจัดระเบียบราชการในส่วนภูมิภาค มาตรา ๕๑ ให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค ดังนี้ (๑) จังหวัด (เป็นนิติบุคคล) (๒) อาเภอ (ไม่เป็นนิติบุคคล) มาตรา ๕๒ ให้รวมท้องที่หลาย ๆ อาเภอตั้งขึ้นเป็นจังหวัด มีฐานะเป็นนิติบุคคล การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด ให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ ปัจจุบันมี 76 จังหวัด 1.อานาจของจังหวัด 1.นาภารกิจของรัฐและนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์ 2.ดูแลให้มีการปฏิบัติและบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยและ เป็นธรรมในสังคม 3.จัดให้มีการคุ้มครอง ป้องกัน ส่งเสริม และช่วยเหลือประชาชนและชุมชนที่ด้อยโอกาสเพื่อให้ ได้รับความเป็นธรรมทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมในการดารงชีวิตอย่างพอเพียง 4.จัดให้มีการบริหารภาครัฐเพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงได้อย่างเสมอหน้า รวดเร็วและมีคุณภาพ ข้อสอบ..!!
  • 12. 12 5.จัดให้มีการส่งเสริม อุดหนุน และสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 6.ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรมมอบหมาย สานักงานจังหวัด มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปและวางแผนพัฒนาจังหวัด มีหัวหน้าสานักงาน จังหวัดเป็นผู้บังคับบัญชา ส่วนราชการประจาจังหวัด คือ ส่วนต่าง ๆซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้ตั้งขึ้น มีหัวหน้าส่วน ราชการประจาจังหวัดนั้นเป็นผู้ปกครอง เช่น -สานักงานเกษตรจังหวัด -สานักงานคลังจังหวัด -สานักงานพาณิชย์จังหวัด -สานักงานแรงงานจังหวัด -สานักงานประมงจังหวัด -สานักงานปศุสัตว์จังหวัด -สานักงานเรือนจาจังหวัด ฯลฯ ในจังหวัดจะมีคณะกรมการจังหวัด และคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด (ก.ธ.จ.) จังหวัด สานักงานจังหวัด ส่วนราชการประจาจังหวัด
  • 13. 13 คณะกรมการจังหวัด ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้นและ ให้ความเห็นชอบในการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด กับปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือมติ ของคณะรัฐมนตรีกาหนด ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน รองผู้ว่าราชการจังหวัดหนึ่งคนตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย เป็นกรมการจังหวัด ปลัดจังหวัด เป็นกรมการจังหวัด อัยการจังหวัดซึ่งเป็นหัวหน้าที่ทาการอัยการจังหวัด เป็นกรมการจังหวัด ผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัด เป็นกรมการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัดจากกระทรวงต่าง ๆที่ประจาอยู่ในจังหวัด กระทรวงละ 1 คน ยกเว้นกระทรวงมหาดไทย เป็นกรมการจังหวัด หัวหน้าสานักงานจังหวัด เป็นกรมการจังหวัดและเลขานุการ คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด (ก.ธ.จ.) ในจังหวัด (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) ให้มีคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด (ก.ธ.จ.) ทาหน้าที่ สอดส่องและเสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐในจังหวัดให้ใช้วิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดีและเป็นไปตามหลักการในการบริหารราชการแผ่นดิน ในกรณีที่ ก.ธ.จ. พบว่ามีการ ละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ หรือมีการทุจริต ให้เป็นหน้าที่ของ ก.ธ.จ. ที่ต้อง แจ้งผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี เพื่อดาเนินการตามหน้าที่ต่อไป ก.ธ.จ. ประกอบด้วย ผู้ตรวจราชการสานักนายกรัฐมนตรีซึ่งมีเขตอานาจในจังหวัด ประธาน ผู้แทนภาคประชาสังคม กรรมการ ผู้แทนสมาชิกสภาท้องถิ่นที่ไม่ได้ดารงตาแหน่งผู้บริหาร กรรมการ ผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน กรรมการ ข้อสอบ..!!
  • 14. 14 ให้จังหวัดจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด ให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมใน ระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้รับนโยบายและคาสั่งจากนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาล คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มาปฏิบัติการให้เหมาะสมกับท้องที่และประชาชน และเป็นหัวหน้า บังคับบัญชาบรรดาข้าราชการฝ่ายบริหาร ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในราชการส่วนภูมิภาคในเขตจังหวัด และ รับผิดชอบในราชการจังหวัดและอาเภอ ผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด และผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด สังกัด กระทรวงมหาดไทย อานาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด (๑) บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ (๒) บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามที่ นายกรัฐมนตรีสั่งการในฐานะหัวหน้ารัฐบาล (๓) บริหารราชการตามคาแนะนาและคาชี้แจงของผู้ตรวจราชการกระทรวง (๔) กากับดูแลการปฏิบัติราชการอันมิใช่ราชการส่วนภูมิภาคของข้าราชการซึ่งประจาอยู่ใน จังหวัดนั้น ยกเว้นข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ายตุลาการ ข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนใน มหาวิทยาลัย ข้าราชการในสานักงานตรวจเงินแผ่นดินและข้าราชการครู ให้ปฏิบัติราชการให้เป็นไปตาม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับหรือคาสั่งของกระทรวง ทบวง กรม หรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่ง การของนายกรัฐมนตรี หรือยับยั้งการกระทาใด ๆ ของข้าราชการในจังหวัดที่ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาสั่งของกระทรวง ทบวง กรม (5)ประสานงานและร่วมมือกับข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ายตุลาการ ข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ข้าราชการในสานักงานตรวจเงินแผ่นดินและข้าราชการครู ผู้ตรวจ ราชการและหัวหน้าส่วนราชการในระดับเขตหรือภาค ในการพัฒนาจังหวัดหรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ ข้อสอบ..!!
  • 15. 15 (๖) เสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้องตามโครงการหรือแผนพัฒนาจังหวัด และรายงาน ให้กระทรวงมหาดไทยทราบ (๗) กากับดูแลการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นในจังหวัดตามกฎหมาย (๘) กากับการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานองค์การของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ในการนี้ให้มี อานาจทารายงานหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนินงานขององค์การของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ต่อรัฐมนตรีเจ้าสังกัดองค์การของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ (๙) บรรจุ แต่งตั้ง ให้บาเหน็จ และลงโทษข้าราชการส่วนภูมิภาคในจังหวัดตามกฎหมาย และ ตามที่ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง หรืออธิบดีมอบหมาย การยกเว้น จากัด หรือตัดทอน อานาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการใน จังหวัด หรือให้ข้าราชการของส่วนราชการใดมีอานาจหน้าที่ในการบริหารราชการส่วนภูมิภาค เช่นเดียวกับผู้ว่าราชการจังหวัดจะกระทาได้โดยตราเป็นพระราชบัญญัติ ปลัดจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัด ซึ่งกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ส่งมาประจาทาหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือผู้ว่าราชการจังหวัด และมี อานาจบังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารส่วนภูมิภาคซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมนั้น ในจังหวัดนั้น อาเภอ เป็นหน่วยราชการบริหารรองจากจังหวัด ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล ประกอบขึ้นจากท้องที่ หลายๆตาบลรวมกัน การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขตอาเภอ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ในอาเภอหนึ่ง มีนายอาเภอคนหนึ่งเป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการในอาเภอ และรับผิดชอบงานบริหารราชการของอาเภอ นายอาเภอสังกัดกระทรวงมหาดไทย ข้อสอบ..!!
  • 16. 16 สานักงานอาเภอ มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของอาเภอนั้น ๆ มีนายอาเภอเป็นผู้ปกครองบังคับ บัญชาข้าราชการและรับผิดชอบ ส่วนราชการประจาอาเภอ มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรมนั้น ๆ มีหัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอ นั้น ๆ เป็นผู้ปกครองบังคับบัญชารับผิดชอบ ปัจจุบันมีส่วน ราชการประจาอาเภอ คือ - ที่ทาการปกครองอาเภอ สานักงานเกษตรอาเภอ -สานักงานสาธารณสุขอาเภอ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ -สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอาเภอ อานาจหน้าที่ของอาเภอ ให้อาเภอมีหน้าที่ภายในเขตอาเภอ ดังนี้ 1.อานาจหน้าที่เหมือนกับอานาจหน้าที่ของจังหวัด แต่มีเฉพาะในพื้นที่เขตอาเภอ และต้อง ปฏิบัติให้สอดคล้องและเป็นไปตามแผนพัฒนาจังหวัด 2.ส่งเสริม สนับสนุน และจัดให้มีการบริการร่วมกันของหน่วยงานของรัฐในลักษณะศูนย์บริการ ร่วม 3.ประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อร่วมมือกับชุมชนในการดาเนินการให้มีแผน ชุมชน เพื่อรองรับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด กระทรวง ทบวง กรม อาเภอ สานักงานอาเภอ ส่วนราชการประจาอาเภอ
  • 17. 17 4.ไกล่เกลี่ยหรือจัดให้มีการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท ในเรื่องพิพาททางแพ่งเกี่ยวกับที่ดิน มรดก และข้อพิพาททางแพ่งอื่นที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน 2 แสนบาท หรือมากกว่านั้น (อ้างอิง จากกฎกระทรวงว่าด้วยการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาททางแพ่ง พ.ศ. ๒๕๕๓ ส่วนตรงประโยคที่ว่า หรือมากกว่านั้น เป็นการเผื่อไว้ในอนาคตที่อาจจะต้องแก้ไขเพิ่มทุนทรัพย์ให้สูงขึ้น รัฐบาลก็ตราเป็นพระ ราชกฤษฎีกา เพิ่มทุนทรัพย์เป็นสามแสนสี่แสนได้เลย โดยไม่ต้องนาเข้าพิจารณาในสภาฯ) ให้นายอาเภอ โดยความเห็นชอบของคณะกรมการจังหวัด จัดทาบัญชีรายชื่อบุคคลที่จะทา หน้าที่เป็นคณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท โดยคัดเลือกจากบุคคลผู้มีความรู้หรือ มีประสบการณ์เหมาะสมกับการทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ถ้าคู่พิพาททั้งสองฝ่ายตกลงกันได้ ให้คณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทจัดให้ มีการทาสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างคู่พิพาทและให้ถือเอาข้อตกลงตามสัญญา ประนีประนอมยอมความมีผลผูกพันคู่พิพาททั้งสองฝ่าย ให้ข้อตกลงมีผลเช่นเดียวกับคาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการตามกฎหมายว่าด้วยอนุญาโตตุลาการ อานาจหน้าที่ของ นายอาเภอ (๑) บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ถ้ากฎหมายใดมิได้ บัญญัติว่าการปฏิบัติตามกฎหมายนั้นเป็นหน้าที่ของผู้ใดโดยเฉพาะ ให้เป็นหน้าที่ของนายอาเภอที่จะต้อง รักษาการให้เป็นไปตามกฎหมายนั้นด้วย (๒) บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามที่ นายกรัฐมนตรีสั่งการในฐานะหัวหน้ารัฐบาล (๓) บริหารราชการตามคาแนะนาและคาชี้แจงของผู้ว่าราชการจังหวัดและผู้มีหน้าที่ตรวจการ อื่นซึ่งคณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม และผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย (๔) ควบคุมดูแลการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นในอาเภอตามกฎหมาย
  • 18. 18 การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ท้องถิ่นใดที่เห็นสมควรจัดให้ราษฎรมีส่วนในการปกครองท้องถิ่นให้จัดระเบียบการปกครองเป็น ราชการส่วนท้องถิ่น - องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) - กรุงเทพมหานคร - องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) - เมืองพัทยา - เทศบาล 1.เทศบาลนคร 2.เทศบาลเมือง 3.เทศบาลตาบล รูปแบบทั่วไป รูปแบบพิเศษ ราชการส่วนท้องถิ่น ข้อสอบ..!!
  • 19. 19 คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ก.พ.ร. มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงานของ รัฐอย่างอื่น ซึ่งรวมถึงโครงสร้างระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากร มาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรม ค่าตอบแทน และวิธีปฏิบัติราชการอื่น (๒) เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่หน่วยงานอื่นของรัฐที่มิได้อยู่ในกากับของราชการฝ่ายบริหาร ตามที่หน่วยงานดังกล่าวร้องขอ (๓) รายงานต่อคณะรัฐมนตรีในกรณีที่มีการดาเนินการขัดหรือไม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่ กาหนดในมาตรา ๓/๑ (๔) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกาหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานในการจัดตั้งการรวม การโอน การยุบเลิก การกาหนดชื่อ การเปลี่ยนชื่อ การกาหนดอานาจหน้าที่ และการแบ่งส่วนราชการภายในของ ส่วนราชการที่เป็นกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น (๕) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกา และกฎที่ออกตาม พระราชบัญญัตินี้ (๖) ดาเนินการให้มีการชี้แจงทาความเข้าใจแก่ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องและ ประชาชนทั่วไป (๗) ติดตาม ประเมินผล และแนะนาเพื่อให้มีการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ และรายงานต่อ คณะรัฐมนตรีพร้อมทั้งข้อเสนอแนะ (๘) ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้ (๙) เรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความเห็นประกอบการพิจารณา (๑๐) จัดทารายงานประจาปีเกี่ยวกับการพัฒนาและจัดระบบราชการและงานของรัฐอย่างอื่น เสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา (๑๑) แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทางาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ตามที่ มอบหมาย และจะกาหนดอัตราเบี้ยประชุมหรือค่าตอบแทนอื่นด้วยก็ได้ (๑๒) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
  • 20. 20 ก.พ.ร. ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ประธาน (นายวิษณุ เครืองาม) รัฐมนตรีหนึ่งคนที่นายกรัฐมนตรีกาหนด รองประธาน (นายอนุชา นาคาศัย) ผู้ซึ่งคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอบหมาย กรรมการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกินสิบ กรรมการ เลขาธิการ ก.พ.ร. เป็นกรรมการและเลขานุการโดยตาแหน่ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสี่ปี ผู้ซึ่งพ้นจากตาแหน่งแล้ว อาจได้รับ แต่งตั้งอีกได้ แต่ไม่เกินสองวาระติดต่อกัน การปฏิบัติราชการแทน คือ การที่ผู้บังคับบัญชามอบอานาจให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติราชการแทน เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ หรือการดาเนินการอื่นที่ผู้มีอานาจพึงปฏิบัติได้ โดยที่การมอบอานาจให้ทาเป็น หนังสือ ในการมอบอานาจ ให้ผู้มอบอานาจพิจารณาสิ่งต่อไปนี้ 1.การอานวยความสะดวกแก่ประชาชน 2.ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ 3.การกระจายความรับผิดชอบตามสภาพของตาแหน่งของผู้รับมอบอานาจ มอบ...หนังสือ สะดวก....รวดเร็ว ผู้รับมอบอานาจต้องปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบอานาจตามวัตถุประสงค์ของการมอบอานาจ ดังกล่าว ผู้มอบอานาจมีหน้าที่กากับดูแลและติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอานาจ และ สามารถแนะนา แก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอานาจได้ ข้อสอบ..!! ข้อสอบ..!!
  • 21. 21 การมอบอานาจในส่วนกลาง (การปฏิบัติราชการแทน) ผู้มอบอานาจ ผู้รับมอบอานาจ นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง ปลัดกระทรวง อธิบดีหรือตาแหน่งเทียบเท่า ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี อธิบดีหรือตาแหน่งเทียบเท่า ปลัดกระทรวง รองปลัดกระทรวง ผู้ช่วยปลัดกระทรวง อธิบดีหรือเทียบเท่า อธิบดีหรือเทียบเท่า รองอธิบดี หรือเทียบเท่า ผู้ช่วยอธิบดี หรือเทียบเท่า ผู้อานวยการกอง หรือเทียบเท่า หัวหน้ากอง หรือเทียบเท่า
  • 22. 22 การมอบอานาจในส่วนภูมิภาค (การปฏิบัติราชการแทน) ผู้มอบอานาจ ผู้รับมอบอานาจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง อธิบดีหรือเทียบเท่า (ไม่มีนายกรัฐมนตรี) ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัด นายอาเภอ ปลัดอาเภอ หัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอ นายอาเภอ ปลัดอาเภอ หัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอ ปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจากิ่งอาเภอ ปลัดอาเภอประจากิ่งอาเภอ หัวหน้าส่วนราชการประจากิ่งอาเภอ การมอบอานาจสิ้นสุดลง จะต้องทาเป็น...หนังสือ
  • 23. 23 การรักษาราชการแทน (ในโรงเรียนใช้ รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา) ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่ง หรือมี แต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ เนื่องจากผู้มีอานาจไม่สามารถ ใช้อานาจนั้นได้เพราะไม่อยู่ อาทิเช่น ป่วย หรือไปปฏิบัติราชการต่างจังหวัด ให้ผู้ดารงตาแหน่งรองลงมา เป็นผู้รักษาราชการแทน โดยการมีคาสั่งแต่งตั้งให้รักษาราชการแทน ตาแหน่ง ผู้รักษาราชการแทน นายกรัฐมนตรี 1.รองนายกรัฐมนตรี ถ้ามีรองนายกรัฐมนตรีหลายคน ให้ ค.ร.ม. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็น ผู้รักษาราชการแทน 2.รัฐมนตรี กรณีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรี หรือมี แต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ ค.ร.ม. มอบหมาย ให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวง 1.รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง ถ้ามีรัฐมนตรีช่วยหลายคน ให้ ค.ร.ม. มอบหมาย ให้รัฐมนตรีช่วยคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการ แทน 2.รัฐมนตรี กรณีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีช่วย หรือมีแต่ไม่ อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ ค.ร.ม.มอบหมายให้ รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
  • 24. 24 ตาแหน่ง ผู้รักษาราชการแทน ผู้ว่าราชการจังหวัด 1.รองผู้ว่าราชการจังหวัด กรณีที่มีรองผู้ว่าราชการจังหวัดหลายคน ให้ ปลัดกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งรองผู้ว่าราชการ จังหวัดคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน 2.ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด กรณีที่ไม่มีรองผู้ว่าราชการจังหวัด หรือมีแต่ไม่ อาจปฏิบัติราชการได้ และถ้ามีผู้ช่วยผู้ว่าราชการ จังหวัดหลายคน ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทย แต่งตั้งผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด 3.ปลัดจังหวัด กรณีที่ไม่มีรองผู้ว่าราชการจังหวัด และผู้ช่วยผู้ว่า ราชการจังหวัด หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ปลัดจังหวัดรักษาราชการแทน 4.หัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัดซึ่งมีอาวุโส นายอาเภอ ปลัดอาเภอ หรือหัวหน้าส่วนราชการประจา อาเภอที่อาวุโส กรณีที่ไม่มีนายอาเภอ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด แต่งตั้งผู้ดารงตาแหน่งปลัดอาเภอ หรือหัวหน้า ส่วนราชการประจาอาเภอนั้นซึ่งมีอาวุโส
  • 25. 25 หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการจาเป็นต้องกาหนด ขอบเขตอานาจหน้าที่ของส่วนราชการต่าง ๆ ให้ชัดเจนเพื่อมิให้มีการปฏิบัติงานซ้าซ้อนกันระหว่าง ส่วนราชการต่าง ๆ และเพื่อให้การบริหารงานในระดับกระทรวงมีเอกภาพสามารถดาเนินการให้เป็นไป ตามนโยบายที่รัฐมนตรีกาหนดได้ และสมควรเพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับการมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการ แทนให้ครบถ้วนชัดเจนเพื่อไม่ให้เป็นอุปสรรคในการปฏิบัติราชการและกาหนดอานาจและหน้าที่ของผู้ว่า ราชการจังหวัดในการควบคุมดูแลการปฏิบัติราชการของข้าราชการซึ่งปฏิบัติราชการในเขตจังหวัดให้ เหมาะสมขึ้น ประกอบกับประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่ง เป็นกฎหมายหลักในการบริหารราชกาแผ่นดินได้ประกาศใช้บังคับมาเป็นเวลานานแล้ว สมควรแก้ไข ปรับปรุงเป็นพระราชบัญญัติเสียในคราวเดียวกัน จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
  • 26. 26 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 2534 และแก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553 1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ( ฉบับแรก) มีผลบังคับใช้เมื่อใด ก. 4 กันยายน 2534 ข. 5 สิงหาคม 2534 ค. 5 กันยายน 2534 ง. 4 สิงหาคม 2534 2. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2553 ( ฉบับที่ 8) มีผลบังคับใช้เมื่อใด ก. 8 กรกฎาคม 2553 ข. 7 กันยายน 2553 ค. 8 กันยายน 2553 ง. 7 ธันวาคม 2553 3. การบริหารราชการตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 ต้องเป็นไป ตามข้อใด ก. เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ค. ความมีประสิทธิภาพ ง. ถูกทุกข้อ 4. หลักการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องใช้วิธีการใด ก. วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ข. วิธีลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ค. วิธีการกระจายอานาจการตัดสินใจ ง. วิธีการกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น 5.ข้อใดไม่ใช่การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ก. ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง ข. ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค ค. ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ง. ระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด
  • 27. 27 6.เมื่อมีการแบ่งส่วนราชการ ให้ส่วนราชการกาหนดตาแหน่งและอัตราเงินเดือนของส่วนราชการ โดยต้องคานึงถึงเรื่องใด ก. คุณภาพและปริมาณงาน ข. คุณภาพและประสิทธิภาพ ค. ความคุ้มค่าและปริมาณงาน ง. ความคุ้มค่าและลดขั้นตอน 7.ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 คือข้อใด ก. นายกรัฐมนตรี ข.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ค. รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี ง. ปลัดกระทรวงมหาดไทย 8.ข้อใดไม่ใช่การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง ก. สานักนายกรัฐมนตรี ข. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ค. กระทรวง ง. กรม 9.ส่วนราชการใด ไม่เป็นนิติบุคคล ก. สานักนายกรัฐมนตรี ข. กระทรวง ค. ทบวง ง. สานักงานรัฐมนตรี 10.สานักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็นอะไร ก. กระทรวง ข. ทบวง ค. กรม ง. กอง 11.การจัดตั้ง การรวม การโอน สานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม จะต้องตราเป็น กฎหมายใด ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา ค. พระราชกาหนด ง. ประกาศกระทรวง
  • 28. 28 12.การรวมหรือโอน สานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม ถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรือ อัตราของข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มขึ้น ให้ตราเป็นกฎหมายใด ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา ค. พระราชกาหนด ง. ประกาศกระทรวง 13.การเปลี่ยนชื่อส่วนราชการ การยุบส่วนราชการของสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม ให้กระทาได้โดยตราเป็นกฎหมายใด ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา ค. พระราชกาหนด ง. ประกาศกระทรวง 14.การแบ่งส่วนราชการภายในสานักนายกรัฐมนตรี กรมหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น และมีฐานะเป็นกรม ให้กระทาได้โดยออกเป็นกฎหมายใด ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา ค. กฎกระทรวง ง. ประกาศกระทรวง 15.หน่วยงานใดมีหน้าที่เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี ให้แบ่งส่วนราชการภายในกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น ก. สานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี ค. สานักงานพัฒนาระบบราชการ ง. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสานักงบประมาณ 16.ส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรีที่กาหนดไว้ในกฎหมาย มีฐานะเป็นไปตามข้อใด ก. กระทรวง ข. ทบวง ค. กรม ง. กอง
  • 29. 29 17.ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีตาย ขาดคุณสมบัติ ต้องคาพิพากษาให้จาคุก สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ ไว้วางใจ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง หรือวุฒิสภามีมติ ให้ถอดถอนจากตาแหน่ง ในระหว่างที่รอคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้ามารับหน้าที่นั้น คณะรัฐมนตรีชุด เก่า จะต้องดาเนินการอย่างไร ก. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี ข. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ค. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี ง. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งทาการแทนนายกรัฐมนตรี 18.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี ก. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีกากับการบริหารราชการของกระทรวงหรือทบวงหนึ่ง หรือหลายกระทรวงหรือทบวง ข. บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารทุกตาแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่วน ราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็นกรม ค. แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบัติราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ง. แต่งตั้งข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งอธิบดีขึ้นไป ไปดารงตาแหน่งอีกกระทรวง ทบวง กรม หนึ่งโดยไม่ต้องได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี 19.สานักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่ในเรื่องใด ก. ราชการทางการเมือง ข.ราชการประจา ค. ราชการในพระองค์ ง.ราชการทั่วไป 20. เลขาธิการนายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ ขึ้น ตรงต่อผู้ใด ก. นายกรัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี ค. รัฐสภา ง. กระทรวง
  • 30. 30 21.ตาแหน่งตามข้อใดเป็นข้าราชการการเมือง ก. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ข. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ค. ผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข. 22.ตาแหน่งตามข้อใดเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ก. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ข. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร ค. ผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ง. ถูกทั้งข้อ ข.และค. 23. การมอบอานาจให้ผู้ดารงตาแหน่งใดที่คณะรัฐมนตรีต้องกาหนดหลักเกณฑ์ให้มอบอานาจ ต่อไปให้ผู้ดารงตาแหน่งอื่นได้ ก. ปลัดกระทรวง ข. อธิบดี ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด ง. นายอาเภอ 24.ข้อใดมีหน้าที่เป็นที่ปรึกษาผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัด ก. ผู้ทรงคุณวุฒิ ข. คณะกรรมการจังหวัด ค. คณะกรมการจังหวัด ง. ถูกทุกข้อ 25.ตาแหน่งตามข้อใดเป็นประธาน “ก.ธ.จ.” ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด ข. ผู้ตรวจราชการสานักนายกรัฐมนตรีซึ่งมีเขตอานาจในจังหวัด ค. หัวหน้าสานักงานจังหวัด ง. ปลัดจังหวัด **************************************************************************
  • 31. 31 ประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๒ ความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ มาตรา 147 - 166 -------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรา ๑๔๗๑ ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซื้อ ทา จัดการหรือรักษาทรัพย์ใด เบียดบัง ทรัพย์นั้นเป็นของตน หรือเป็นของผู้อื่นโดยทุจริต หรือโดยทุจริตยอมให้ผู้อื่นเอาทรัพย์นั้นเสีย ต้องระวาง โทษจาคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท [อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย อาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐] มาตรา ๑๔๘๒ ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน ใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรือจูงใจ เพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรือหามาให้ซึ่งทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรือผู้อื่น ต้องระวางโทษ จาคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท หรือประหาร ชีวิต [อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย อาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐] มาตรา ๑๔๙๓ ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด หรือ สมาชิกสภาเทศบาล เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดสาหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิ ชอบ เพื่อกระทาการหรือไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งไม่ว่าการนั้นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่ ต้อง ระวางโทษจาคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท หรือประหารชีวิต [อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย อาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐] มาตรา ๑๕๐๔ ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน กระทาการหรือไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งโดย เห็นแก่ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด ซึ่งตนได้เรียก รับ หรือยอมจะรับไว้ก่อนที่ตนได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้า พนักงานในตาแหน่งนั้น ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท [อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย อาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐] มาตรา ๑๕๑๕ ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซื้อ ทา จัดการหรือรักษาทรัพย์ใด ๆ ใช้อานาจ ในตาแหน่งโดยทุจริต อันเป็นการเสียหายแก่รัฐ เทศบาล สุขาภิบาลหรือเจ้าของทรัพย์นั้น ต้องระวางโทษ จาคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท