SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
บทที่ 1
การศึกษา การพัฒนามนุษย์ กับหลักสูตร
มโนทัศน์(Concept)
การศึกษาเป็นการพัฒนามนุษย์ผ่านกระบวนการสั่งสอน กระบวนการฝึกอบรม
หรือกระบวนการถ่ายทอดความรู้ ความชานาญ และทัศนคติที่รวมเรียกว่าประสบการณ์ ซึ่ง
มนุษย์เป็นผู้จัดและถ่ายทอดให้แก่กัน หมายรวมถึงวัฒนธรรมหรือวิธีทางแห่งการดารงชีวิต
ของมนุษย์ทั้งที่มองเห็นได้ชัดเจนและไม่มองเห็น
ผลการเรียนรู้(Learning Outcome)
1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษากับหลักสูตร
2. อธิบายและนิยาม /ความหมาย : การพัฒนาหลักสูตร
สาระเนื้อหา(Content)
1. การศึกษาในฐานะเครื่องมือการพัฒนา
การศึกษามีลักษณะสาคัญ 3 ประการ คือ
1.การศึกษาเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลให้เป็นไป
ในแนวทางที่ปรารถนา
2.การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนี้เป็นไปโดยจงใจ โดยมีการกาหนด
จุดมุ่งหมายซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสูงสุดไว้
3.การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนี้กระทาเป็นระบบ มีกระบวนการ
อันเหมาะสมและผ่านสถาบันทางสังคมที่ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่ด้าน
การศึกษา
2. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต, 2539 : 2 - 4 ) กล่าวไว้ว่า ทรัพยากรมนุษย์เป็น
คาที่เกิดมาไม่นานนัก (เกิดในช่วง ค.ศ. 1965 – 1970 คือ พ.ศ. 2508 – 2513) เป็นแนวคิดที่
เกิดขึ้นในช่วงที่เน้นเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจ และต่อมาก็ขยายไปถึงการพัฒนาสังคม
พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโต 2540 : 1) กล่าวว่า ชีวิตจะดีงามมีความสุข
ประเทศชาติจะรุ่งเรืองมั่นคง และสังคมจะร่มเย็นเกษมศานต์ด้วยปัจจัยสาคัญที่สุดคือ การ
พัฒนาคน ซึ่งจะทาให้คนเป็นคนดีมีความสุขและเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ
กล่าวโดยสรุปการศึกษาในฐานะเครื่องมือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มุ่งการ
จัดระบบประสบการณ์การเรียนรู้ การดาเนินการภายในเวลาที่จากัด เพื่อเพิ่มความสามารถ
ในการปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ประสบความสาเร็จ และการเจริญเติบโตของงาน การ
พัฒนามนุษย์
3. หลักสูตร
3.1 ความหมายของ หลักสูตร แนวความคิดเกี่ยวกับความหมายของหลักสูตร
เพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนยิ่งขึ้นได้ดังนี้
3.1.1. หลักสูตรในฐานะที่เป็นวิชาและเนื้อหาสาระที่จัดให้แก่
ผู้เรียน นี้ แนวคิดที่สาคัญของความหมายของหลักสูตรก็ยังคงเป็นวิชาและเนื้อหาวิชาที่
ครูสอนให้ และนักเรียนใช้เรียนในสถาบันการศึกษาในระดับต่างๆ
3.1.2. หลักสูตรในฐานะที่เป็นเอกสารหลักสูตร เอกสารที่อธิบาย
เพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดต่างๆ ของหลักสูตรเพื่อให้การนาหลักสูตรไปใช้ได้ผลตาม
ความมุ่งหมาย ตัวอย่างเอกสารประกอบหลักสูตรได้แก่ คู่มือหลักสูตร คู่มือครูเกี่ยวกับ
หลักสูตร แผนการสอนกลุ่มวิชาต่างๆ หรือคู่มือการประเมินผลการเรียน
3.1.3. หลักสูตรในฐานะที่เป็นกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะให้แก่ผู้เรียน
เป็นกิจกรรมต่างๆ ที่จัดให้แก่ผู้เรียนนี้เป็นการมองหลักสูตรในลักษณะของกิจกรรม
ต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ประสบการณ์ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่กาหนด
3.1.4. หลักสูตรในฐานะแผนสาหรับจัดโอกาสการเรียนรู้หรือประสบการณ์ที่
คาดหวังแก่นักเรียน จะเป็นแผนในการจัดการศึกษาเพื่อแนวทางให้ผู้ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติ
โดยมุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ และพฤติกรรมตามที่กาหนด แผนสาหรับจัด
โอกาสทางการศึกษาจะแสดงเกี่ยวกับจุดหมายหรือจุดประสงค์ของการออกแบบ
หลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้และการประเมินผล
3.1.5. หลักสูตรในฐานะที่เป็นมวลประสบการณ์ หลักสูตรตามแนวคิดนี้
ครอบคลุมความรู้และประสบการณ์ทุกอย่างที่อยู่ในความรับผิดชอบโรงเรียนที่จัดให้แก่
ผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้
3.1.6. หลักสูตรในฐานะที่เป็นจุดหมายปลายทาง นั้น เป็นสิ่งที่สังคมมุ่งหวัง
หรือคาดหวังให้เด็กได้รับ กล่าวคือ ผู้ที่ศึกษาจนจบหลักสูตรไปแล้วจะมีคุณลักษณะ
อย่างไรบ้างจะเกิดผลอย่างไรในตัวผู้เรียนบ้าง
3.1.7. หลักสูตรในฐานะที่เป็นระบบการเรียนการสอนและ
กิจกรรมการเรียนการสอน เป็นการมองหลักสูตรในฐานะที่เป็นแผนการเตรียมโอกาส
ของการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนที่จัดขึ้นโดยโรงเรียน หรือสถาบันการศึกษาที่รับผิดชอบ
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ เป็นการคาดการณ์ล่วงหน้าโดยรวมเอาแผนย่อยๆ ที่
เป็นโอกาสของการเรียนรู้ที่คาดหวังเข้าไว้ด้วยกัน
3.2 คุณสมบัติของหลักสูตร
คุณสมบัติของหลักสูตร หมายถึง ธรรมชาติหรือลักษณะของหลักสูตรว่า
เป็นอย่างไรซึ่งอาจหมายรวมถึงข้อตกลงหรือข้อยอมรับเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ของหลักสูตร
คุณสมบัติหรือกฎเกณฑ์ของหลักสูตรมีดังนี้
3.2.1. หลักสูตรมีลักษณะเป็นพลวัต (Dynamis) และเปลี่ยนไป
ตามความต้องการและความเปลี่ยนแปลงของสังคมอยู่เสมอ คุณสมบัติข้อนี้แสดงว่า
ประสบการณ์และกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดให้แก่ผู้เรียนจะไม่ซ้าเหมือนเดิม แต่จะ
เปลี่ยนแปลงและเพิ่มอยู่เสมอ
3.2.2. การพัฒนาหลักสูตรเป็นการพัฒนาต่อเนื่อง คุณสมบัติข้อนี้มีลักษณะ
ใกล้เคียงและเสริมข้อแรกคือ หลักสูตรมีการเปลี่ยนต่อเนื่องกันไปตามความต้องการของ
สังคมที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เพราะฉะนั้นกระบวนการพัฒนาหลักสูตรเป็น
กระบวนการที่ต่อเนื่องเป็นวัฏจักรในกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่มีการเปลี่ยนแปลง
รวมอยู่ด้วย หลักสูตรเป็นสิ่งที่ควรได้รับการปรับปรุงแก้ไขอยู่เสมอ
3.2.3. หลักสูตรไม่สามารถแสดงกิจกรรมหรือกระทากิจกรรมต่างๆ ตัวของมัน
เองได้จึงจาเป็นต้องใช้กิจกรรมหรือการกระทาอย่างอื่นมาช่วย เช่น การพัฒนาหลักสูตร
การจัดทาหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตร การสร้างหลักสูตร เพราะฉะนั้นหลักสูตรจึงทา
หน้าที่เป็นผู้กระทาอยู่ตลอดเวลา
3.3 ความสาคัญของหลักสูตร สาคัญของหลักสูตร พอสรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้
1. หลักสูตรเป็นเสมือนเบ้าหลอมพลเมืองให้มีคุณภาพ
2. หลักสูตรเป็นมาตรฐานของการจัดการศึกษา
3. หลักสูตรเป็นโครงการและแนวทางในการให้การจัดการศึกษา
4. ในระดับโรงเรียนหลักสูตรจะให้แนวการปฏิบัติแก่ครู
5. หลักสูตรแนวทางในการส่งเสริมความเจริญงอกงามและพัฒนาการของ
เด็กตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา
6. หลักสูตรเป็นเครื่องกาหนดแนวทางในการจัดประสบการณ์ว่า ผู้เรียนและ
สังคมควรจะได้รับสิ่งใดบ้างที่จะเป็นประโยชน์แก่เด็กโดยตรง
7. หลักสูตรเป็นเครื่องกาหนดว่า เนื้อหาวิชาอะไรบ้างที่จะช่วยให้เด็กมีชีวิต
อยู่ในสังคมอย่างราบรื่น เป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติ และบาเพ็ญตนให้เป็น
ประโยชน์แก่สังคม
8. หลักสูตรเป็นเครื่องกาหนดว่า วิธีการดาเนินชีวิตของเด็กให้เป็นไปด้วย
ความราบรื่นและผาสุกเป็นอย่างไร
9. หลักสูตรย่อมทานายลักษณะของสังคมในอนาคตว่าจะเป็นอย่างไร
10. หลักสูตรกาหนดแนวทางความรู้ ความสามารถ ความประพฤติ ทักษะ
และเจตคติของผู้เรียนที่จะอยู่ร่วมกันในสังคมและบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชน
และชาติบ้านเมือง
3.4 องค์ประกอบของหลักสูตร (Curriculum Component) องค์ประกอบที่
สาคัญคือ
3.4.1. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร (Curriculum Aims)
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร หมายถึง ความตั้งใจหรือความคาดหวังที่ต้องการ
ให้เกิดขึ้นในตัวผู้ที่จะผ่านหลักสูตรจุดมุ่งหมายของหลักสูตรมีความสาคัญเพราะเป็น
ตัวกาหนดทิศทางและขอบเขตในการศึกษาแก่เด็กช่วยในการเลือกเนื้อหาและกิจกรรม
ตลอดจนใช้เป็นมาตรการอย่างหนึ่งในการประเมินผล
3.4.2. เนื้อหา (Content)
เมื่อกาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแล้ว กิจกรรมขึ้นต่อไปนี้
การเลือกเนื้อหาประสบการณ์การเรียนรู้ต่างๆ ที่คาดว่าจะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาไปสู่
จุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ โดยดาเนินการตั้งแต่การเลือกเนื้อหาสาระและประสบการณ์
การเรียงลาดับเนื้อหาสาระ พร้อมทั้งการกาหนดเวลาเรียนที่เหมาะสม
3.4.3. การนาหลักสูตรไปใช้ (Curriculum implementation)
เป็นการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่นการ
จัดทาวัสดุหลักสูตร ได้แก่ คู่มือครู เอกสารหลักสูตร แผนการสอน แนวการสอน
และแบบเรียน เป็นต้น
3.4.4. การประเมินผลหลักสูตร (Evaluation)
การประเมินผลหลักสูตร คือ การหาคาตอบว่า หลักสูตรสัมฤทธิ์ผลตามที่
กาหนดในจุดมุ่งหมายหรือไม่ มากน้อยเพียงใด และอะไรเป็นสาเหตุ
3.5 ลักษณะของหลักสูตรที่ดี
1) ตรงตามความมุ่งหมายของการศึกษา
2) ตรงตามลักษณะของพัฒนาการของเด็กในวัยต่างๆ
3) ตรงตามลักษณะวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีเอกลักษณ์ของ
ชาติ
4.)มีเนื้อหาสาระเรื่องที่สอนเพียงพอที่จะช่วยให้นักเรียนคิดเป็นและมี
พัฒนาในการทุกด้าน
5) สอดคล้องกับชีวิตประจาวันของผู้เรียนคือ จัดวิชาทักษะ และวิชา
เนื้อหาให้เหมาะสมกันในที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเจริญงอกงามทุกด้าน
6) หลักสูตรที่ดีควรสาเร็จขึ้นด้วยความร่วมมือของทุกฝ่าย เพื่อจะให้
ผลดีควรจัดให้เป็นคณะกรรมการ
7) หลักสูตรที่ดีจะต้องให้นักเรียนได้เรียนรู้ต่อไป และจะต้อง
เรียงลาดับความยากง่ายไม่ให้ขาดตอนจากกัน
8) หลักสูตรที่ดีจะต้องเป็นประสบการณ์ที่เกี่ยวกับชีวิตประจาวันของเด็ก
เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสแก้ปัญหาต่างๆ ในชีวิต เพื่อให้เป็นอยู่อย่างผาสุก
9) หลักสูตรที่ดีจะต้องเพิ่มพูนและส่งเสริมทักษะเบื้องต้นที่จาเป็นของเด็ก
10) หลักสูตรที่ดีย่อมส่งเสริมให้เด็กเกิดความรู้ ทักษะ เจตคติ ความคิด
ริเริ่ม มีความคิดสร้างสรรค์ในการดาเนินชีวิต
11) หลักสูตรที่ดีจะต้องส่งเสริมให้เด็กทางานเป็นอิสระ และทางาน
ร่วมกันเป็นหมู่คณะเพื่อพัฒนาให้รู้จักการอยู่ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตย
12) หลักสูตรที่ดีย่อมบอกแนวทาง วิธีสอน และสื่ออุปกรณ์ประกอบ
เนื้อหาสาระที่สอนไว้อย่างเหมาะสม
13) หลักสูตรที่ดีย่อมมีการประเมินผลอยู่ตลอดเวลา เพื่อทราบ
ข้อบกพร่องในการที่จะนาไปปรับปรุงให้ดียิ่งๆ ขึ้นไป
14) หลักสูตรที่ดีจะต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กเกิดความรู้ ความเข้าใจ
และมีโอกาสแก้ปัญหาต่างๆ โดยเฉพาะปัญหาครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ
15) หลักสูตรที่ดีต้องส่งเสริมให้เด็กรู้จักแก้ปัญหา
16) หลักสูตรที่ดีต้องจัดประสบการณ์ที่มีความหมายต่อชีวิตของเด็ก
17) หลักสูตรที่ดีต้องจัดประสบการณ์และกิจกรรมหลายๆ อย่าง เพื่อเปิด
โอกาสให้เด็กได้เลือกอย่างเหมาะสมตามความสนใจ ความต้องการ และ
ความสามารถของแต่ละบุคคล
18) หลักสูตรที่ดีจะต้องวางกฎเกณฑ์ไว้อย่างเหมาะสมแก่การนาไป
ปฏิบัติและสะดวกแก่การวัดและประเมินผล

More Related Content

Similar to บทที่ 1

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Dook dik
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1parkpoom11z
 
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรPateemoh254
 
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์guest897da
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมSup's Tueng
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมSup's Tueng
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012gam030
 

Similar to บทที่ 1 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
 
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 

More from Theerayut Ponman (20)

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

บทที่ 1

  • 2. มโนทัศน์(Concept) การศึกษาเป็นการพัฒนามนุษย์ผ่านกระบวนการสั่งสอน กระบวนการฝึกอบรม หรือกระบวนการถ่ายทอดความรู้ ความชานาญ และทัศนคติที่รวมเรียกว่าประสบการณ์ ซึ่ง มนุษย์เป็นผู้จัดและถ่ายทอดให้แก่กัน หมายรวมถึงวัฒนธรรมหรือวิธีทางแห่งการดารงชีวิต ของมนุษย์ทั้งที่มองเห็นได้ชัดเจนและไม่มองเห็น ผลการเรียนรู้(Learning Outcome) 1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษากับหลักสูตร 2. อธิบายและนิยาม /ความหมาย : การพัฒนาหลักสูตร
  • 3. สาระเนื้อหา(Content) 1. การศึกษาในฐานะเครื่องมือการพัฒนา การศึกษามีลักษณะสาคัญ 3 ประการ คือ 1.การศึกษาเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลให้เป็นไป ในแนวทางที่ปรารถนา 2.การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนี้เป็นไปโดยจงใจ โดยมีการกาหนด จุดมุ่งหมายซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสูงสุดไว้ 3.การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนี้กระทาเป็นระบบ มีกระบวนการ อันเหมาะสมและผ่านสถาบันทางสังคมที่ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่ด้าน การศึกษา
  • 4. 2. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต, 2539 : 2 - 4 ) กล่าวไว้ว่า ทรัพยากรมนุษย์เป็น คาที่เกิดมาไม่นานนัก (เกิดในช่วง ค.ศ. 1965 – 1970 คือ พ.ศ. 2508 – 2513) เป็นแนวคิดที่ เกิดขึ้นในช่วงที่เน้นเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจ และต่อมาก็ขยายไปถึงการพัฒนาสังคม พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโต 2540 : 1) กล่าวว่า ชีวิตจะดีงามมีความสุข ประเทศชาติจะรุ่งเรืองมั่นคง และสังคมจะร่มเย็นเกษมศานต์ด้วยปัจจัยสาคัญที่สุดคือ การ พัฒนาคน ซึ่งจะทาให้คนเป็นคนดีมีความสุขและเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ กล่าวโดยสรุปการศึกษาในฐานะเครื่องมือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มุ่งการ จัดระบบประสบการณ์การเรียนรู้ การดาเนินการภายในเวลาที่จากัด เพื่อเพิ่มความสามารถ ในการปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ประสบความสาเร็จ และการเจริญเติบโตของงาน การ พัฒนามนุษย์
  • 5. 3. หลักสูตร 3.1 ความหมายของ หลักสูตร แนวความคิดเกี่ยวกับความหมายของหลักสูตร เพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนยิ่งขึ้นได้ดังนี้ 3.1.1. หลักสูตรในฐานะที่เป็นวิชาและเนื้อหาสาระที่จัดให้แก่ ผู้เรียน นี้ แนวคิดที่สาคัญของความหมายของหลักสูตรก็ยังคงเป็นวิชาและเนื้อหาวิชาที่ ครูสอนให้ และนักเรียนใช้เรียนในสถาบันการศึกษาในระดับต่างๆ 3.1.2. หลักสูตรในฐานะที่เป็นเอกสารหลักสูตร เอกสารที่อธิบาย เพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดต่างๆ ของหลักสูตรเพื่อให้การนาหลักสูตรไปใช้ได้ผลตาม ความมุ่งหมาย ตัวอย่างเอกสารประกอบหลักสูตรได้แก่ คู่มือหลักสูตร คู่มือครูเกี่ยวกับ หลักสูตร แผนการสอนกลุ่มวิชาต่างๆ หรือคู่มือการประเมินผลการเรียน 3.1.3. หลักสูตรในฐานะที่เป็นกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะให้แก่ผู้เรียน เป็นกิจกรรมต่างๆ ที่จัดให้แก่ผู้เรียนนี้เป็นการมองหลักสูตรในลักษณะของกิจกรรม ต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ประสบการณ์ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่กาหนด
  • 6. 3.1.4. หลักสูตรในฐานะแผนสาหรับจัดโอกาสการเรียนรู้หรือประสบการณ์ที่ คาดหวังแก่นักเรียน จะเป็นแผนในการจัดการศึกษาเพื่อแนวทางให้ผู้ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติ โดยมุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ และพฤติกรรมตามที่กาหนด แผนสาหรับจัด โอกาสทางการศึกษาจะแสดงเกี่ยวกับจุดหมายหรือจุดประสงค์ของการออกแบบ หลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้และการประเมินผล 3.1.5. หลักสูตรในฐานะที่เป็นมวลประสบการณ์ หลักสูตรตามแนวคิดนี้ ครอบคลุมความรู้และประสบการณ์ทุกอย่างที่อยู่ในความรับผิดชอบโรงเรียนที่จัดให้แก่ ผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ 3.1.6. หลักสูตรในฐานะที่เป็นจุดหมายปลายทาง นั้น เป็นสิ่งที่สังคมมุ่งหวัง หรือคาดหวังให้เด็กได้รับ กล่าวคือ ผู้ที่ศึกษาจนจบหลักสูตรไปแล้วจะมีคุณลักษณะ อย่างไรบ้างจะเกิดผลอย่างไรในตัวผู้เรียนบ้าง
  • 7. 3.1.7. หลักสูตรในฐานะที่เป็นระบบการเรียนการสอนและ กิจกรรมการเรียนการสอน เป็นการมองหลักสูตรในฐานะที่เป็นแผนการเตรียมโอกาส ของการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนที่จัดขึ้นโดยโรงเรียน หรือสถาบันการศึกษาที่รับผิดชอบ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ เป็นการคาดการณ์ล่วงหน้าโดยรวมเอาแผนย่อยๆ ที่ เป็นโอกาสของการเรียนรู้ที่คาดหวังเข้าไว้ด้วยกัน 3.2 คุณสมบัติของหลักสูตร คุณสมบัติของหลักสูตร หมายถึง ธรรมชาติหรือลักษณะของหลักสูตรว่า เป็นอย่างไรซึ่งอาจหมายรวมถึงข้อตกลงหรือข้อยอมรับเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ของหลักสูตร คุณสมบัติหรือกฎเกณฑ์ของหลักสูตรมีดังนี้ 3.2.1. หลักสูตรมีลักษณะเป็นพลวัต (Dynamis) และเปลี่ยนไป ตามความต้องการและความเปลี่ยนแปลงของสังคมอยู่เสมอ คุณสมบัติข้อนี้แสดงว่า ประสบการณ์และกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดให้แก่ผู้เรียนจะไม่ซ้าเหมือนเดิม แต่จะ เปลี่ยนแปลงและเพิ่มอยู่เสมอ
  • 8. 3.2.2. การพัฒนาหลักสูตรเป็นการพัฒนาต่อเนื่อง คุณสมบัติข้อนี้มีลักษณะ ใกล้เคียงและเสริมข้อแรกคือ หลักสูตรมีการเปลี่ยนต่อเนื่องกันไปตามความต้องการของ สังคมที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เพราะฉะนั้นกระบวนการพัฒนาหลักสูตรเป็น กระบวนการที่ต่อเนื่องเป็นวัฏจักรในกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่มีการเปลี่ยนแปลง รวมอยู่ด้วย หลักสูตรเป็นสิ่งที่ควรได้รับการปรับปรุงแก้ไขอยู่เสมอ 3.2.3. หลักสูตรไม่สามารถแสดงกิจกรรมหรือกระทากิจกรรมต่างๆ ตัวของมัน เองได้จึงจาเป็นต้องใช้กิจกรรมหรือการกระทาอย่างอื่นมาช่วย เช่น การพัฒนาหลักสูตร การจัดทาหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตร การสร้างหลักสูตร เพราะฉะนั้นหลักสูตรจึงทา หน้าที่เป็นผู้กระทาอยู่ตลอดเวลา
  • 9. 3.3 ความสาคัญของหลักสูตร สาคัญของหลักสูตร พอสรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1. หลักสูตรเป็นเสมือนเบ้าหลอมพลเมืองให้มีคุณภาพ 2. หลักสูตรเป็นมาตรฐานของการจัดการศึกษา 3. หลักสูตรเป็นโครงการและแนวทางในการให้การจัดการศึกษา 4. ในระดับโรงเรียนหลักสูตรจะให้แนวการปฏิบัติแก่ครู 5. หลักสูตรแนวทางในการส่งเสริมความเจริญงอกงามและพัฒนาการของ เด็กตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา 6. หลักสูตรเป็นเครื่องกาหนดแนวทางในการจัดประสบการณ์ว่า ผู้เรียนและ สังคมควรจะได้รับสิ่งใดบ้างที่จะเป็นประโยชน์แก่เด็กโดยตรง 7. หลักสูตรเป็นเครื่องกาหนดว่า เนื้อหาวิชาอะไรบ้างที่จะช่วยให้เด็กมีชีวิต อยู่ในสังคมอย่างราบรื่น เป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติ และบาเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์แก่สังคม
  • 10. 8. หลักสูตรเป็นเครื่องกาหนดว่า วิธีการดาเนินชีวิตของเด็กให้เป็นไปด้วย ความราบรื่นและผาสุกเป็นอย่างไร 9. หลักสูตรย่อมทานายลักษณะของสังคมในอนาคตว่าจะเป็นอย่างไร 10. หลักสูตรกาหนดแนวทางความรู้ ความสามารถ ความประพฤติ ทักษะ และเจตคติของผู้เรียนที่จะอยู่ร่วมกันในสังคมและบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชน และชาติบ้านเมือง 3.4 องค์ประกอบของหลักสูตร (Curriculum Component) องค์ประกอบที่ สาคัญคือ 3.4.1. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร (Curriculum Aims) จุดมุ่งหมายของหลักสูตร หมายถึง ความตั้งใจหรือความคาดหวังที่ต้องการ ให้เกิดขึ้นในตัวผู้ที่จะผ่านหลักสูตรจุดมุ่งหมายของหลักสูตรมีความสาคัญเพราะเป็น ตัวกาหนดทิศทางและขอบเขตในการศึกษาแก่เด็กช่วยในการเลือกเนื้อหาและกิจกรรม ตลอดจนใช้เป็นมาตรการอย่างหนึ่งในการประเมินผล
  • 11. 3.4.2. เนื้อหา (Content) เมื่อกาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแล้ว กิจกรรมขึ้นต่อไปนี้ การเลือกเนื้อหาประสบการณ์การเรียนรู้ต่างๆ ที่คาดว่าจะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาไปสู่ จุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ โดยดาเนินการตั้งแต่การเลือกเนื้อหาสาระและประสบการณ์ การเรียงลาดับเนื้อหาสาระ พร้อมทั้งการกาหนดเวลาเรียนที่เหมาะสม 3.4.3. การนาหลักสูตรไปใช้ (Curriculum implementation) เป็นการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่นการ จัดทาวัสดุหลักสูตร ได้แก่ คู่มือครู เอกสารหลักสูตร แผนการสอน แนวการสอน และแบบเรียน เป็นต้น 3.4.4. การประเมินผลหลักสูตร (Evaluation) การประเมินผลหลักสูตร คือ การหาคาตอบว่า หลักสูตรสัมฤทธิ์ผลตามที่ กาหนดในจุดมุ่งหมายหรือไม่ มากน้อยเพียงใด และอะไรเป็นสาเหตุ
  • 12. 3.5 ลักษณะของหลักสูตรที่ดี 1) ตรงตามความมุ่งหมายของการศึกษา 2) ตรงตามลักษณะของพัฒนาการของเด็กในวัยต่างๆ 3) ตรงตามลักษณะวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีเอกลักษณ์ของ ชาติ 4.)มีเนื้อหาสาระเรื่องที่สอนเพียงพอที่จะช่วยให้นักเรียนคิดเป็นและมี พัฒนาในการทุกด้าน 5) สอดคล้องกับชีวิตประจาวันของผู้เรียนคือ จัดวิชาทักษะ และวิชา เนื้อหาให้เหมาะสมกันในที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเจริญงอกงามทุกด้าน 6) หลักสูตรที่ดีควรสาเร็จขึ้นด้วยความร่วมมือของทุกฝ่าย เพื่อจะให้ ผลดีควรจัดให้เป็นคณะกรรมการ 7) หลักสูตรที่ดีจะต้องให้นักเรียนได้เรียนรู้ต่อไป และจะต้อง เรียงลาดับความยากง่ายไม่ให้ขาดตอนจากกัน
  • 13. 8) หลักสูตรที่ดีจะต้องเป็นประสบการณ์ที่เกี่ยวกับชีวิตประจาวันของเด็ก เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสแก้ปัญหาต่างๆ ในชีวิต เพื่อให้เป็นอยู่อย่างผาสุก 9) หลักสูตรที่ดีจะต้องเพิ่มพูนและส่งเสริมทักษะเบื้องต้นที่จาเป็นของเด็ก 10) หลักสูตรที่ดีย่อมส่งเสริมให้เด็กเกิดความรู้ ทักษะ เจตคติ ความคิด ริเริ่ม มีความคิดสร้างสรรค์ในการดาเนินชีวิต 11) หลักสูตรที่ดีจะต้องส่งเสริมให้เด็กทางานเป็นอิสระ และทางาน ร่วมกันเป็นหมู่คณะเพื่อพัฒนาให้รู้จักการอยู่ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตย 12) หลักสูตรที่ดีย่อมบอกแนวทาง วิธีสอน และสื่ออุปกรณ์ประกอบ เนื้อหาสาระที่สอนไว้อย่างเหมาะสม 13) หลักสูตรที่ดีย่อมมีการประเมินผลอยู่ตลอดเวลา เพื่อทราบ ข้อบกพร่องในการที่จะนาไปปรับปรุงให้ดียิ่งๆ ขึ้นไป
  • 14. 14) หลักสูตรที่ดีจะต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กเกิดความรู้ ความเข้าใจ และมีโอกาสแก้ปัญหาต่างๆ โดยเฉพาะปัญหาครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ 15) หลักสูตรที่ดีต้องส่งเสริมให้เด็กรู้จักแก้ปัญหา 16) หลักสูตรที่ดีต้องจัดประสบการณ์ที่มีความหมายต่อชีวิตของเด็ก 17) หลักสูตรที่ดีต้องจัดประสบการณ์และกิจกรรมหลายๆ อย่าง เพื่อเปิด โอกาสให้เด็กได้เลือกอย่างเหมาะสมตามความสนใจ ความต้องการ และ ความสามารถของแต่ละบุคคล 18) หลักสูตรที่ดีจะต้องวางกฎเกณฑ์ไว้อย่างเหมาะสมแก่การนาไป ปฏิบัติและสะดวกแก่การวัดและประเมินผล