SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
Download to read offline
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 1
ความประพฤติและการปฏิบัติตามวิชาชีพครู
คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายของ
"คุณธรรม" คือ" สภาพคุณงามความดี )เน้นความรู้สึก จิตใจ( "
กรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม 5 ประการ ที่ต้องช่วยกันปลูกฝังให้แก่ผู้บริหาร ครู และ
นักเรียน
1( ความพอเพียง
2( ความกตัญญู
3( ความซื่อสัตย์สุจริต
4( ความรับผิดชอบ
5( อุดมการณ์คุณธรรม
ตัวชี้วัดโรงเรียนคุณธรรม มี 7 ข้อ ดังนี้
1. มีกระบวนการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมโรงเรียน
2. มีกลไกคณะทางานและใช้โครงงานคุณธรรมเป็นเครื่องมือที่ทุกคนมีส่วนร่วมใน
การลงมือปฏิบัติเพื่อพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม
3. พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ในโรงเรียนเพิ่มขึ้น
4. พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ในโรงเรียนลดลง
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 2
คุณธรรมสาหรับครู
5. เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนา คุณธรรม จริยธรรมในโรงเรียนจากทุก
ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหารโรงเรียน ครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน
6. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม การสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม และการบูรณาการกับ
การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
7. เป็นแหล่งเรียนรู้ของโรงเรียนคุณธรรม
ความสาคัญของครู
ในทางพุทธศาสนายกย่องครูว่าเป็น" ปูชนียบุคคล" เป็นผู้กระทาหน้าที่ เป็นผู้นาทางจิต
วิญญาณมนุษย์ ซึ่งสอดคล้องลักษณะของผู้จะมาเป็นครูของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ .
ศ
. 2560 เป็นผู้ที่ยกระดับจิตวิญญาณของมนุษย์ให้สูงขึ้น เป็นกัลยาณมิตร เป็นแบบอย่างของศิษย์
เป็นพ่อแม่คนที่สองของศิษย์ ครูจึงต้องได้รับการศึกษาอบรม ปลูกฝัง เสริมสร้างจิตสานึกให้เกิดความ
รักความศรัทธาในวิชาชีพครูด้วยความจริงใจและกระทาตนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ให้เป็นคนที่มีจิตใจ
สูง เจริญด้วยคุณธรรม ดังนี้
คุณธรรมสาหรับครูในฐานะเป็นกัลยาณมิตร
คุณธรรมสาหรับครูในฐานะเป็นกัลยาณมิตร เรียกว่า
กัลยาณธรรม 8 เป็นธรรมะสาหรับครู ช่วยส่งเสริมการดาเนินชีวิตของครูให้มีแต่ความสุข
ความเจริญ ข้อพึงปฏิบัติมีดังนี้
1 ศรัทธา หมายถึง การเชื่อกรรม และผลของกรรม
2 ศีล หมายถึง การประพฤติหรือกระทาที่เป็นปกติวิสัย
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 3
3 สุตะ หมายถึง การมุ่งฟังตั้งใจใฝ่ศึกษา
4 จาคะ หมายถึง การตั้งหน้าแบ่งปันเสียสละ
5 วิริยะ หมายถึง การพากเพียรด้วยใจชอบ
6 สติ หมายถึง การรู้รอบไม่เพ้อเจ้อ
7 สมาธิ หมายถึง การตั้งใจมั่นไม่หวั่นไหว
8 ปัญญา หมายถึง การรู้แจ้งกว้างไกล ลึกซึ้ง
กัลยาณมิตร 7 (
ปฏิบัติต่อศิษย์
)
1.ปิโยคือ น่าชื่นชม
2.ครุ คือ หนักแน่น น่าเคารพ
3.ภาวะนีโย คือ น่าเจริญใจ
4.วัตตา คือ พูดได้มีเหตุผล
5.วะจะนักขะโม คือ อดทนต่อถ้อยคา
6.คัมภีรัญจะ กะถัง กัตตา คือ แถลงเรื่องล้าลึกได้
7.โน จัฏฐาเน นิโยชะเย คือ ไม่ชักนาไปในทางที่เสื่อม
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 4
คุณธรรมสาหรับครูตามธรรมะอันเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจกัน
คุณธรรมสาหรับครูตามธรรมะอันเป็นที่ตั้งแห่งการสังเคราะห์ ได้แก่
สังคหวัตถุ 4 ประการ เพื่อเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจให้สะอาดสดใจ ข้อพึงปฏิบัติมีดังนี้
1 ทาน คือการให้
2 ปิยวาจา คือ การเจรจาด้วยถ้อยคาที่ไพเราะ สุภาพ
3 อัตถจริยา คือ การกระทาสิ่งที่เป็นประโยชน์กับผู้อื่น
4 สมานัตตตา คือ การทาตนเป็นกันเองไม่ถือตัว
....แนวข้อสอบ...
ครูที่สามารถอธิบายเนื้อหาที่สอนได้อย่างมีเหตุผล ตรงกับข้อใด
ก. ปิโย ข. ภาวะนีโย
ค.วัตตา ง. วะจะนักขะโม
เฉลย ค. วัตตา
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 5
คุณธรรมสาหรับการครองเรือนของครู (
อยู่ที่บ้าน
)
หลักธรรมะสาหรับการครองเรือน ได้แก่
ฆราวาสธรรม 4 ข้อ พึงปฏิบัติมีดังนี้
1 สัจจะ คือ ความซื่อสัตย์ ความซื่อตรง ความจริงใจ
2 ทมะ คือ การข่มใจ ปรับปรุงตัว ฝึกฝนให้ติดเป็นนิสัย
3 ขันติ คือ ความอดทน อดกลั้น ไม่หวั่นไหว ท้อถอย
4 จาคะ คือ ความเสียสละ พร้อมที่จะร่วมมือช่วยเหลือเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
คุณธรรมสาหรับครูตามธรรมะสาหรับปกครองชั้นเรียน (
อยู่ในโรงเรียน
)
ครูพึงยึดหลักคุณธรรม ได้แก่ พรหมวิหาร 4 อันเป็นธรรมะสาหรับผู้ปกครอง มีดังนี้
1 เมตตา คือ ความรัก ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
2 กรุณา คือ ความสงสารเห็นอกเห็นใจ
3 มุทิตา คือ ความยินดี ความเบิกบานใจ
4 อุเบกขา คือ ความวางเฉย วางตัวเป็นกลาง
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 6
ทศพิธราชธรรม คือ ธรรมสาหรับพระมหากษัตริย์ พึงทรงปฏิบัติเพื่อให้บ้านเมืองสงบสุข ได้แก่
1. ทาน คือ การบริจาคสิ่งของต่างๆ ให้แก่ผู้ตกทุกข์ได้ยากที่สมควรได้รับการช่วยเหลือ
2. ศีล คือ ทรงรักษาความสุจริต ประพฤติดีงามทั้งกาย วาจา ใจ
3. บริจาค คือ ทรงบาเพ็ญด้วยการเสียสละความสุขส่วนพระองค์
4. อาชวะ คือ มีความซื่อสัตย์สุจริต
5. มัทวะ คือ มีพระราชอัธยาศัยอ่อนโยน ไม่ดื้อดึง ด้วยทิฐิมานะ
6. ตะบะ คือ มีจิตอยู่ในสมาธิ ไม่วิตกฟุ้งซ่าน
7. อักโกธะ คือ การไม่ถือเอาความโกรธเป็นเจ้าเรือนแห่งตน
8. อวิหิงสา คือ การไม่เบียดเบียนประชาชนให้ได้รับความเดือดร้อน
9. ขันติ คือ มีความอดทนในสิ่งที่ควรอดทน
10.อวิโรธนะ คือ การรักษาความยุติธรรมเป็นที่ตั้ง
หลักธรรมสาหรับครูเพื่อให้ทางานให้สาเร็จ
อิทธิบาท 4 คือ หลักธรรมแห่งความสาเร็จ
1.ฉันทะ มีใจรัก คือ พอใจจะทาสิ่งนั้นและทาด้วยใจรัก
2.วิริยะ พากเพียรทา คือ ขยันหมั่นประกอบ หมั่นกระทาสิ่งนั้นด้วยความพยายาม
3.จิตตะ เอาจิตใจใฝ่ฝักใฝ่ คือ ตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่ทาและทาสิ่งนั้นด้วยความคิดไม่ฟุ้งซ่าน
4.วิมังสา ใช้ปัญญาสอบสวน คือ หมั่นใช้ปัญญาพิจารณาใคร่ควรตรวจตราหาเหตุผล
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 7
หลักธรรมที่ครูต้องเข้าใจอันแสดงถึงความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ
อริยสัจ 4 หมายถึง ความจริงอันประเสริฐ ได้แก่
1.ทุกข์ หมายถึง ความทุกข์ สภาพที่ทนได้ยาก เช่น ชรา มรณะ
2.สมุทัย หมายถึง เหตุเกิดแห่งทุกข์ ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา
3.นิโรธ หมายถึง ความดับทุกข์ได้แก่ ภาวะที่ตัณหาดับสิ้นไป ภาวะที่เข้าถึงเมื่อกาจัดอวิชชาไป
แล้ว (เทียบเท่ากับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน)
4.มรรค หมายถึง ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์(นิโรธ) (เทียบเท่ากับพันธกิจโรงเรียน)
มรรค มีองค์ 8 (มัชฌิมาปฏิปทาหรือ ทางสายกลาง )ประกอบด้วย
1.สัมมาทิฐิ คือ ความเข้าใจถูกต้อง
2.สัมมาสังกัปปะ คือ ความใฝ่ใจถูกต้อง
3.สัมมาวาจา คือ การพูดจาถูกต้อง
4.สัมมากัมมันตะ คือ การกระทาถูกต้อง
5.สัมมาอาชีวะ คือ การดารงชีพถูกต้อง
6.สัมมาวายามะ คือ ความพากเพียรถูกต้อง
7.สัมมาสติ คือ การระลึกประจาใจถูกต้อง
8.สัมมาสมาธิ คือ การตั้งใจมั่นถูกต้อง
สัปปุริสธรรม 7 คือ ธรรมของสัตบุรุษ ธรรมของคนดี บุคคลที่น่านับถือ
*** สอดคล้องกับการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1.ธัมมัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักเหตุ
2.อัตถัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักผล
3.อัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักตน
4.มัตตัญญุตา ความเป็นผู้จักประมาณ
5.กาลัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักกาลเวลา
6.ปริสัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักชุมชน
7.ปุคคลัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักบุคคล
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 8
ทิศ 6 คือ บุคคล 6 ประเภทที่อยู่รอบตัวเรา ที่เราเกี่ยวข้องสัมพันธ์ทางสังคม
1.ปุรัตถิมทิส คือ ทิศเบื้องหน้า มารดา บิดา
2.ทักษิณทิส คือ ทิศเบื้องขวา ครู อาจารย์
3.ปัจฉิมทิส คือ ทิศเบื้องหลัง บุตร ภรรยา
4.อุตตรทิส คือ ทิศเบื้องซ้าย มิตร สหาย
5.เหฏฐิมทิส คือ ทิศเบื้องล่าง บ่าว คนใช้
6.อุปริมทิส คือ ทิศเบื้องบน พระสงฆ์
ความลาเอียงที่ครูพึงหลีกเลี่ยง 4 ประการ
อคติ 4 หมายถึง ความลาเอียง 4 ประการ
1.ฉันทาคติ หมายถึง การลาเอียงเพราะความรักใคร่พอใจ
2.โทสาคติ หมายถึง การลาเอียงเพราะความไม่ชอบ
3.โมหาคติ หมายถึง การลาเอียงเพราะความโง่เขลา ความไม่รู้
4.ภยาคติ หมายถึง การลาเอียงเพราะความกลัว
หิริโอตัปปะ คือ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป
หิริ หมายถึง ความละอายต่อการทาบาป ละอายต่อการทาชั่วทาเลวของตนเอง
โอตัปปะ หมายถึง ความเกรงกลัวต่อบาป ความเกรงกลัวผลของการกระทาบาป การกระทา
ชั่วของตนเอง
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 9
คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการของกระทรวงศึกษาธิการ
ครูต้องปลูกฝังให้กับผู้เรียนทุกคนของกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วย
  1.ขยัน
2.ประหยัด
3.ซื่อสัตย์
4.มีวินัย
5.สุภาพ
6.สะอาด
7.สามัคคี
8.มีน้าใจ
....แนวข้อสอบ...
ข้อใดเป็นหลักธรรมแห่งความสาเร็จ
ก.สังคหวัตถุ 4
ข.อริยสัจ 4
ค.อิทธิบาท 4
ง. มรรค 8
เฉลย ค.อิทธิบาท 4
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 10
วัฒนธรรมไทย
ตามพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ แบ่งวัฒนธรรมได้ 4 ประเภท
1. คติธรรม คือ วัฒนธรรมที่เกี่ยวกับหลักในการดาเนินชีวิต ส่วนใหญ่เป็นเรื่องของจิตใจ
ซึ่งได้เรียนรู้จากศาสนา เช่น ความกตัญญูกตเวที
2. เนติธรรม คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย รวมทั้งระเบียบประเพณีที่ยอมรับนับถือกันว่ามี
ความสาคัญ เช่นเดียวกับกฎหมาย
3. สหธรรม คือ วัฒนธรรมทางสังคมที่เกี่ยวกับหลักการปฏิบัติทางสังคม เช่น มารยาทใน
งานสังคมต่างๆ เช่น การกล่าวทักทาย "
สวัสดี
" การใช้ช้อนกลางในการรับประทานอาหาร
4. วัตถุธรรม คือ วัฒนธรรมทางวัตถุ ที่สามารถจับต้องได้ สัมผัสได้ เช่น บ้านเรือน อาหาร
เครื่องแต่งกาย เครื่องมือ เครื่องใช้ และเครื่องอานวยความสะดวก ปัจจัย 4 เป็นต้น
...แนวข้อสอบ...
การดูแลพ่อแม่ยามที่ท่านแก่เฒ่า ตรงกับวัฒนธรรมในข้อใด
ก.คติธรรม ข.เนติธรรม
ค.สหธรรม ง.วัตถุธรรม
เฉลย ก.คติธรรม
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 11
จริยธรรมสาหรับครู
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้คานิยามว่า
"จริยธรรม คือ ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ "
(
เน้นการลงมือปฏิบัติ
)
จริยธรรมและคุณธรรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ยากที่จะแยกคุณธรรมออกจาก
จริยธรรมได้ เพราะคุณธรรมเป็นธรรมะที่มีคุณค่าอยู่ในจิตใจของบุคคลและเมื่อบุคคลแสดงออกซึ่ง
ความประพฤติปฏิบัติตามคุณธรรมนั้น ย่อมเป็นที่ประจักษ์ในจริยธรรม และคุณธรรมเป็นความดีของ
ครู ส่วนจริยธรรมเป็นความงดงามของครู
ค่านิยมของข้าราชการไทย
ค่านิยม คือ สิ่งที่สังคมยึดถือว่ามีค่า พึงปรารถนา ต้องการให้เป็นเป้าหมายของสังคม
และปลูกฝังให้สมาชิกของสังคมยึดถือเป็นเป้าหมายในการดาเนินชีวิต หรือนาความสุขมาให้ มีทั้งเป็น
วัตถุและไม่เป็นวัตถุ
ค่านิยมเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาได้เช่นเดียวกันกับความเชื่อและมีความแตกต่างกันไป
ตามสังคมและวัฒนธรรม ค่านิยมส่วนใหญ่เกิดมาจากจากความเชื่อ
ค่านิยมเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมของมนุษย์ มีลักษณะที่ถ่ายทอดจากคน
รุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่งได้
"ค่านิยมของข้าราชการไทย”หมายถึง ระบบความคิด ความเชื่อ หรือการกระทาต่าง ๆ
ของข้าราชการ ซึ่งข้าราชการยึดถือหรือใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการ
พัฒนาประเทศ
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 12
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ได้กาหนดกรอบการปรับเปลี่ยนกระบวน
ทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมของระบบราชการ และพัฒนาข้าราชการ โดยมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือ
“I AM READY”
1. Integrity คือ ทางานอย่างมีศักดิ์ศรี ข้าราชการจะต้องมีจรรยาบรรณในวิชาชีพของตนมี
ความเสียสละ อุทิศตนในการทางาน มุ่งประโยชน์ส่วนรวม และที่สาคัญต้องมีความซื่อสัตย์สุจริตต่อ
หน้าที่การงาน ไม่ทุจริตคอรัปชั่น
2.Activeness คือ ขยันตั้งใจทางาน หรือเรียกว่าการปฏิบัติงานเชิงรุก ซึ่งข้าราชการจะต้อง
ปฏิบัติงานอย่างเต็มกาลังความสามารถและเป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้นอยู่ตลอดเวล
3.Morality คือ มีใจเป็นธรรม มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติราชการด้วยใจบริสุทธิ์และกุศล
เจตนาโดยข้าราชการจะต้องไม่เลือกปฏิบัติยึดหลักความเป็นธรรมและเสมอภาค รวมทั้ง คานึงถึง
ประโยชน์สาธารณะเป็นสาคัญ
4.Relevancy คือ มีการเรียนรู้และปรับตัว ให้ทันโลกทันปัญหาและสิ่งท้าทายต่างๆโดย
จะต้องมีการพัฒนาข้าราชการอย่างต่อเนื่องให้มีความเป็นเลิศในวิชาชีพ มีการนาความรู้และวิทยาการ
สมัยใหม่มาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อให้พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน หรือในความหมาย
โดยรวมก็คือ การสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้น
5.Efficiency คือ การทางานที่มุ่งเน้นประสิทธิภาพ ซึ่งแสดงให้เห็นจากการจัดการภายในที่
ดีของหน่วยงานทาให้ผลผลิตที่ได้มีมาตรฐาน ประหยัดทรัพยากรและเกิดความคุ้มค่า
6.Accountability คือการมีความรับผิดชอบต่อผลสาเร็จของงานและต่อสาธารณะ
ข้าราชการจะต้องตระหนักในความรับผิดชอบของตนพร้อมเสมอที่จะรับการตรวจสอบ ทั้งจากภายใน
และภายนอกหน่วยงาน โดยหน่วยงานจะต้องมีระบบการให้รางวัลและลงโทษที่มีประสิทธิภาพ
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 13
7.Democracy คือ มีใจและการกระทาที่เป็นประชาธิปไตย มีส่วนร่วม โปร่งใส โดย
จะต้องสร้างเครือข่ายในการทางาน ประสานสัมพันธ์กับทุกกลุ่มให้เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผน
การตัดสินใจในการปฏิบัติงาน
8. Yield คือ มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ และปฏิบัติงานโดยเน้นผลสัมฤทธิ์เป็นสาคัญ โดย
จะต้องตั้งเป้าหมายของการทางานแล้วปฏิบัติให้สาเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ รวมทั้งสามารถวัดและ
ประเมินผลงานได้
ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ:
1. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม
3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม
5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน
7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง
8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่
9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบัติตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
10. รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย และ
พร้อมที่จะขยายกิจการเมื่อมีความพร้อม เมื่อมีภูมิคุ้มกันที่ดี
11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่า หรือกิเลส มีความละอาย
เกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา
12. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 14
มาตรฐานวิชาชีพครู
คุรุสภา ดาเนินการตามอานาจหน้าที่ในการรับรองปริญญา ประกาศนียบัตรหรือวุฒิบัตรของ
สถาบันต่างๆ ตามมาตรฐานวิชาชีพ ตามที่กาหนดในมาตรา9 (7) แห่งพระราชบัญญัติสภาครูและ
บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 โดยออกประกาศคุรุสภา เรื่อง การรับรองปริญญาและ
ประกาศนียบัตรทางการศึกษาเพื่อการประกอบวิชาชีพ พ.ศ.2557
วิชาชีพควบคุมทางการศึกษา
1.วิชาชีพครู
2.วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
3.วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา
4.วิชาชีพควบคุมอื่นที่กาหนดตามกฎกระทรวง (ศึกษานิเทศก์)
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
คือ ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ และคุณภาพที่พึงประสงค์ในการประกอบวิชาชีพ
ทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตาม ประกอบด้วย 3
มาตรฐาน (อัพเดทตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒)
1. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
หมายความว่า “ข้อกาหนดเกี่ยวกับความรู้และประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ หรือการ
จัดการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษารวมทั้งผู้ต้องการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้อง
มีเพียงพอที่สามารถนาไปใช้ในการประกอบวิชาชีพได้”
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 15
- ผู้ประกอบวิชาชีพครู ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเท่าหรือมี
คุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีมาตรฐานความรู้และประสบการวิชาชีพ ดังต่อไปนี้
(ก) มาตรฐานความรู้ ต้องมีความรอบรู้และเข้าใจในเรื่อง ดังต่อไปนี้ )ครูต้องรู้ 6 รู้(
(1) การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลก สังคม และแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
(2) จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาให้คาปรึกษา
ในการวิเคราะห์และพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
(3) เนื้อหาวิชาที่สอน หลักสูตร ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยีดิจิทัล
ในการจัดการเรียนรู้
(4) การวัด ประเมินผลการเรียนรู้ และการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน
(5) การใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
เพื่อการศึกษา
(6) การออกแบบและการดาเนินการเกี่ยวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา
(ข) มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตร
ปริญญาทางการศึกษา เป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอนตาม
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด ดังต่อไปนี้
1) การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน
2) การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 16
2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน
หมายถึง ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ หรือการแสดงพฤติกรรมการปฏิบัติงานและ
การพัฒนางาน ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมทั้งผู้ต้องการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ต้องปฏิบัติตาม เพื่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายการเรียนรู้หรือการจัดการศึกษา รวมทั้ง
ต้องฝึกฝนพัฒนาตนเองให้มีทักษะ หรือความชานาญสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
- ผู้ประกอบวิชาชีพครู ต้องมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ) 3 ข้อ 15 งาน(
(ก) การปฏิบัติหน้าที่ครู
(1) มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียน ด้วยจิตวิญญาณความเป็นครู
(2) ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความเป็น
พลเมืองที่เข้มแข็ง
(3) ส่งเสริมการเรียนรู้ เอาใจใส่ และยอมรับความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละบุคคล
(4) สร้างแรงบันดาลใจผู้เรียนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ และผู้สร้างนวัตกรรม
(5) พัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลง
(ข) การจัดการเรียนรู้
(1) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ สื่อ การวัดและประเมินผล
การเรียนรู้
(2) บูรณาการความรู้และศาสตร์การสอนในการวางแผนและจัดการเรียนรู้
ที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิด และมีความเป็นนวัตกร
...แนวข้อสอบ...
ข้อใดคือมาตรฐานความรู้ของครู ตามที่คุรุสภากาหนด
ก.ปรัชญาการศึกษา ข.ภาษาและวัฒนธรรม
ค.การพัฒนาสมรรถนะ ง.การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลก สังคม
เฉลย ง.การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลก สังคม
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 17
(3) ดูแล ช่วยเหลือ และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามศักยภาพ สามารถ
รายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ
(4) จัดกิจกรรมและสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน
โดยตระหนักถึงสุขภาวะของผู้เรียน
(5) วิจัย สร้างนวัตกรรม และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์
ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
(6) ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพ
(ค) ความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน
(1) ร่วมมือกับผู้ปกครองในการพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์
(2) สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้
ที่มีคุณภาพของผู้เรียน
(3) ศึกษา เข้าถึงบริบทของชุมชน และสามารถอยู่ร่วมกันบนพื้นฐาน
ความแตกต่างทางวัฒนธรรม
(4) ส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
3. มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ)
หมายถึง จรรยาบรรณของวิชาชีพที่กาหนดขึ้นเป็นแบบแผนในการประพฤติตน ซึ่งผู้
ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบัติตาม เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียง และฐานะ
ของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นที่เชื่อถือศรัทธาแก่ผู้รับบริการและสังคม อันจะนามาซึ่ง
เกียรติและศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 18
...แนวข้อสอบ..
ข้อใดเป็น จรรยาบรรณของวิชาชีพครู
ก.มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
ข.มาตรฐานการปฏิบัติงาน
ค.มาตรฐานการปฏิบัติตน
ง.คุณธรรม จริยธรรมสาหรับครู
จรรยาบรรณวิชาชีพ 5 ข้อ
)1( จรรยาบรรณต่อตนเอง
)2( จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
)3( จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
)4( จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
)5( จรรยาบรรณต่อสังคม
จรรยาบรรณต่อตนเอง
๑. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ
บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
๒. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ
และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 19
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
๓. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจ
แก่ศิษย์และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า
๔. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่
ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ
๕. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา
และจิตใจ
๖. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย
สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์และผู้รับบริการ
๗. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่
เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ
จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
๘. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดย
ยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
จรรยาบรรณต่อสังคม
๙. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นาในการอนุรักษ์และ
พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของ
ส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 20
แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณวิชาชีพ สาหรับ "ครู"
จรรยาบรรณต่อตนเอง
๑. ครูต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทัน
ต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ โดยต้องประพฤติและละเว้นการ
ประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์***
(๑) ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและ
เป็นแบบอย่างที่ดี
(๒) ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการ
ดาเนินชีวิตตามประเพณีและวัฒนธรรมไทย
(๓) ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมาย ให้สาเร็จอย่างมี
คุณภาพตามเป้าหมายที่กาหนด
(๔) ศึกษา หาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง
พัฒนางาน และสะสมผลงานอย่างสม่าเสมอ
(๕) ค้นคว้า แสวงหา และนาเทคนิคด้าน
วิชาชีพ ที่พัฒนาและก้าวหน้าเป็นที่ยอมรับมาใช้
แก่ศิษย์และผู้รับบริการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่พึง
ประสงค์
(๑) เกี่ยวข้องกับอบายมุขหรือเสพสิ่งเสพติด
จนขาดสติหรือแสดงกิริยาไม่สุภาพเป็นที่น่า
รังเกียจในสังคม
(๒) ประพฤติผิดทางชู้สาวหรือมีพฤติกรรมล่วง
ละเมิดทางเพศ
(๓) ขาดความรับผิดชอบ ความกระตือรือร้น
ความเอาใจใส่ จนเกิดความเสียหายในการ
ปฏิบัติงานตามหน้าที่
(๔) ไม่รับรู้หรือไม่แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ใน
การ จัดการเรียนรู้ และการปฏิบัติหน้าที่
(๕) ขัดขวางการพัฒนาองค์การจนเกิดผล
เสียหาย
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 21
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
๒. ครูต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีของ
องค์กรวิชาชีพ โดยต้องประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์***
(๑) แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของ
วิชาชีพ
(๒) รักษาชื่อเสียงและปกป้องศักดิ์ศรีแห่ง
วิชาชีพ
(๓) ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานใน
วิชาชีพ ให้สาธารณชนรับรู้
(๔) อุทิศตนเพื่อความก้าวหน้าของวิชาชีพ
(๕) ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์
สุจริตตามกฎ ระเบียบ และแบบแผนของทาง
ราชการ
(๖) เลือกใช้หลักวิชาที่ถูกต้อง สร้างสรรค์
เทคนิค วิธีการใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาวิชาชีพ
(๗) ใช้องค์ความรู้หลากหลายในการปฏิบัติ
หน้าที่ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกใน
องค์การ
(๘) เข้าร่วมกิจกรรมของวิชาชีพหรือองค์กร
วิชาชีพอย่างสร้างสรรค์
(๑) ไม่แสดงความภาคภูมิใจในการประกอบ
วิชาชีพ
(๒) ดูหมิ่น เหยียดหยาม ให้ร้ายผู้ร่วม
ประกอบวิชาชีพ ศาสตร์ในวิชาชีพ หรือองค์กร
วิชาชีพ
(๓) ประกอบการงานอื่นที่ไม่เหมาะสมกับการ
เป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
(๔) ไม่ซื่อสัตย์สุจริต ไม่รับผิดชอบ หรือไม่
ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ หรือแบบแผนของ
ทางราชการจนก่อให้เกิดความเสียหาย
(๕) คัดลอกหรือนาผลงานของผู้อื่นมาเป็น
ของตน
(๖) ใช้หลักวิชาการที่ไม่ถูกต้องในการปฏิบัติ
วิชาชีพส่งผลให้ศิษย์หรือผู้รับบริการเกิดความ
เสียหาย
(๗) ใช้ความรู้ทางวิชาการ วิชาชีพ หรืออาศัย
องค์กรวิชาชีพแสวงหาประโยชน์เพื่อตนเองหรือ
ผู้อื่นโดยมิชอบ
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 22
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
๓. ครูต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการ ตาม
บทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า
๔. ครูต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และ
ผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ
๕. ครูต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ
๖. ครูต้องไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และ
สังคมของศิษย์และผู้รับบริการ
๗. ครูต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับ
ผลประโยชน์ จากการใช้ตาแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ
โดยต้องประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์***
(๑) ให้คาปรึกษาหรือช่วยเหลือศิษย์และ
ผู้รับบริการด้วยความเมตตากรุณาอย่างเต็ม
กาลังความสามารถและเสมอภาค
(๒) สนับสนุนการดาเนินงานเพื่อปกป้องสิทธิ
เด็กเยาวชน และผู้ด้อยโอกาส
(๓) ตั้งใจ เสียสละ และอุทิศตนในการปฏิบัติ
หน้าที่ เพื่อให้ศิษย์และผู้รับบริการได้รับการ
พัฒนาตามความสามารถ ความถนัด และความ
สนใจของแต่ละบุคคล
(๑) ลงโทษศิษย์อย่างไม่เหมาะสม
(๒) ไม่ใส่ใจหรือไม่รับรู้ปัญหาของศิษย์หรือ
ผู้รับบริการจนเกิดผลเสียหายต่อศิษย์หรือ
ผู้รับบริการ
(๓) ดูหมิ่นเหยียดหยามศิษย์หรือผู้รับบริการ
(๔) เปิดเผยความลับของศิษย์หรือผู้รับบริการ
เป็นผลให้ได้รับความอับอายหรือเสื่อมเสีย
ชื่อเสียง
(๕) จูงใจ โน้มน้าว ยุยงส่งเสริมให้ศิษย์หรือ
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 23
จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
๘. ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม
สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ โดยพึงประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดัง
ตัวอย่างต่อไปนี้
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์***
(๑) เสียสละ เอื้ออาทร และให้ความช่วยเหลือ
ผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
(๒) มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกัน
ผนึกกาลังในการพัฒนาการศึกษา
(๑) ปิดบังข้อมูลข่าวสารในการปฏิบัติงาน จน
ทาให้เกิดความเสียหายต่องานหรือผู้ร่วม
ประกอบวิชาชีพ
(๒) ปฏิเสธความรับผิดชอบ โดยตาหนิ ให้ร้าย
ผู้อื่นในความบกพร่องที่เกิดขึ้น
(๓) สร้างกลุ่มอิทธิพลภายในองค์การหรือกลั่น
(๔) ส่งเสริมให้ศิษย์และผู้รับบริการสามารถ
แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองจาก
สื่อ อุปกรณ์ และ แหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย
(๕) ให้ศิษย์และผู้รับบริการ มีส่วนร่วมวาง
แผนการเรียนรู้ และเลือกวิธีการปฏิบัติที่
เหมาะสม กับตนเอง
(๖) เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ศิษย์และ
ผู้รับบริการด้วยการรับฟังความคิดเห็น ยก
ย่อง ชมเชย และให้กาลังใจอย่างกัลยาณมิตร
ผู้รับบริการปฏิบัติขัดต่อศีลธรรมหรือ
กฎระเบียบ
(๖) ชักชวนใช้จ้างวานศิษย์หรือผู้รับบริการให้
จัดซื้อ จัดหาสิ่งเสพติดหรือเข้าไปเกี่ยวข้องกับ
อบายมุข
(๗) เรียกร้องผลตอบแทนจากศิษย์หรือ
ผู้รับบริการในงานตามหน้าที่ที่ต้องให้บริการ
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 24
แกล้ง ผู้ร่วมประกอบวิชาชีพให้เกิดความ
เสียหาย
(๔) เจตนาให้ข้อมูลเท็จทาให้เกิดความเข้าใจผิด
หรือเกิดความเสียหายต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
(๕) วิพากษ์ วิจารณ์ผู้ร่วมประกอบวิชาชีพใน
เรื่องที่ก่อให้เกิดความเสียหาย
จรรยาบรรณต่อสังคม
๙. ครูพึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยพึงประพฤติและละเว้นการประพฤติ
ตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์***
(๑) ยึดมั่น สนับสนุน และส่งเสริมการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข
(๒) นาภูมิปัญญาท้องถิ่นและศิลปวัฒนธรรมมา
เป็นปัจจัยในการจัดการศึกษาให้เป็นประโยชน์
ต่อส่วนรวม
(๓) จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ศิษย์เกิดการเรียนรู้
และสามารถดาเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจ
(๑) ไม่ให้ความร่วมมือหรือสนับสนุนกิจกรรม
ของชุมชนที่จัดเพื่อประโยชน์ต่อการศึกษาทั้ง
ทางตรงหรือทางอ้อม
(๒) ไม่แสดงความเป็นผู้นาในการอนุรักษ์หรือ
พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
ภูมิปัญญาหรือสิ่งแวดล้อม
(๓) ไม่ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการ
อนุรักษ์หรือพัฒนาสิ่งแวดล้อม
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 25
พอเพียง
(๔) เป็นผู้นาในการวางแผนและดาเนินการเพื่อ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมพัฒนาเศรษฐกิจ ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น และศิลปวัฒนธรรม
(๔) ปฏิบัติตนเป็นปฏิปักษ์ต่อวัฒนธรรมอันดี
งามของชุมชนหรือสังคม
กรณีปรากฏว่าผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา กระทาผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ
อย่างร้ายแรงดังต่อไปนี้ ให้เลขาธิการนาเสนอคณะกรรมการพิจารณาแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
สืบสวนหรือสอบสวนทันที เมื่อคณะกรรมการได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสืบสวนหรือสอบสวนแล้วให้
คณะกรรมการพิจารณาวินิจฉัย พักใช้ใบอนุญาตไว้ก่อน โดยไม่ต้องรอผลการสืบสวนหรือสอบสวน
ก็ได้
(๑) มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.
๒๕๒๒ หรือเกี่ยวข้องกับค้าประเวณีตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ.
๒๕๓๙
(๒) มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับการกระทาล่วงละเมิดทางเพศต่อนักเรียนหรือนักศึกษาไม่
ว่าจะอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของตนหรือไม่ หรือกระทาล่วงละเมิดทางเพศกับข้าราชการครู และ
บุคลากรทางการศึกษาหรือบุคคลอื่น
(๓) ถูกฟ้องคดีอาญาในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์หรือทุจริตต่อหน้าที่
การวินิจฉัยพักใช้ใบอนุญาต ให้วินิจฉัยพักใช้ใบอนุญาตทุกประเภทได้ไม่เกินหกสิบวัน
นับแต่วันที่ผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษได้รับทราบคาวินิจฉัย
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 26
สมรรถนะ )Competencies(
David McClelland นักจิตวิทยาของมหาวิทยาลัย Harvard อธิบายไว้ว่า “สมรรถนะ
เป็นคุณลักษณะของบุคคลเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ความรู้ )Knowledge( ทักษะ
)Skills( ความสามารถ )Ability( และคุณลักษณะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทางาน )Other
Characteristics( และเป็นคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่ทาให้บุคลากรในองค์กรปฏิบัติงานได้ผล
งานที่โดดเด่นกว่าคนอื่นๆ ในสถานการณ์ที่หลากหลาย
ซึ่งเกิดจากแรงผลักดันเบื้องลึก )Motives( อุปนิสัย )Traits( ภาพลักษณ์ภายใน
)Self-image( และบทบาทที่แสดงออกต่อสังคม )Social role( ที่แตกต่างกัน ทาให้แสดง
พฤติกรรมการทางานที่ต่างกัน
...แนวข้อสอบ...
ครูต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจตรง
กับจรรยาบรรณข้อใด
ก.จรรยาบรรณต่อตนเอง ข.จรรยาบรรณต่อสังคม
ค.จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ง.จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
เฉลย ง.จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 27
โมเดลภูเขาน้าแข็ง )Iceberg Model(
* ส่วนที่ลอยอยู่เหนือน้าได้แก่ องค์ความรู้ และทักษะต่างๆ
* ส่วนที่อยู่ใต้ผิวน้า ได้แก่ แรงจูงใจ อุปนิสัย ภาพลักษณ์ ภายใน และบทบาทที่
แสดงออกต่อสังคม
สมรรถนะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ ก.ค.ศ.กาหนด มี 2 สมรรถนะ
1.สมรรถนะหลัก )Core competencies(
2.สมรรถนะประจาสายงาน )Functional Competencies(
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 28
1. สมรรถนะหลัก )Core Competencies( ประกอบด้วย 5 สมรรถนะที่ต้องมีเหมือนกันทั้ง
โรงเรียน 1.1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์
1.2 การบริการที่ดี
1.3 การพัฒนาตนเอง
1.4 การทางานเป็นทีม
1.5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู
2. สมรรถนะประจาสายงาน )Functional Competencies( ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ สาหรับ
ครูเท่านั้น คือ
2.1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
2.2 การพัฒนาผู้เรียน
2.3 การบริหารจัดการชั้นเรียน
2.4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
2.5 ภาวะผู้นาครู
2.6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
สมรรถนะหลัก )Core Competencies(
สมรรถนะที่ 1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ )Working Achievement Motivation(
หมายถึง ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานในหน้าที่ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ มี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยมีการวางแผน กาหนดเป้าหมาย ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน และ
ปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพและผลงานอย่างต่อเนื่อง
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 29
สมรรถนะที่ 2 การบริการที่ดี )Service Mind(
หมายถึง ความตั้งใจและความเต็มใจในการให้บริการ และการปรับปรุงระบบบริการให้
มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ
สมรรถนะที่ 3 การพัฒนาตนเอง )Self- Development(
หมายถึง การศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ใหม่ๆ
ทางวิชาการและวิชาชีพ มีการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม เพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนางาน
สมรรถนะที่ 4 การทางานเป็นทีม )Team Work(
หมายถึง การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ สนับสนุนเสริมแรงให้กาลังใจแก่เพื่อนร่วมงาน
การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นหรือทีมงาน แสดงบทบาทการเป็นผู้นาหรือผู้ตามได้อย่างเหมาะสมในการ
ทางานร่วมกับผู้อื่น เพื่อสร้างและดารงสัมพันธภาพของสมาชิก ตลอดจนเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษา
ให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย
สมรรถนะที่ 5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู )Teacher’s Ethics and Integrity(
หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนถูกต้องตามหลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ
วิชาชีพครู เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน และสังคม เพื่อสร้างความศรัทธาในวิชาชีพครู
สมรรถนะประจาสายงาน )Functional Competencies(
สมรรถนะที่ 1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ )Curriculum and Learning
Management(
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 30
หมายถึง ความสามารถในการสร้างและพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการเรียนรู้อย่าง
สอดคล้องและเป็นระบบ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยี
และการวัด ประเมินผล การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด
สมรรถนะที่ 2 การพัฒนาผู้เรียน )Student Development(
หมายถึง ความสามารถในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพ
กาย และสุขภาพจิต ความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทย การจัดระบบดูแล
ช่วยเหลือผู้เรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ
สมรรถนะที่ 3 การบริหารจัดการชั้นเรียน )Classroom Management(
หมายถึง การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ การจัดทาข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจา
ชั้นเรียน/ประจาวิชา การกากับดูแลชั้นเรียนรายชั้น/รายวิชา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีความสุข
และความปลอดภัยของผู้เรียน
สมรรถนะที่ 4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน )Analysis & Synthesis
& Classroom Research(
หมายถึง ความสามารถในการทาความเข้าใจ แยกประเด็นเป็นส่วนย่อย รวบรวม
ประมวลหาข้อสรุปอย่างมีระบบและนาไปใช้ในการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งสามารถวิเคราะห์
องค์กรหรืองานในภาพรวมและดาเนินการแก้ปัญหา เพื่อพัฒนางานอย่างเป็นระบบ
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 31
สมรรถนะที่ 5 ภาวะผู้นาครู )Teacher Leadership(
หมายถึง คุณลักษณะและพฤติกรรมของครูที่แสดงถึงความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ส่วนบุคคล
และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนโดยปราศจากการใช้อิทธิพล
ของผู้บริหารสถานศึกษา ก่อให้เกิดพลังแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ
สมรรถนะที่ 6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
)Relationship & Collaborative – Building for Learning Management(
หมายถึง การประสานความร่วมมือ สร้างความสัมพันธ์ที่ดี และเครือข่ายกับผู้ปกครอง
ชุมชน และองค์กรอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนรู้
...แนวข้อสอบ...
1.ข้อใดเป็นสมรรถนะหลัก (Core Competencies) ของครู
ก.การพัฒนาผู้เรียน ข.การบริหารจัดการชั้นเรียน
ค.การทางานเป็นทีม ง.ภาวะผู้นาครู
เฉลย ค.การทางานเป็นทีม
2.ครูที่มีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานในหน้าที่ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วน
สมบูรณ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตรงกับสมรรถนะใด
ก.การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ ข.ภาวะผู้นาครู
ค.การพัฒนาผู้เรียน ง.การมุ่งผลสัมฤทธิ์
เฉลย ง.การมุ่งผลสัมฤทธิ์
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 32
วินัยและการรักษาวินัย
มาตรา 82 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องรักษาวินัยที่บัญญัติเป็นข้อห้ามและ
ข้อปฏิบัติไว้ในหมวดนี้โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ
การลงโทษทางวินัย
• วัตถุประสงค์การลงโทษทางวินัย
◦ เพื่อส่งเสริมคุณภาพและประสิทธิภาพของข้าราชการ
◦ เพื่อธารงศักดิ์ศรีของข้าราชการ
หลักการลงโทษทางวินัย
◦ หลักนิติธรรม
◦ หลักมโนธรรม
◦ หลักคุณธรรม
...แนวข้อสอบ..
ข้อใดไม่ใช่หลักการลงโทษทางวินัยของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ก.หลักนิติธรรม ข.หลักมโนธรรม
ค.หลักคุณธรรม ง.หลักความยุติธรรม
เฉลย ง.หลักความยุติธรรม
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 33
มาตรา 83 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องสนับสนุนการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยด้วยความ
บริสุทธิ์ใจและมีหน้าที่วางรากฐานให้เกิดระบอบการปกครองเช่นว่านั้น
มาตรา 84 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความ
ซื่อสัตย์สุจริต เสมอภาคและเที่ยงธรรม มีความวิริยะ อุตสาหะ ขยันหมั่นเพียร ดูแลเอาใจใส่ รักษา
ประโยชน์ของทางราชการ และต้องปฏิบัติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพอย่างเคร่งครัด
ห้ามมิให้อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยอานาจและหน้าที่ราชการของตน ไม่ว่าจะโดยทางตรง
หรือทางอ้อม หาประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น
การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับ
ประโยชน์ที่มิควรได้ เป็นการทุจริตต่อหน้าที่ราชการ เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ) ไล่ออก !!(
มาตรา 85 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไปตาม
กฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการและหน่วยงานการศึกษา มติคณะรัฐมนตรี หรือนโยบาย
ของรัฐบาลโดยถือประโยชน์สูงสุดของผู้เรียน และไม่ให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการ
การปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ
และหน่วยงานการศึกษา มติคณะรัฐมนตรีหรือนโยบายของรัฐบาล ประมาทเลินเล่อหรือขาดการเอา
ใจใส่ระมัดระวังรักษาประโยชน์ของทางราชการ อันเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ราชการอย่าง
ร้ายแรงเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
มาตรา 86 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชาซึ่ง
สั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ โดยไม่ขัดขืนหรือหลีกเลี่ยง แต่
ถ้าเห็นว่าการปฏิบัติตามคาสั่งนั้นจะทาให้เสียหายแก่ราชการ หรือจะเป็นการไม่รักษาประโยชน์ของ
ทางราชการจะเสนอความเห็นเป็นหนังสือภายในเจ็ดวัน เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาทบทวนคาสั่งนั้นก็ได้
และเมื่อเสนอความเห็นแล้ว ถ้าผู้บังคับบัญชายืนยันเป็นหนังสือให้ปฏิบัติตามคาสั่งเดิม ผู้อยู่ใต้บังคับ
บัญชาจะต้องปฏิบัติตาม
F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ
Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 34
การขัดคาสั่งหรือหลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชา ซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดย
ชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ อันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรงเป็น
ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
มาตรา 87 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องตรงต่อเวลา อุทิศเวลาของตนให้แก่
ทางราชการและผู้เรียน จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรมิได้
การละทิ้งหน้าที่หรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร เป็นเหตุให้เสียหายแก่
ราชการอย่างร้ายแรง หรือการละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่าสิบห้าวัน
โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรหรือโดยมีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทาง
ราชการเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง )ไล่ออก !!(
มาตรา 88 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องประพฤติเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน
ชุมชน สังคม มีความสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี ช่วยเหลือเกื้อกูลต่อผู้เรียนและระหว่าง
ข้าราชการด้วยกันหรือผู้ร่วมปฏิบัติราชการ ต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรมแก่ผู้เรียนและ
ประชาชนผู้มาติดต่อราชการ
การกลั่นแกล้ง ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ หรือข่มเหงผู้เรียน หรือประชาชนผู้มาติดต่อราชการ
อย่างร้ายแรง เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
มาตรา 89 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กลั่นแกล้ง กล่าวหาหรือร้องเรียน
ผู้อื่นโดยปราศจากความเป็นจริง
การกระทาตามวรรคหนึ่ง ถ้าเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรงเป็นความผิดวินัย
อย่างร้ายแรง
มาตรา 90 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กระทาการหรือยอมให้ผู้อื่น
กระทาการหาประโยชน์อันอาจทาให้เสื่อมเสียความเที่ยงธรรมหรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ในตาแหน่ง
หน้าที่ราชการของตน
การกระทาตามวรรคหนึ่ง ถ้าเป็นการกระทาโดยมีความมุ่งหมายจะให้เป็นการซื้อขาย หรือ
ให้ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งหรือวิทยฐานะใดโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือเป็นการกระทาอันมี
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว

More Related Content

What's hot

สังคม
สังคมสังคม
สังคม
Mint Minny
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
Decode Ac
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
Nattarika Wonkumdang
 
สังคม 50
สังคม 50สังคม 50
สังคม 50
chugafull
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
Kumobarick Achiroki
 
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)
rutchadaphun123
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิงแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
kkkkon
 

What's hot (17)

สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕
 
สังคม 50
สังคม 50สังคม 50
สังคม 50
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
 
ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
 
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
 
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิงแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
 
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
 

Similar to ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว

โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
yana54
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
tassanee chaicharoen
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
Kanjana Pothinam
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
tassanee chaicharoen
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
supanyasaengpet
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
krubuatoom
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
tassanee chaicharoen
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2
duenka
 

Similar to ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2
 
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 

More from ชีวิตนี้ จงอดทนในการเผชิญกับบททดสอบ

More from ชีวิตนี้ จงอดทนในการเผชิญกับบททดสอบ (20)

7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf
7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf
7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf
 
ติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdf
ติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdfติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdf
ติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdf
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญาพ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)
 
แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05
แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05
แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05
 
แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547
แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547
แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547
 
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
 
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรมบริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
 
จิตวิทยา 6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรมจิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา 6 เฟรม
 
การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)
การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)
การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)
 
กฎหมายการศึกษา 6
กฎหมายการศึกษา 6กฎหมายการศึกษา 6
กฎหมายการศึกษา 6
 
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
 
Trench final
Trench finalTrench final
Trench final
 
Kunnatam ex
Kunnatam exKunnatam ex
Kunnatam ex
 
Lesson plan electricfield
Lesson plan electricfieldLesson plan electricfield
Lesson plan electricfield
 
Checkins report
Checkins reportCheckins report
Checkins report
 
E0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98c
E0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98cE0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98c
E0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98c
 
Build your own_volcano
Build your own_volcanoBuild your own_volcano
Build your own_volcano
 
How to-use
How to-useHow to-use
How to-use
 
F7 zx41zhyfnx6g3
F7 zx41zhyfnx6g3F7 zx41zhyfnx6g3
F7 zx41zhyfnx6g3
 

ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว

  • 1. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 1 ความประพฤติและการปฏิบัติตามวิชาชีพครู คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายของ "คุณธรรม" คือ" สภาพคุณงามความดี )เน้นความรู้สึก จิตใจ( " กรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม 5 ประการ ที่ต้องช่วยกันปลูกฝังให้แก่ผู้บริหาร ครู และ นักเรียน 1( ความพอเพียง 2( ความกตัญญู 3( ความซื่อสัตย์สุจริต 4( ความรับผิดชอบ 5( อุดมการณ์คุณธรรม ตัวชี้วัดโรงเรียนคุณธรรม มี 7 ข้อ ดังนี้ 1. มีกระบวนการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมโรงเรียน 2. มีกลไกคณะทางานและใช้โครงงานคุณธรรมเป็นเครื่องมือที่ทุกคนมีส่วนร่วมใน การลงมือปฏิบัติเพื่อพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม 3. พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ในโรงเรียนเพิ่มขึ้น 4. พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ในโรงเรียนลดลง
  • 2. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 2 คุณธรรมสาหรับครู 5. เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนา คุณธรรม จริยธรรมในโรงเรียนจากทุก ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหารโรงเรียน ครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน 6. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม การสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม และการบูรณาการกับ การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน 7. เป็นแหล่งเรียนรู้ของโรงเรียนคุณธรรม ความสาคัญของครู ในทางพุทธศาสนายกย่องครูว่าเป็น" ปูชนียบุคคล" เป็นผู้กระทาหน้าที่ เป็นผู้นาทางจิต วิญญาณมนุษย์ ซึ่งสอดคล้องลักษณะของผู้จะมาเป็นครูของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ . ศ . 2560 เป็นผู้ที่ยกระดับจิตวิญญาณของมนุษย์ให้สูงขึ้น เป็นกัลยาณมิตร เป็นแบบอย่างของศิษย์ เป็นพ่อแม่คนที่สองของศิษย์ ครูจึงต้องได้รับการศึกษาอบรม ปลูกฝัง เสริมสร้างจิตสานึกให้เกิดความ รักความศรัทธาในวิชาชีพครูด้วยความจริงใจและกระทาตนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ให้เป็นคนที่มีจิตใจ สูง เจริญด้วยคุณธรรม ดังนี้ คุณธรรมสาหรับครูในฐานะเป็นกัลยาณมิตร คุณธรรมสาหรับครูในฐานะเป็นกัลยาณมิตร เรียกว่า กัลยาณธรรม 8 เป็นธรรมะสาหรับครู ช่วยส่งเสริมการดาเนินชีวิตของครูให้มีแต่ความสุข ความเจริญ ข้อพึงปฏิบัติมีดังนี้ 1 ศรัทธา หมายถึง การเชื่อกรรม และผลของกรรม 2 ศีล หมายถึง การประพฤติหรือกระทาที่เป็นปกติวิสัย
  • 3. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 3 3 สุตะ หมายถึง การมุ่งฟังตั้งใจใฝ่ศึกษา 4 จาคะ หมายถึง การตั้งหน้าแบ่งปันเสียสละ 5 วิริยะ หมายถึง การพากเพียรด้วยใจชอบ 6 สติ หมายถึง การรู้รอบไม่เพ้อเจ้อ 7 สมาธิ หมายถึง การตั้งใจมั่นไม่หวั่นไหว 8 ปัญญา หมายถึง การรู้แจ้งกว้างไกล ลึกซึ้ง กัลยาณมิตร 7 ( ปฏิบัติต่อศิษย์ ) 1.ปิโยคือ น่าชื่นชม 2.ครุ คือ หนักแน่น น่าเคารพ 3.ภาวะนีโย คือ น่าเจริญใจ 4.วัตตา คือ พูดได้มีเหตุผล 5.วะจะนักขะโม คือ อดทนต่อถ้อยคา 6.คัมภีรัญจะ กะถัง กัตตา คือ แถลงเรื่องล้าลึกได้ 7.โน จัฏฐาเน นิโยชะเย คือ ไม่ชักนาไปในทางที่เสื่อม
  • 4. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 4 คุณธรรมสาหรับครูตามธรรมะอันเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจกัน คุณธรรมสาหรับครูตามธรรมะอันเป็นที่ตั้งแห่งการสังเคราะห์ ได้แก่ สังคหวัตถุ 4 ประการ เพื่อเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจให้สะอาดสดใจ ข้อพึงปฏิบัติมีดังนี้ 1 ทาน คือการให้ 2 ปิยวาจา คือ การเจรจาด้วยถ้อยคาที่ไพเราะ สุภาพ 3 อัตถจริยา คือ การกระทาสิ่งที่เป็นประโยชน์กับผู้อื่น 4 สมานัตตตา คือ การทาตนเป็นกันเองไม่ถือตัว ....แนวข้อสอบ... ครูที่สามารถอธิบายเนื้อหาที่สอนได้อย่างมีเหตุผล ตรงกับข้อใด ก. ปิโย ข. ภาวะนีโย ค.วัตตา ง. วะจะนักขะโม เฉลย ค. วัตตา
  • 5. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 5 คุณธรรมสาหรับการครองเรือนของครู ( อยู่ที่บ้าน ) หลักธรรมะสาหรับการครองเรือน ได้แก่ ฆราวาสธรรม 4 ข้อ พึงปฏิบัติมีดังนี้ 1 สัจจะ คือ ความซื่อสัตย์ ความซื่อตรง ความจริงใจ 2 ทมะ คือ การข่มใจ ปรับปรุงตัว ฝึกฝนให้ติดเป็นนิสัย 3 ขันติ คือ ความอดทน อดกลั้น ไม่หวั่นไหว ท้อถอย 4 จาคะ คือ ความเสียสละ พร้อมที่จะร่วมมือช่วยเหลือเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ คุณธรรมสาหรับครูตามธรรมะสาหรับปกครองชั้นเรียน ( อยู่ในโรงเรียน ) ครูพึงยึดหลักคุณธรรม ได้แก่ พรหมวิหาร 4 อันเป็นธรรมะสาหรับผู้ปกครอง มีดังนี้ 1 เมตตา คือ ความรัก ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 2 กรุณา คือ ความสงสารเห็นอกเห็นใจ 3 มุทิตา คือ ความยินดี ความเบิกบานใจ 4 อุเบกขา คือ ความวางเฉย วางตัวเป็นกลาง
  • 6. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 6 ทศพิธราชธรรม คือ ธรรมสาหรับพระมหากษัตริย์ พึงทรงปฏิบัติเพื่อให้บ้านเมืองสงบสุข ได้แก่ 1. ทาน คือ การบริจาคสิ่งของต่างๆ ให้แก่ผู้ตกทุกข์ได้ยากที่สมควรได้รับการช่วยเหลือ 2. ศีล คือ ทรงรักษาความสุจริต ประพฤติดีงามทั้งกาย วาจา ใจ 3. บริจาค คือ ทรงบาเพ็ญด้วยการเสียสละความสุขส่วนพระองค์ 4. อาชวะ คือ มีความซื่อสัตย์สุจริต 5. มัทวะ คือ มีพระราชอัธยาศัยอ่อนโยน ไม่ดื้อดึง ด้วยทิฐิมานะ 6. ตะบะ คือ มีจิตอยู่ในสมาธิ ไม่วิตกฟุ้งซ่าน 7. อักโกธะ คือ การไม่ถือเอาความโกรธเป็นเจ้าเรือนแห่งตน 8. อวิหิงสา คือ การไม่เบียดเบียนประชาชนให้ได้รับความเดือดร้อน 9. ขันติ คือ มีความอดทนในสิ่งที่ควรอดทน 10.อวิโรธนะ คือ การรักษาความยุติธรรมเป็นที่ตั้ง หลักธรรมสาหรับครูเพื่อให้ทางานให้สาเร็จ อิทธิบาท 4 คือ หลักธรรมแห่งความสาเร็จ 1.ฉันทะ มีใจรัก คือ พอใจจะทาสิ่งนั้นและทาด้วยใจรัก 2.วิริยะ พากเพียรทา คือ ขยันหมั่นประกอบ หมั่นกระทาสิ่งนั้นด้วยความพยายาม 3.จิตตะ เอาจิตใจใฝ่ฝักใฝ่ คือ ตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่ทาและทาสิ่งนั้นด้วยความคิดไม่ฟุ้งซ่าน 4.วิมังสา ใช้ปัญญาสอบสวน คือ หมั่นใช้ปัญญาพิจารณาใคร่ควรตรวจตราหาเหตุผล
  • 7. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 7 หลักธรรมที่ครูต้องเข้าใจอันแสดงถึงความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ อริยสัจ 4 หมายถึง ความจริงอันประเสริฐ ได้แก่ 1.ทุกข์ หมายถึง ความทุกข์ สภาพที่ทนได้ยาก เช่น ชรา มรณะ 2.สมุทัย หมายถึง เหตุเกิดแห่งทุกข์ ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา 3.นิโรธ หมายถึง ความดับทุกข์ได้แก่ ภาวะที่ตัณหาดับสิ้นไป ภาวะที่เข้าถึงเมื่อกาจัดอวิชชาไป แล้ว (เทียบเท่ากับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน) 4.มรรค หมายถึง ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์(นิโรธ) (เทียบเท่ากับพันธกิจโรงเรียน) มรรค มีองค์ 8 (มัชฌิมาปฏิปทาหรือ ทางสายกลาง )ประกอบด้วย 1.สัมมาทิฐิ คือ ความเข้าใจถูกต้อง 2.สัมมาสังกัปปะ คือ ความใฝ่ใจถูกต้อง 3.สัมมาวาจา คือ การพูดจาถูกต้อง 4.สัมมากัมมันตะ คือ การกระทาถูกต้อง 5.สัมมาอาชีวะ คือ การดารงชีพถูกต้อง 6.สัมมาวายามะ คือ ความพากเพียรถูกต้อง 7.สัมมาสติ คือ การระลึกประจาใจถูกต้อง 8.สัมมาสมาธิ คือ การตั้งใจมั่นถูกต้อง สัปปุริสธรรม 7 คือ ธรรมของสัตบุรุษ ธรรมของคนดี บุคคลที่น่านับถือ *** สอดคล้องกับการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1.ธัมมัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักเหตุ 2.อัตถัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักผล 3.อัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักตน 4.มัตตัญญุตา ความเป็นผู้จักประมาณ 5.กาลัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักกาลเวลา 6.ปริสัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักชุมชน 7.ปุคคลัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักบุคคล
  • 8. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 8 ทิศ 6 คือ บุคคล 6 ประเภทที่อยู่รอบตัวเรา ที่เราเกี่ยวข้องสัมพันธ์ทางสังคม 1.ปุรัตถิมทิส คือ ทิศเบื้องหน้า มารดา บิดา 2.ทักษิณทิส คือ ทิศเบื้องขวา ครู อาจารย์ 3.ปัจฉิมทิส คือ ทิศเบื้องหลัง บุตร ภรรยา 4.อุตตรทิส คือ ทิศเบื้องซ้าย มิตร สหาย 5.เหฏฐิมทิส คือ ทิศเบื้องล่าง บ่าว คนใช้ 6.อุปริมทิส คือ ทิศเบื้องบน พระสงฆ์ ความลาเอียงที่ครูพึงหลีกเลี่ยง 4 ประการ อคติ 4 หมายถึง ความลาเอียง 4 ประการ 1.ฉันทาคติ หมายถึง การลาเอียงเพราะความรักใคร่พอใจ 2.โทสาคติ หมายถึง การลาเอียงเพราะความไม่ชอบ 3.โมหาคติ หมายถึง การลาเอียงเพราะความโง่เขลา ความไม่รู้ 4.ภยาคติ หมายถึง การลาเอียงเพราะความกลัว หิริโอตัปปะ คือ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป หิริ หมายถึง ความละอายต่อการทาบาป ละอายต่อการทาชั่วทาเลวของตนเอง โอตัปปะ หมายถึง ความเกรงกลัวต่อบาป ความเกรงกลัวผลของการกระทาบาป การกระทา ชั่วของตนเอง
  • 9. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 9 คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการของกระทรวงศึกษาธิการ ครูต้องปลูกฝังให้กับผู้เรียนทุกคนของกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วย   1.ขยัน 2.ประหยัด 3.ซื่อสัตย์ 4.มีวินัย 5.สุภาพ 6.สะอาด 7.สามัคคี 8.มีน้าใจ ....แนวข้อสอบ... ข้อใดเป็นหลักธรรมแห่งความสาเร็จ ก.สังคหวัตถุ 4 ข.อริยสัจ 4 ค.อิทธิบาท 4 ง. มรรค 8 เฉลย ค.อิทธิบาท 4
  • 10. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 10 วัฒนธรรมไทย ตามพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ แบ่งวัฒนธรรมได้ 4 ประเภท 1. คติธรรม คือ วัฒนธรรมที่เกี่ยวกับหลักในการดาเนินชีวิต ส่วนใหญ่เป็นเรื่องของจิตใจ ซึ่งได้เรียนรู้จากศาสนา เช่น ความกตัญญูกตเวที 2. เนติธรรม คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย รวมทั้งระเบียบประเพณีที่ยอมรับนับถือกันว่ามี ความสาคัญ เช่นเดียวกับกฎหมาย 3. สหธรรม คือ วัฒนธรรมทางสังคมที่เกี่ยวกับหลักการปฏิบัติทางสังคม เช่น มารยาทใน งานสังคมต่างๆ เช่น การกล่าวทักทาย " สวัสดี " การใช้ช้อนกลางในการรับประทานอาหาร 4. วัตถุธรรม คือ วัฒนธรรมทางวัตถุ ที่สามารถจับต้องได้ สัมผัสได้ เช่น บ้านเรือน อาหาร เครื่องแต่งกาย เครื่องมือ เครื่องใช้ และเครื่องอานวยความสะดวก ปัจจัย 4 เป็นต้น ...แนวข้อสอบ... การดูแลพ่อแม่ยามที่ท่านแก่เฒ่า ตรงกับวัฒนธรรมในข้อใด ก.คติธรรม ข.เนติธรรม ค.สหธรรม ง.วัตถุธรรม เฉลย ก.คติธรรม
  • 11. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 11 จริยธรรมสาหรับครู พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้คานิยามว่า "จริยธรรม คือ ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ " ( เน้นการลงมือปฏิบัติ ) จริยธรรมและคุณธรรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ยากที่จะแยกคุณธรรมออกจาก จริยธรรมได้ เพราะคุณธรรมเป็นธรรมะที่มีคุณค่าอยู่ในจิตใจของบุคคลและเมื่อบุคคลแสดงออกซึ่ง ความประพฤติปฏิบัติตามคุณธรรมนั้น ย่อมเป็นที่ประจักษ์ในจริยธรรม และคุณธรรมเป็นความดีของ ครู ส่วนจริยธรรมเป็นความงดงามของครู ค่านิยมของข้าราชการไทย ค่านิยม คือ สิ่งที่สังคมยึดถือว่ามีค่า พึงปรารถนา ต้องการให้เป็นเป้าหมายของสังคม และปลูกฝังให้สมาชิกของสังคมยึดถือเป็นเป้าหมายในการดาเนินชีวิต หรือนาความสุขมาให้ มีทั้งเป็น วัตถุและไม่เป็นวัตถุ ค่านิยมเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาได้เช่นเดียวกันกับความเชื่อและมีความแตกต่างกันไป ตามสังคมและวัฒนธรรม ค่านิยมส่วนใหญ่เกิดมาจากจากความเชื่อ ค่านิยมเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมของมนุษย์ มีลักษณะที่ถ่ายทอดจากคน รุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่งได้ "ค่านิยมของข้าราชการไทย”หมายถึง ระบบความคิด ความเชื่อ หรือการกระทาต่าง ๆ ของข้าราชการ ซึ่งข้าราชการยึดถือหรือใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาประเทศ
  • 12. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 12 คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ได้กาหนดกรอบการปรับเปลี่ยนกระบวน ทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมของระบบราชการ และพัฒนาข้าราชการ โดยมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือ “I AM READY” 1. Integrity คือ ทางานอย่างมีศักดิ์ศรี ข้าราชการจะต้องมีจรรยาบรรณในวิชาชีพของตนมี ความเสียสละ อุทิศตนในการทางาน มุ่งประโยชน์ส่วนรวม และที่สาคัญต้องมีความซื่อสัตย์สุจริตต่อ หน้าที่การงาน ไม่ทุจริตคอรัปชั่น 2.Activeness คือ ขยันตั้งใจทางาน หรือเรียกว่าการปฏิบัติงานเชิงรุก ซึ่งข้าราชการจะต้อง ปฏิบัติงานอย่างเต็มกาลังความสามารถและเป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้นอยู่ตลอดเวล 3.Morality คือ มีใจเป็นธรรม มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติราชการด้วยใจบริสุทธิ์และกุศล เจตนาโดยข้าราชการจะต้องไม่เลือกปฏิบัติยึดหลักความเป็นธรรมและเสมอภาค รวมทั้ง คานึงถึง ประโยชน์สาธารณะเป็นสาคัญ 4.Relevancy คือ มีการเรียนรู้และปรับตัว ให้ทันโลกทันปัญหาและสิ่งท้าทายต่างๆโดย จะต้องมีการพัฒนาข้าราชการอย่างต่อเนื่องให้มีความเป็นเลิศในวิชาชีพ มีการนาความรู้และวิทยาการ สมัยใหม่มาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อให้พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน หรือในความหมาย โดยรวมก็คือ การสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้น 5.Efficiency คือ การทางานที่มุ่งเน้นประสิทธิภาพ ซึ่งแสดงให้เห็นจากการจัดการภายในที่ ดีของหน่วยงานทาให้ผลผลิตที่ได้มีมาตรฐาน ประหยัดทรัพยากรและเกิดความคุ้มค่า 6.Accountability คือการมีความรับผิดชอบต่อผลสาเร็จของงานและต่อสาธารณะ ข้าราชการจะต้องตระหนักในความรับผิดชอบของตนพร้อมเสมอที่จะรับการตรวจสอบ ทั้งจากภายใน และภายนอกหน่วยงาน โดยหน่วยงานจะต้องมีระบบการให้รางวัลและลงโทษที่มีประสิทธิภาพ
  • 13. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 13 7.Democracy คือ มีใจและการกระทาที่เป็นประชาธิปไตย มีส่วนร่วม โปร่งใส โดย จะต้องสร้างเครือข่ายในการทางาน ประสานสัมพันธ์กับทุกกลุ่มให้เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผน การตัดสินใจในการปฏิบัติงาน 8. Yield คือ มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ และปฏิบัติงานโดยเน้นผลสัมฤทธิ์เป็นสาคัญ โดย จะต้องตั้งเป้าหมายของการทางานแล้วปฏิบัติให้สาเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ รวมทั้งสามารถวัดและ ประเมินผลงานได้ ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ: 1. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม 3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ 4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน 7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง 8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ 9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบัติตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 10. รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย และ พร้อมที่จะขยายกิจการเมื่อมีความพร้อม เมื่อมีภูมิคุ้มกันที่ดี 11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่า หรือกิเลส มีความละอาย เกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา 12. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
  • 14. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 14 มาตรฐานวิชาชีพครู คุรุสภา ดาเนินการตามอานาจหน้าที่ในการรับรองปริญญา ประกาศนียบัตรหรือวุฒิบัตรของ สถาบันต่างๆ ตามมาตรฐานวิชาชีพ ตามที่กาหนดในมาตรา9 (7) แห่งพระราชบัญญัติสภาครูและ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 โดยออกประกาศคุรุสภา เรื่อง การรับรองปริญญาและ ประกาศนียบัตรทางการศึกษาเพื่อการประกอบวิชาชีพ พ.ศ.2557 วิชาชีพควบคุมทางการศึกษา 1.วิชาชีพครู 2.วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา 3.วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 4.วิชาชีพควบคุมอื่นที่กาหนดตามกฎกระทรวง (ศึกษานิเทศก์) มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา คือ ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ และคุณภาพที่พึงประสงค์ในการประกอบวิชาชีพ ทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตาม ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน (อัพเดทตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒) 1. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ หมายความว่า “ข้อกาหนดเกี่ยวกับความรู้และประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ หรือการ จัดการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษารวมทั้งผู้ต้องการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้อง มีเพียงพอที่สามารถนาไปใช้ในการประกอบวิชาชีพได้”
  • 15. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 15 - ผู้ประกอบวิชาชีพครู ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเท่าหรือมี คุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีมาตรฐานความรู้และประสบการวิชาชีพ ดังต่อไปนี้ (ก) มาตรฐานความรู้ ต้องมีความรอบรู้และเข้าใจในเรื่อง ดังต่อไปนี้ )ครูต้องรู้ 6 รู้( (1) การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลก สังคม และแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (2) จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาให้คาปรึกษา ในการวิเคราะห์และพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ (3) เนื้อหาวิชาที่สอน หลักสูตร ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยีดิจิทัล ในการจัดการเรียนรู้ (4) การวัด ประเมินผลการเรียนรู้ และการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน (5) การใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการศึกษา (6) การออกแบบและการดาเนินการเกี่ยวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา (ข) มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาทางการศึกษา เป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอนตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด ดังต่อไปนี้ 1) การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 2) การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ
  • 16. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 16 2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ หรือการแสดงพฤติกรรมการปฏิบัติงานและ การพัฒนางาน ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมทั้งผู้ต้องการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องปฏิบัติตาม เพื่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายการเรียนรู้หรือการจัดการศึกษา รวมทั้ง ต้องฝึกฝนพัฒนาตนเองให้มีทักษะ หรือความชานาญสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง - ผู้ประกอบวิชาชีพครู ต้องมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ) 3 ข้อ 15 งาน( (ก) การปฏิบัติหน้าที่ครู (1) มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียน ด้วยจิตวิญญาณความเป็นครู (2) ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความเป็น พลเมืองที่เข้มแข็ง (3) ส่งเสริมการเรียนรู้ เอาใจใส่ และยอมรับความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละบุคคล (4) สร้างแรงบันดาลใจผู้เรียนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ และผู้สร้างนวัตกรรม (5) พัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลง (ข) การจัดการเรียนรู้ (1) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ สื่อ การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ (2) บูรณาการความรู้และศาสตร์การสอนในการวางแผนและจัดการเรียนรู้ ที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิด และมีความเป็นนวัตกร ...แนวข้อสอบ... ข้อใดคือมาตรฐานความรู้ของครู ตามที่คุรุสภากาหนด ก.ปรัชญาการศึกษา ข.ภาษาและวัฒนธรรม ค.การพัฒนาสมรรถนะ ง.การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลก สังคม เฉลย ง.การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลก สังคม
  • 17. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 17 (3) ดูแล ช่วยเหลือ และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามศักยภาพ สามารถ รายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ (4) จัดกิจกรรมและสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน โดยตระหนักถึงสุขภาวะของผู้เรียน (5) วิจัย สร้างนวัตกรรม และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์ ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน (6) ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพ (ค) ความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน (1) ร่วมมือกับผู้ปกครองในการพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ (2) สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพของผู้เรียน (3) ศึกษา เข้าถึงบริบทของชุมชน และสามารถอยู่ร่วมกันบนพื้นฐาน ความแตกต่างทางวัฒนธรรม (4) ส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ) หมายถึง จรรยาบรรณของวิชาชีพที่กาหนดขึ้นเป็นแบบแผนในการประพฤติตน ซึ่งผู้ ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบัติตาม เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียง และฐานะ ของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นที่เชื่อถือศรัทธาแก่ผู้รับบริการและสังคม อันจะนามาซึ่ง เกียรติและศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ
  • 18. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 18 ...แนวข้อสอบ.. ข้อใดเป็น จรรยาบรรณของวิชาชีพครู ก.มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ข.มาตรฐานการปฏิบัติงาน ค.มาตรฐานการปฏิบัติตน ง.คุณธรรม จริยธรรมสาหรับครู จรรยาบรรณวิชาชีพ 5 ข้อ )1( จรรยาบรรณต่อตนเอง )2( จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ )3( จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ )4( จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ )5( จรรยาบรรณต่อสังคม จรรยาบรรณต่อตนเอง ๑. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ๒. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
  • 19. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 19 จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ ๓. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจ แก่ศิษย์และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า ๔. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ ๕. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ๖. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์และผู้รับบริการ ๗. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่ เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ๘. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดย ยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ จรรยาบรรณต่อสังคม ๙. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นาในการอนุรักษ์และ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของ ส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
  • 20. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 20 แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณวิชาชีพ สาหรับ "ครู" จรรยาบรรณต่อตนเอง ๑. ครูต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทัน ต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ โดยต้องประพฤติและละเว้นการ ประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์*** (๑) ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและ เป็นแบบอย่างที่ดี (๒) ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการ ดาเนินชีวิตตามประเพณีและวัฒนธรรมไทย (๓) ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย ให้สาเร็จอย่างมี คุณภาพตามเป้าหมายที่กาหนด (๔) ศึกษา หาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และสะสมผลงานอย่างสม่าเสมอ (๕) ค้นคว้า แสวงหา และนาเทคนิคด้าน วิชาชีพ ที่พัฒนาและก้าวหน้าเป็นที่ยอมรับมาใช้ แก่ศิษย์และผู้รับบริการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่พึง ประสงค์ (๑) เกี่ยวข้องกับอบายมุขหรือเสพสิ่งเสพติด จนขาดสติหรือแสดงกิริยาไม่สุภาพเป็นที่น่า รังเกียจในสังคม (๒) ประพฤติผิดทางชู้สาวหรือมีพฤติกรรมล่วง ละเมิดทางเพศ (๓) ขาดความรับผิดชอบ ความกระตือรือร้น ความเอาใจใส่ จนเกิดความเสียหายในการ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ (๔) ไม่รับรู้หรือไม่แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ใน การ จัดการเรียนรู้ และการปฏิบัติหน้าที่ (๕) ขัดขวางการพัฒนาองค์การจนเกิดผล เสียหาย
  • 21. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 21 จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ๒. ครูต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีของ องค์กรวิชาชีพ โดยต้องประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์*** (๑) แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของ วิชาชีพ (๒) รักษาชื่อเสียงและปกป้องศักดิ์ศรีแห่ง วิชาชีพ (๓) ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานใน วิชาชีพ ให้สาธารณชนรับรู้ (๔) อุทิศตนเพื่อความก้าวหน้าของวิชาชีพ (๕) ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ สุจริตตามกฎ ระเบียบ และแบบแผนของทาง ราชการ (๖) เลือกใช้หลักวิชาที่ถูกต้อง สร้างสรรค์ เทคนิค วิธีการใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาวิชาชีพ (๗) ใช้องค์ความรู้หลากหลายในการปฏิบัติ หน้าที่ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกใน องค์การ (๘) เข้าร่วมกิจกรรมของวิชาชีพหรือองค์กร วิชาชีพอย่างสร้างสรรค์ (๑) ไม่แสดงความภาคภูมิใจในการประกอบ วิชาชีพ (๒) ดูหมิ่น เหยียดหยาม ให้ร้ายผู้ร่วม ประกอบวิชาชีพ ศาสตร์ในวิชาชีพ หรือองค์กร วิชาชีพ (๓) ประกอบการงานอื่นที่ไม่เหมาะสมกับการ เป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา (๔) ไม่ซื่อสัตย์สุจริต ไม่รับผิดชอบ หรือไม่ ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ หรือแบบแผนของ ทางราชการจนก่อให้เกิดความเสียหาย (๕) คัดลอกหรือนาผลงานของผู้อื่นมาเป็น ของตน (๖) ใช้หลักวิชาการที่ไม่ถูกต้องในการปฏิบัติ วิชาชีพส่งผลให้ศิษย์หรือผู้รับบริการเกิดความ เสียหาย (๗) ใช้ความรู้ทางวิชาการ วิชาชีพ หรืออาศัย องค์กรวิชาชีพแสวงหาประโยชน์เพื่อตนเองหรือ ผู้อื่นโดยมิชอบ
  • 22. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 22 จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ ๓. ครูต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการ ตาม บทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า ๔. ครูต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และ ผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ ๕. ครูต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ๖. ครูต้องไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และ สังคมของศิษย์และผู้รับบริการ ๗. ครูต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับ ผลประโยชน์ จากการใช้ตาแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ โดยต้องประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์*** (๑) ให้คาปรึกษาหรือช่วยเหลือศิษย์และ ผู้รับบริการด้วยความเมตตากรุณาอย่างเต็ม กาลังความสามารถและเสมอภาค (๒) สนับสนุนการดาเนินงานเพื่อปกป้องสิทธิ เด็กเยาวชน และผู้ด้อยโอกาส (๓) ตั้งใจ เสียสละ และอุทิศตนในการปฏิบัติ หน้าที่ เพื่อให้ศิษย์และผู้รับบริการได้รับการ พัฒนาตามความสามารถ ความถนัด และความ สนใจของแต่ละบุคคล (๑) ลงโทษศิษย์อย่างไม่เหมาะสม (๒) ไม่ใส่ใจหรือไม่รับรู้ปัญหาของศิษย์หรือ ผู้รับบริการจนเกิดผลเสียหายต่อศิษย์หรือ ผู้รับบริการ (๓) ดูหมิ่นเหยียดหยามศิษย์หรือผู้รับบริการ (๔) เปิดเผยความลับของศิษย์หรือผู้รับบริการ เป็นผลให้ได้รับความอับอายหรือเสื่อมเสีย ชื่อเสียง (๕) จูงใจ โน้มน้าว ยุยงส่งเสริมให้ศิษย์หรือ
  • 23. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 23 จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ๘. ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ โดยพึงประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดัง ตัวอย่างต่อไปนี้ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์*** (๑) เสียสละ เอื้ออาทร และให้ความช่วยเหลือ ผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ (๒) มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกัน ผนึกกาลังในการพัฒนาการศึกษา (๑) ปิดบังข้อมูลข่าวสารในการปฏิบัติงาน จน ทาให้เกิดความเสียหายต่องานหรือผู้ร่วม ประกอบวิชาชีพ (๒) ปฏิเสธความรับผิดชอบ โดยตาหนิ ให้ร้าย ผู้อื่นในความบกพร่องที่เกิดขึ้น (๓) สร้างกลุ่มอิทธิพลภายในองค์การหรือกลั่น (๔) ส่งเสริมให้ศิษย์และผู้รับบริการสามารถ แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองจาก สื่อ อุปกรณ์ และ แหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย (๕) ให้ศิษย์และผู้รับบริการ มีส่วนร่วมวาง แผนการเรียนรู้ และเลือกวิธีการปฏิบัติที่ เหมาะสม กับตนเอง (๖) เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ศิษย์และ ผู้รับบริการด้วยการรับฟังความคิดเห็น ยก ย่อง ชมเชย และให้กาลังใจอย่างกัลยาณมิตร ผู้รับบริการปฏิบัติขัดต่อศีลธรรมหรือ กฎระเบียบ (๖) ชักชวนใช้จ้างวานศิษย์หรือผู้รับบริการให้ จัดซื้อ จัดหาสิ่งเสพติดหรือเข้าไปเกี่ยวข้องกับ อบายมุข (๗) เรียกร้องผลตอบแทนจากศิษย์หรือ ผู้รับบริการในงานตามหน้าที่ที่ต้องให้บริการ
  • 24. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 24 แกล้ง ผู้ร่วมประกอบวิชาชีพให้เกิดความ เสียหาย (๔) เจตนาให้ข้อมูลเท็จทาให้เกิดความเข้าใจผิด หรือเกิดความเสียหายต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ (๕) วิพากษ์ วิจารณ์ผู้ร่วมประกอบวิชาชีพใน เรื่องที่ก่อให้เกิดความเสียหาย จรรยาบรรณต่อสังคม ๙. ครูพึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยพึงประพฤติและละเว้นการประพฤติ ตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์*** (๑) ยึดมั่น สนับสนุน และส่งเสริมการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข (๒) นาภูมิปัญญาท้องถิ่นและศิลปวัฒนธรรมมา เป็นปัจจัยในการจัดการศึกษาให้เป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม (๓) จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ศิษย์เกิดการเรียนรู้ และสามารถดาเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจ (๑) ไม่ให้ความร่วมมือหรือสนับสนุนกิจกรรม ของชุมชนที่จัดเพื่อประโยชน์ต่อการศึกษาทั้ง ทางตรงหรือทางอ้อม (๒) ไม่แสดงความเป็นผู้นาในการอนุรักษ์หรือ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาหรือสิ่งแวดล้อม (๓) ไม่ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการ อนุรักษ์หรือพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • 25. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 25 พอเพียง (๔) เป็นผู้นาในการวางแผนและดาเนินการเพื่อ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมพัฒนาเศรษฐกิจ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น และศิลปวัฒนธรรม (๔) ปฏิบัติตนเป็นปฏิปักษ์ต่อวัฒนธรรมอันดี งามของชุมชนหรือสังคม กรณีปรากฏว่าผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา กระทาผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ อย่างร้ายแรงดังต่อไปนี้ ให้เลขาธิการนาเสนอคณะกรรมการพิจารณาแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ สืบสวนหรือสอบสวนทันที เมื่อคณะกรรมการได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสืบสวนหรือสอบสวนแล้วให้ คณะกรรมการพิจารณาวินิจฉัย พักใช้ใบอนุญาตไว้ก่อน โดยไม่ต้องรอผลการสืบสวนหรือสอบสวน ก็ได้ (๑) มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ หรือเกี่ยวข้องกับค้าประเวณีตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙ (๒) มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับการกระทาล่วงละเมิดทางเพศต่อนักเรียนหรือนักศึกษาไม่ ว่าจะอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของตนหรือไม่ หรือกระทาล่วงละเมิดทางเพศกับข้าราชการครู และ บุคลากรทางการศึกษาหรือบุคคลอื่น (๓) ถูกฟ้องคดีอาญาในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์หรือทุจริตต่อหน้าที่ การวินิจฉัยพักใช้ใบอนุญาต ให้วินิจฉัยพักใช้ใบอนุญาตทุกประเภทได้ไม่เกินหกสิบวัน นับแต่วันที่ผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษได้รับทราบคาวินิจฉัย
  • 26. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 26 สมรรถนะ )Competencies( David McClelland นักจิตวิทยาของมหาวิทยาลัย Harvard อธิบายไว้ว่า “สมรรถนะ เป็นคุณลักษณะของบุคคลเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ความรู้ )Knowledge( ทักษะ )Skills( ความสามารถ )Ability( และคุณลักษณะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทางาน )Other Characteristics( และเป็นคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่ทาให้บุคลากรในองค์กรปฏิบัติงานได้ผล งานที่โดดเด่นกว่าคนอื่นๆ ในสถานการณ์ที่หลากหลาย ซึ่งเกิดจากแรงผลักดันเบื้องลึก )Motives( อุปนิสัย )Traits( ภาพลักษณ์ภายใน )Self-image( และบทบาทที่แสดงออกต่อสังคม )Social role( ที่แตกต่างกัน ทาให้แสดง พฤติกรรมการทางานที่ต่างกัน ...แนวข้อสอบ... ครูต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจตรง กับจรรยาบรรณข้อใด ก.จรรยาบรรณต่อตนเอง ข.จรรยาบรรณต่อสังคม ค.จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ง.จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ เฉลย ง.จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
  • 27. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 27 โมเดลภูเขาน้าแข็ง )Iceberg Model( * ส่วนที่ลอยอยู่เหนือน้าได้แก่ องค์ความรู้ และทักษะต่างๆ * ส่วนที่อยู่ใต้ผิวน้า ได้แก่ แรงจูงใจ อุปนิสัย ภาพลักษณ์ ภายใน และบทบาทที่ แสดงออกต่อสังคม สมรรถนะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ ก.ค.ศ.กาหนด มี 2 สมรรถนะ 1.สมรรถนะหลัก )Core competencies( 2.สมรรถนะประจาสายงาน )Functional Competencies(
  • 28. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 28 1. สมรรถนะหลัก )Core Competencies( ประกอบด้วย 5 สมรรถนะที่ต้องมีเหมือนกันทั้ง โรงเรียน 1.1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 1.2 การบริการที่ดี 1.3 การพัฒนาตนเอง 1.4 การทางานเป็นทีม 1.5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู 2. สมรรถนะประจาสายงาน )Functional Competencies( ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ สาหรับ ครูเท่านั้น คือ 2.1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 2.2 การพัฒนาผู้เรียน 2.3 การบริหารจัดการชั้นเรียน 2.4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน 2.5 ภาวะผู้นาครู 2.6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ สมรรถนะหลัก )Core Competencies( สมรรถนะที่ 1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ )Working Achievement Motivation( หมายถึง ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานในหน้าที่ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ มี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยมีการวางแผน กาหนดเป้าหมาย ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน และ ปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพและผลงานอย่างต่อเนื่อง
  • 29. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 29 สมรรถนะที่ 2 การบริการที่ดี )Service Mind( หมายถึง ความตั้งใจและความเต็มใจในการให้บริการ และการปรับปรุงระบบบริการให้ มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ สมรรถนะที่ 3 การพัฒนาตนเอง )Self- Development( หมายถึง การศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการและวิชาชีพ มีการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม เพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนางาน สมรรถนะที่ 4 การทางานเป็นทีม )Team Work( หมายถึง การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ สนับสนุนเสริมแรงให้กาลังใจแก่เพื่อนร่วมงาน การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นหรือทีมงาน แสดงบทบาทการเป็นผู้นาหรือผู้ตามได้อย่างเหมาะสมในการ ทางานร่วมกับผู้อื่น เพื่อสร้างและดารงสัมพันธภาพของสมาชิก ตลอดจนเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษา ให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย สมรรถนะที่ 5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู )Teacher’s Ethics and Integrity( หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนถูกต้องตามหลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพครู เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน และสังคม เพื่อสร้างความศรัทธาในวิชาชีพครู สมรรถนะประจาสายงาน )Functional Competencies( สมรรถนะที่ 1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ )Curriculum and Learning Management(
  • 30. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 30 หมายถึง ความสามารถในการสร้างและพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการเรียนรู้อย่าง สอดคล้องและเป็นระบบ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยี และการวัด ประเมินผล การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด สมรรถนะที่ 2 การพัฒนาผู้เรียน )Student Development( หมายถึง ความสามารถในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพ กาย และสุขภาพจิต ความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทย การจัดระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ สมรรถนะที่ 3 การบริหารจัดการชั้นเรียน )Classroom Management( หมายถึง การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ การจัดทาข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจา ชั้นเรียน/ประจาวิชา การกากับดูแลชั้นเรียนรายชั้น/รายวิชา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีความสุข และความปลอดภัยของผู้เรียน สมรรถนะที่ 4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน )Analysis & Synthesis & Classroom Research( หมายถึง ความสามารถในการทาความเข้าใจ แยกประเด็นเป็นส่วนย่อย รวบรวม ประมวลหาข้อสรุปอย่างมีระบบและนาไปใช้ในการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ องค์กรหรืองานในภาพรวมและดาเนินการแก้ปัญหา เพื่อพัฒนางานอย่างเป็นระบบ
  • 31. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 31 สมรรถนะที่ 5 ภาวะผู้นาครู )Teacher Leadership( หมายถึง คุณลักษณะและพฤติกรรมของครูที่แสดงถึงความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ส่วนบุคคล และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนโดยปราศจากการใช้อิทธิพล ของผู้บริหารสถานศึกษา ก่อให้เกิดพลังแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ สมรรถนะที่ 6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ )Relationship & Collaborative – Building for Learning Management( หมายถึง การประสานความร่วมมือ สร้างความสัมพันธ์ที่ดี และเครือข่ายกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ...แนวข้อสอบ... 1.ข้อใดเป็นสมรรถนะหลัก (Core Competencies) ของครู ก.การพัฒนาผู้เรียน ข.การบริหารจัดการชั้นเรียน ค.การทางานเป็นทีม ง.ภาวะผู้นาครู เฉลย ค.การทางานเป็นทีม 2.ครูที่มีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานในหน้าที่ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตรงกับสมรรถนะใด ก.การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ ข.ภาวะผู้นาครู ค.การพัฒนาผู้เรียน ง.การมุ่งผลสัมฤทธิ์ เฉลย ง.การมุ่งผลสัมฤทธิ์
  • 32. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 32 วินัยและการรักษาวินัย มาตรา 82 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องรักษาวินัยที่บัญญัติเป็นข้อห้ามและ ข้อปฏิบัติไว้ในหมวดนี้โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ การลงโทษทางวินัย • วัตถุประสงค์การลงโทษทางวินัย ◦ เพื่อส่งเสริมคุณภาพและประสิทธิภาพของข้าราชการ ◦ เพื่อธารงศักดิ์ศรีของข้าราชการ หลักการลงโทษทางวินัย ◦ หลักนิติธรรม ◦ หลักมโนธรรม ◦ หลักคุณธรรม ...แนวข้อสอบ.. ข้อใดไม่ใช่หลักการลงโทษทางวินัยของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ก.หลักนิติธรรม ข.หลักมโนธรรม ค.หลักคุณธรรม ง.หลักความยุติธรรม เฉลย ง.หลักความยุติธรรม
  • 33. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 33 มาตรา 83 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องสนับสนุนการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยด้วยความ บริสุทธิ์ใจและมีหน้าที่วางรากฐานให้เกิดระบอบการปกครองเช่นว่านั้น มาตรา 84 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต เสมอภาคและเที่ยงธรรม มีความวิริยะ อุตสาหะ ขยันหมั่นเพียร ดูแลเอาใจใส่ รักษา ประโยชน์ของทางราชการ และต้องปฏิบัติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพอย่างเคร่งครัด ห้ามมิให้อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยอานาจและหน้าที่ราชการของตน ไม่ว่าจะโดยทางตรง หรือทางอ้อม หาประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับ ประโยชน์ที่มิควรได้ เป็นการทุจริตต่อหน้าที่ราชการ เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ) ไล่ออก !!( มาตรา 85 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไปตาม กฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการและหน่วยงานการศึกษา มติคณะรัฐมนตรี หรือนโยบาย ของรัฐบาลโดยถือประโยชน์สูงสุดของผู้เรียน และไม่ให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการ การปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ และหน่วยงานการศึกษา มติคณะรัฐมนตรีหรือนโยบายของรัฐบาล ประมาทเลินเล่อหรือขาดการเอา ใจใส่ระมัดระวังรักษาประโยชน์ของทางราชการ อันเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ราชการอย่าง ร้ายแรงเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง มาตรา 86 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชาซึ่ง สั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ โดยไม่ขัดขืนหรือหลีกเลี่ยง แต่ ถ้าเห็นว่าการปฏิบัติตามคาสั่งนั้นจะทาให้เสียหายแก่ราชการ หรือจะเป็นการไม่รักษาประโยชน์ของ ทางราชการจะเสนอความเห็นเป็นหนังสือภายในเจ็ดวัน เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาทบทวนคาสั่งนั้นก็ได้ และเมื่อเสนอความเห็นแล้ว ถ้าผู้บังคับบัญชายืนยันเป็นหนังสือให้ปฏิบัติตามคาสั่งเดิม ผู้อยู่ใต้บังคับ บัญชาจะต้องปฏิบัติตาม
  • 34. F a c e b o o k : ช ว น กั น ม า อ่ า น ห นั ง สื อ Facebook : ชวนกันมาอ่านหนังสือ !! หน้า 34 การขัดคาสั่งหรือหลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชา ซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดย ชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ อันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรงเป็น ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง มาตรา 87 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องตรงต่อเวลา อุทิศเวลาของตนให้แก่ ทางราชการและผู้เรียน จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรมิได้ การละทิ้งหน้าที่หรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร เป็นเหตุให้เสียหายแก่ ราชการอย่างร้ายแรง หรือการละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่าสิบห้าวัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรหรือโดยมีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทาง ราชการเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง )ไล่ออก !!( มาตรา 88 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องประพฤติเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน ชุมชน สังคม มีความสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี ช่วยเหลือเกื้อกูลต่อผู้เรียนและระหว่าง ข้าราชการด้วยกันหรือผู้ร่วมปฏิบัติราชการ ต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรมแก่ผู้เรียนและ ประชาชนผู้มาติดต่อราชการ การกลั่นแกล้ง ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ หรือข่มเหงผู้เรียน หรือประชาชนผู้มาติดต่อราชการ อย่างร้ายแรง เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง มาตรา 89 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กลั่นแกล้ง กล่าวหาหรือร้องเรียน ผู้อื่นโดยปราศจากความเป็นจริง การกระทาตามวรรคหนึ่ง ถ้าเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรงเป็นความผิดวินัย อย่างร้ายแรง มาตรา 90 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กระทาการหรือยอมให้ผู้อื่น กระทาการหาประโยชน์อันอาจทาให้เสื่อมเสียความเที่ยงธรรมหรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ในตาแหน่ง หน้าที่ราชการของตน การกระทาตามวรรคหนึ่ง ถ้าเป็นการกระทาโดยมีความมุ่งหมายจะให้เป็นการซื้อขาย หรือ ให้ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งหรือวิทยฐานะใดโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือเป็นการกระทาอันมี