SlideShare a Scribd company logo
1 of 124
Download to read offline
เคมีอินทรีย์                                    2/2554


                                       1. เคมีอินทรีย์
1.1 บทนา
       เคมีอนทรียเป็ นวิชาทีศกษาสมบัตต่างๆ ของสารทีมอะตอมของคาร์บอนเป็ นองค์ประกอบ
            ิ        ์          ่ ึ        ิ              ่ ี
หลัก โดยคาว่าอินทรีย์ มาจากคาว่า Organic หมายถึงร่างกาย หรือ สิงมีชวต ดังนันเรื่องราวของ
                                                                    ่ ีิ         ้
สารอินทรียเป็ นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิงมีชวต สมัยก่อนนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าสารอินทรียได้มา
          ์                               ่ ีิ                                           ์
จากสิงมีชวตเท่านันแต่ ฟริดริด วูหเลอร์ นักเคมีชาวเยอรมัน ได้สงเคราะห์สารอินทรียโดยการเผา
     ่ ีิ          ้                ์                           ั                   ์
แอมโมเนียมไซยาเนตซึงเป็นสารประกอบอนินทรีย์ ปฏิกรยาทีเกิดขึนเป็นดังนี้
                       ่                                ิิ ่ ้

               NH4+NCO-               H2NCONH2

          ั ั
       ปจจุบนนักเคมีได้สงเคราะห์สารอินทรีย์ได้อย่างมากมาย และยังก่ อให้เกิดอุ ตสาหกรรม
                           ั
ทางด้า นเคมีอีก ด้ว ย การศึก ษาสารเหล่ า นี้ จ าเป็ น ต่ อ การพัฒ นาอุ ต สาหกรรมและเทคโนโลยี
นอกจากนี้ในการศึกษาเพื่อให้เข้าใจถึงถึงสมบัตจะต้องเข้าใจพันธะทีเกิดระหว่างอะตอมรูปร่างของ
                                                ิ                   ่
โมเลกุลอีกด้วย ถึงจะเข้าใจสมบัตของสารอินทรียได้อย่างลึกซึง
                               ิ                  ์           ้

        1.1.1 พันธะของคาร์บอน
        คาร์บอนเป็ นธาตุทอยู่ในหมู่ 4A หรือหมู่ 14 มีเวเลนซ์อเล็กตรอนทังหมด 4 ตัวจึงสามารถ
                               ่ี                               ิ         ้
เกิดพันธะโคเวเลนซ์ได้ทงหมด 4 พันธะ โดย C สามารถใช้อเล็กตรอนร่วมกันได้ตงแต่ 1 คู่ 2 คู่
                          ั้                                  ิ                  ั้
หรือ 3 คู่ เกิดเป็น พันธะเดียว (single bond) พันธะคู่ (double bond) หรือ พันธะสาม (triple bond)
                             ่


                      C                                               C



         พันธะเดียวทังหมด 4 พันธะ
                 ่ ้                                พันธะเดียว 2 พันธะและพันธะคู่ 1 พันธะ
                                                            ่

                                                                      C



               พันธะคู่ 2 พันธะ                   พันธะเดียว 1 พันธะและพันธะสาม 1 พันธะ
                                                          ่


สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                    หน้า 1
เคมีอินทรีย์                                   2/2554

       1.1.2 ไฮบริ ไดเซชันกับสารประกอบอิ นทรีย์
       สารอินทรียเป็ นสารโคเวเลนซ์ท่มรูปร่างต่างๆ ขึนอยู่กบการสร้างพันธะของคาร์บอน การ
                  ์                     ี ี          ้    ั
พิจารณาว่าโครงสร้างของสารอินทรียมโครงสร้างอย่างไรต้องอาศัยทฤษฏีไฮบริไดเซชันเข้าช่วยใน
                                    ์ ี
การอธิบายโครงสร้างดังกล่าว ซึ่ง ทฤษฎีไฮบริไดเซชันเป็ นทฤษฎีท่ช่วยอธิบายการเกิดพันธะของ
                                                              ี
สารประกอบอินทรีย์ได้เป็ นอย่างดี ซึ่งสามารถอธิบายการเกิดรูปร่างของคาร์บอนได้ ซึ่งชนิดของ
ไฮบริไดเซชันทีเกิดกับสารอินทรียได้แก่ sp3 sp2 และ sp
              ่                ์

               1) sp3 ไฮบริ ดออร์บิทล ั
               เกิดจากออร์บทล 2s รวมกับ 2px 2py และ 2pz จัดตัวใหม่จะเกิดเป็ นพันธะเดียว
                             ิ ั                                                       ่
ทังหมด รูปร่างทีได้จะเป็ นทรงสีหน้า (tetrahedral) โดยมีมุมระหว่างแกนทังสีของออร์บทลเท่ากับ
  ้             ่              ่                                      ้          ิ ั
109.5 องศาดังรูป




ตัวอย่างเช่นโมเลกุล CH4 เกิดไฮบริไดเซชันแบบ sp3 ซึง H จะนา s ออร์บทลสร้างพันธะซิกมากับ
                                                  ่               ิ ั
   3
sp ไฮบริดออร์บทลดังรูป
                ิ ั


สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                               หน้า 2
เคมีอินทรีย์                                   2/2554




              2) sp2 ไฮบริ ดออร์บิทลั
              เกิดจากการรวมกันของออร์บทล s ออร์บทลและออร์บทล p 2 ออร์บทล ได้ไฮบริด
                                            ิ ั       ิ ั       ิ ั            ิ ั
ออร์บทล 3 ออร์บทล ซึงรูปร่างทีได้จะเป็ นสามเหลียมแบนราบ (trigonal planar) มุมทีแกนของออร์
     ิ ั        ิ ั ่          ่                ่                               ่
บิทลทามุมกัน 120 องศา และ p ออร์บทลทีเหลือยังคงอยู่ในแนวแกนเดิมซึงตังฉากกับระนาบของ
   ั                                  ิ ั ่                           ่ ้
ออร์บทลทีมรูปร่างเป็ นสามเหลี่ยมแบนราบ ซึ่งออร์บทลดังกล่าวที่เหลือนี้ใช้สาหรับสร้างพันธะไพ
      ิ ั ่ ี                                     ิ ั
(-bond)




ตัวอย่างการเกิดสร้างพันธะซิกมาของ sp2 ไฮบริดออร์บทลได้แ ก่โมเลกุลของอีทน (C2H4) ซึ่ง
                                                  ิ ั                   ี
คาร์บอนกับคาร์บอนจะเกิดพันธะซิกมาหนึ่งพันธะกับพันธะไพซึ่งเกิดจาก p ออร์บทลทีไม่ได้เกิด
                                                                          ิ ั ่
ไฮบริดออร์บทลอีกหนึ่งพันธะแสดงดังรูป
           ิ ั




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                               หน้า 3
เคมีอินทรีย์                                   2/2554

                 2) sp ไฮบริ ดออร์บิทล
                                     ั
                 เกิดจากการรวมกันของออร์บทล s 1 ออร์บทลและ ออร์บทล p 1 ออร์บทลซึงได้
                                          ิ ั          ิ ั           ิ ั         ิ ั ่
รูปร่างทีเป็นลักษณะเป็นเส้นตรงโดยจะเหลือ p ออร์บทล 2 ออร์บทลเพื่อสร้างพันธะไพ sp ทีเกิดขึน
         ่                                      ิ ั        ิ ั                     ่     ้
มีมมตามแนวแกนออร์บทลเท่ากับ 180 องศาดังรูป
   ุ                    ิ ั




ตัวอย่างโมเลกุลทีงายต่อการอธิบายการซ้อนเหลื่อมของไฮบริดออร์บทลดังกล่าวเช่น โมเลกุลของอี
                 ่่                                         ิ ั
ไทน์ (ethyne) มีพนธะซิกมาระหว่างคาร์บอนกับคาร์บอนทีเกิดจาก sp ของคาร์บอนทังสองและ p
                    ั                                ่                       ้
ออร์บทลที่เหลือจากการสร้างไฮบริดออร์บทลสองออร์บทลจะเกิดการซ้อนเหลื่อมเกิดเป็ นพันธะ 2
      ิ ั                             ิ ั        ิ ั
พันธะดังรูป




        1.1.3 การเขียนสูตรโครงสร้างสารประกอบอิ นทรีย์
        สูตรโครงสร้างของสารเป็ นสูตรทีแสดงการจัดเรียงตัวของอะตอมโดยการเขียนสูตรนันอาจ
                                     ่                                             ้
เขียนได้หลายแบบตัวอย่างเช่น สูตรโครงสร้างลิวอิสแบบจุด (dot structure) สูตรโครงสร้างลิวอิส
แบบ dash สูตรโครงสร้างแบบย่อ (condensed formula) และสูตรโครงสร้างแบบเส้นและมุม
(bond-line formula)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                               หน้า 4
เคมีอินทรีย์                                           2/2554




ตาราง 1.1 สูตรโมเลกุลและโครงสร้างของสารประกอบอินทรียบางชนิด
                                                      ์
                                                 สูตรโครงสร้าง
                                                      โครงสร้างแบบ                   โครงสร้างแบบ
               สูตร
 ชื่อสาร                โครงสร้างลิ วอิ สแบบ dash             ย่อ                     เส้นและมุม
             โมเลกุล
                                 formula                 (condensed                    (bond-line
                                                           formula)                     formula)
                            H     H      H  H
                                                    CH3CH2CH2CH3
 บิวเทน       C4H10     H   C     C      C  C   H            หรือ
                            H     H      H  H           CH3(CH2)2CH3
                                H       H       H       H

                        H       C       C       C       C       H
 2-เมทิล
             C5H12              H               H       H           (CH3)2CHCH2CH3
 บิวเทน
                                H       C       H

                                        H
                                                    H


 โพรพีน       C 3H 6        H       C       C       C       H        CH2=CHCH3
                                    H       H       H
                                    H       H
   เอ
             C 2H 6 O       H       C       C       O       H         CH3CH2OH               OH
 ทานอล
                                    H       H
                                        O       H
  เอทา
             C 2H 4 O           H       C       C       H              CH3CHO
   นาล
                                                H




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                       หน้า 5
เคมีอินทรีย์                                      2/2554

                                                   สูตรโครงสร้าง
                                                        โครงสร้างแบบ              โครงสร้างแบบ
              สูตร
 ชื่อสาร                  โครงสร้างลิ วอิ สแบบ dash           ย่อ                  เส้นและมุม
            โมเลกุล
                                  formula                (condensed                 (bond-line
                                                           formula)                  formula)
                                      H       O                                     O
  กรดเอ
             C 2H 4 O 2       H       C       C       O       H       C 2H 4O 2
 ทาโนอิก
                                                                                         OH
                                      H



        การเขียนสูตรโครงสร้างแบบต่างๆ ดังกล่าวมาเป็ นการจัดเรียงตัวของอะตอมทีประกอบกัน
                                                                               ่
เป็ นโมเลกุลลักษณะ 2 มิติ แต่ความเป็ นจริงอะตอมของธาตุในโมเลกุลมีการจัดเรียงตัวแบบ 3 มิติ
ดังตาราง 1.2

ตาราง 1.2 โครงสร้าง 3 มิตของโมเลกุลบางชนิด
                         ิ
                                                สูตรโครงสร้าง
              สูตร
 ชื่อสาร                  โครงสร้างลิ วอิ สแบบ dash
            โมเลกุล                                           โครงสร้าง 3 มิ ติ
                                  formula
                                  H       H       H       H

                          H       C       C       C       C       H
 บิวเทน       C4H10
                                  H       H       H       H


                                                      H

                              H       C       C       C       H
 โพรพีน       C 3H 6
                                      H       H       H



                                      H       H


   เอ                         H       C       C       O       H
             C 2H 6 O
 ทานอล                                H       H




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                    หน้า 6
เคมีอินทรีย์                                      2/2554

                                                สูตรโครงสร้าง
               สูตร
 ชื่อสาร                  โครงสร้างลิ วอิ สแบบ dash
             โมเลกุล                                          โครงสร้าง 3 มิ ติ
                                  formula

  อีไทน์       C 2H 2




 เบนซีน        C 6H 6




        โดยทัวไปโครงสร้างสามมิตแสดงได้ยาก ดังนันจึงมีการกาหนดการวาดโครงสร้างสามมิติ
             ่                  ิ               ้
เพื่อสะดวกในบอกการจัดเรียงตัวของอะตอมทีเกิดขึนเช่น CH4
                                       ่ ้

                                             =


ในการวาดโครงสร้างเพื่อแสดงโครงสร้างสามมิตโดยเส้น
                                          ิ                แสดงว่าพันธะทีเกิดขึนและ
                                                                           ่ ้
อะตอมทีเกาะกับพันธะอยูในระนาบเดียวกับกระดาษ เส้น
       ่               ่                                 แสดงอะตอมทียนออกมาจาก
                                                                      ่ ่ื
ระนาบกระดาษและเส้น          แสดงอะตอมทีอยูดานหลังของระนาบกระดาษ
                                         ่ ่ ้

       1.1.4 หลักการเขียนกลไกการเกิ ดปฏิ กิริยา
       ปฏิกรยาเคมีคอการเปลียนแปลงสารตังต้นไปเป็ นสารผลิตภัณฑ์ซงเกิดขึนผ่านกระบวนการ
            ิิ        ื        ่            ้                            ่ึ   ้
สลายพันธะและสร้างพันธะ ในการสลายพันธะสามารถจาแนกออกเป็ น 2 แบบหลักๆ ได้แก่การ
สลายพันธะแบบ Homolytic cleavage และ heterolytic cleavage
       1) การสลายพันธะแบบโฮโมไลติก (Homolytic cleavage) เกิดจากอะตอมเกิดการสลาย
พันธะโดยอิเล็กตรอนสองตัวทีสร้างพันธะร่วมกันแยกออกจากกันไปอยู่ทอะตอมหรือหมู่ของอะตอม
                             ่                                        ่ี
คนละ 1 ตัว ซึงเรียกว่าอิเล็กตรอนอิสระ (free radical) ซึงจะมีสมบัตเป็ นกลางไม่เป็ นประจุบวกหรือ
             ่                                        ่          ิ
ประจุลบ ในการเขียนลูกศรเพื่ออธิบายการสลายพันธะชนิดนี้จะเขียนลูกศรครึงหัว ซึงแสดงให้เห็น
                                                                            ่     ่


สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                   หน้า 7
เคมีอินทรีย์                                       2/2554

ว่าการเคลื่อนทีของอิเล็กตรอนนันมีการเคลื่อนทีของอิเล็กตรอนเพียงแค่หนึ่งตัวเท่านันตัวอย่างการ
               ่              ้             ่                                   ้
สลายพันธะแบบโฮโมไลติก เช่น การสลายพันธะของ Br2 ดังสมการ



ซึงโบรมีนเรดิคลสามารถเกิดปฏิกรยาต่อได้กบโมเลกุลอื่นๆ และสามารถเขียนลูกศรแสดงกลไกการ
  ่            ั             ิิ        ั
เคลื่อนทีของอิเล็กตรอนดังรูป
         ่



ซึงปฏิกรยาทีเกิดดังแสดงเรียกว่าปฏิกรยาแบบเรดิคล (radical reaction)
  ่     ิิ ่                       ิิ         ั
        2) การสลายพันธะแบบเฮเทอร์โรไลติก (Heterolytic cleavage) การสลายพันธะแบบนี้จะ
เกิดจากอิเล็กตรอนที่ร่วมพันธะเกิดการสลายพันธะโดยให้อิเล็กตรอนทังสองตัวให้แก่ อะตอมใด
                                                                     ้
อะตอมหนึ่งทังสองตัว ในการแสดงลู กศรการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนนันจะใช้หวลูกศรปกติแสดง
             ้                                                     ้   ั
กลไกการเกิดปฏิกรยา การสลายพันธะแบบนี้จะได้โมเลกุลหรืออะตอมสองชนิดทีมประจุต่างกันคือ
                  ิิ                                                     ่ ี
อะตอมหรือโมเลกุลทีมประจุบวกเรียกว่า “แคทไอออน” (cation) และประจุลบเรียกว่า “แอนไอออน”
                     ่ ี
(anion)



ตัวอย่างปฏิกรยาทีเกิดขึน
            ิิ ่ ้




Ethoxide anion จะไปดึงโปรตอนจาก acetone พันธะระหว่างไฮโดรเจนกับคาร์บอนแตกออกโดย
อิเล็กตรอนทังสองตัวทีสร้างพันธะร่วมกันระหว่างคาร์บอนกับไฮโดรเจนวิงไปทางด้านคาร์บอนทัง
              ้         ่                                                ่                     ้
สองอิเ ล็ก ตรอน สารอิน ทรีย์ท่เ กิด เป็ น ผลิต ภัณฑ์เ กิด เป็ นแอนไอออนเกิดขึ้นโดยประจุล บอยู่ท่ี
                                ี
ตาแหน่งคาร์บอน เรียกสารประเภทนี้ว่าคาร์แบนไอออน (cabanion)
        ปฏิกิรยาบางชนิดเมื่อ เกิดการสลายพันธะจะเกิดคาร์โบแคทไอออน (cabocation) ซึ่ง
                ิ
สารอินทรีย์ด ังกล่ า วมีค าร์ บอนที่ติด ประจุบ วกเช่น ปฏิกิร ิยาของ 2-butene รับ โปรตอนเกิด
ผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นประจุบวกทีเรียกว่า carbocation แสดงดังสมการ
                              ่


สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                      หน้า 8
เคมีอินทรีย์                                     2/2554




และเมือพิจารณาอะตอมคาร์บอนทีมประจุบวกพบว่ามีโครงสร้างแบบแบนราบและความเสถียรของ
         ่                           ่ ี
คาร์โบแคทไอออนแต่ละชนิ ดขึ้นกับการกระจายตัวของประจุหรือการกระจายตัวของอิเล็กตรอน
หากพิจารณาในแง่ของหมู่แทนทีมผลอย่างไรในการช่วยให้คาร์โบแคทไอออนเสถียร เมื่อพิจารณา
                                 ่ ี
ในส่วนของออร์บทลพบว่า ความหนาแน่ นของอิเล็กตรอนจากพันธะซิกมาที่เกิดจากคาร์บอนกับ
                 ิ ั
ไฮโดรเจนสร้างพันธะกันสามารถเกิดซ้อนเหลื่อมบางส่วนกับ p ออร์บทลว่างของคาร์โบแคทไอออน
                                                                 ิ ั
ทาให้คาร์โบแคทไอออนมีความเป็ นประจุบวกน้อยลง ส่งผลให้คาร์โบแคทไอออนเกิดความเสถียร
ปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึนนี้เรียกว่าการเกิดไฮเปอร์คอนจุเกต (hyperconjugation) สารประกอบอีกชนิด
                     ้
หนึ่งทีทาให้ความเป็นประจุบวกน้อยนันก็คอสารประกอบทีมพนธะคู่สลับพันธะเดียวซึงเรียกโมเลกุล
       ่                                 ้ ื           ่ ี ั               ่ ่
พวกนี้ว่าเกิด คอนจุเกชัน (conjugation) ซึงทาให้ p ออร์บทลทีสร้างพันธะคู่เกิดซ้อนเหลื่อมกับ p
                                             ่            ิ ั ่
ออร์บทลของคาร์โบแคทไอออนดังภาพ
      ิ ั
                                ออร์ บิทลที่ซ้อนเหลือม
                                        ั           ่       p ออร์ บิทลที่วาง
                                                                      ั ่




                                  การเกิดไฮเปอร์คอนจุเกต




                   การเกิดคอนจุเกชันระหว่างคาร์โบแคทไอออนกับพันธะคู่
ดังนันสามารถเรียงความเสถียรของคาร์โบแคทไอออนได้ดงนี้
     ้                                             ั




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                 หน้า 9
เคมีอินทรีย์                                   2/2554

หมู่ R แทนสารอินทรียท่มาเกาะกับคาร์บอนซึงเรียกหมู่เหล่านี้ว่าหมู่แอลคิล และตาแหน่ งคาร์โบ
                       ์ ี                     ่
แคทไอออนหากมีหมู่แอลคิลมาเกาะสามตัวจะเรียกว่า tertiary carbocation (3o-carbocation)
แทนที่สองตัวเรียกว่า secondary carbocation (2o-carbocation) แทนที่หนึ่งหมู่เรียก primary
carbocation (1o-carbocation)
        ความเสถียรของเรดิคลก็เป็นแนวโน้มเดียวกับคาร์โบแคทไอออนคือ tertiary radical เสถียร
                            ั                ่
กว่า secondary radical เสถียรกว่า primary radical ตามลาดับ
        ส่วน carbanions จะมีความเสถียรแตกต่างจาก carbocations และ radicals หากมีหมู่
แทนทีมากจะเสถียรน้อยและหากมีหมูแทนทีน้อยจะมีความเสถียรมาก
      ่                            ่     ่




       1.1.5 ปฏิ กิริยาในเคมีอินทรีย์
       ปฏิกรยาทีเกิดขึนในเคมีอนทรียนนอาจจาแนกออกเป็น 4 ชนิดได้แก่
            ิิ ่ ้              ิ     ์ ั้
       1) ปฏิกรยาแทนที่ (substitution reaction) เป็ นปฏิกรยาที่เกิดจากการแทนที่ของกลุ่ม
                 ิิ                                      ิิ
โมเลกุลหรืออะตอมด้วยโมเลกุลหรืออะตอมอื่นๆ ดังตัวอย่าง




         2) ปฏิกรยาการเติม (addition reaction) เป็ นปฏิกรยาทีเกิดจากสารอินทรียทประกอบด้วย
                ิิ                                      ิิ ่                  ์ ่ี
พันธะคู่ พันธะสาม เกิดปฏิกรยากับสารทีเข้าทาปฏิกรยาทาให้จานวนพันธะลดลงเนื่องจากใช้ไปใน
                          ิิ           ่           ิิ
การสร้างพันธะกับสารทีเข้าทาปฏิกรยา ดังตัวอย่าง
                      ่          ิิ




       3) ปฏิกรยาการกาจัด (elimination reaction) เป็ นปฏิกรยาที่เกิดตรงกันข้ามกับปฏิกรยา
               ิิ                                         ิิ                         ิิ
การเติม เป็นการกาจัดสารออกจากสารตัวหลัก ดังตัวอย่าง




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                             หน้า 10
เคมีอินทรีย์                                      2/2554


        4) ปฏิกรยาย้ายหมู่ (rearrangement reaction) เป็ นปฏิกรยาทีเกิดจากการย้ายหมู่ทเกาะ
               ิิ                                            ิิ ่                    ่ี
ทาให้เกิดโครงสร้างใหม่เกิดขึนดังแสดง
                            ้




        1.1.6 ปฏิ กิริยา SN1 SN2 E1 และ E2
        ปฏิกิรย าเคมีจ ะเกิด ขึ้นเร็ว หรือ ช้า นันเกิดจากสารตัง ต้นว่ามีผ ลมากน้ อ ยอย่างไรในการ
              ิ                                  ้            ้
เกิดปฏิกรยา ซึงกฎอัตราจะเป็นตัวบ่งบอกว่าสารชนิดนันมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกรยาตัวอย่างเช่น
        ิิ ่                                             ้                         ิิ
ปฏิกรยาระหว่างเบสกับคลอโรมีเทนได้ผลิตภัณฑ์เป็ นแอลกอฮอล์ เมื่อติดตามปฏิกรยาเคมีพบว่า
     ิิ                                                                               ิิ
สารทังสองชนิดมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกรยาเคมีโดยอัตราการเกิดปฏิกรยาเคมีมอนดับเท่ากับ สอง
      ้                                    ิิ                            ิิ       ีั
ซึงขึนอยูกบเบสอันดับหนึ่งและคลอโรมีเทนอันดับหนึ่ง มีกลไกการเกิดปฏิกรยาดังนี้
  ่ ้ ่ ั                                                                   ิิ




                                       r = k[OH-][CH3Cl]

ซึง OH- จะเกิดปฏิกรยาบริเวณคาร์บอนซึงมีสภาพขัวเป็ นบวก OH- จึงทาหน้าทีทเรียกว่านิวคลีโอ
  ่                 ิิ                  ่            ้                ่ ่ี
ไฟล์ (Nucleophile) และคลอรีนหลุดออกจากโมเลกุ ลเราเรียกสารที่หลุดออกจากโมเลกุ ลนี้ว่า
Leaving group ปฏิกรยาดังกล่าวเรียกว่าปฏิกรยาแบบ SN2 ซึงมาจาก Substitution, Nucleophilic,
                     ิิ                    ิิ              ่
bimolecule เป็นปฏิกรยาแทนทีของนิวคลีโอไฟล์ทขนอยูกบโมเลกุลสองโมเลกุล
                     ิิ       ่               ่ี ้ึ ่ ั
        เมื่อศึกษาปฏิกรยา 2-chloro-2-methylpropane พบว่าไม่เกิดปฏิกรยาแบบ SN2 เพราะ
                        ิิ                                         ิิ
ความเกะกะของโมเลกุลเมทิลที่บดบังคาร์บอนดังนันปฏิกรยาจึงยอมหลุดคลอรีนอะตอมออกก่อน
                                                   ้    ิิ
      o
เกิด 3 -คาร์โบแคทไอออนจากนันเบสจึงเข้าทาปฏิกรยาต่อเราเรียกปฏิกรยาแบบนี้ว่าเกิดแบบ SN1
                                ้                  ิิ           ิิ
(Substitution, Nucleophilic, Unimolecular)




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                   หน้า 11
เคมีอินทรีย์                                              2/2554




เมือเปรียบอัตราการเกิดปฏิกรยาแบบ SN2 กับโมเลกุลต่างๆ ได้ความสัมพันธ์ดงนี้
  ่                       ิิ                                         ั




         Methyl             1o                2o            Neopentyl                     3o
         (30)               (1)              (0.02)         (0.00001)                   (~0)

ปฏิกิร ิยาเคมีท่เ กิด ปฏิกิร ิย าก าจัดส่ ว นมากเกิดที่อุ ณ หภูม ิสูง และใช้เ บสที่แก่ ดง ตัว อย่า งซึ่งเป็ น
                ี                                                                       ั
ปฏิกรยาทีเกิดแบบ E2
    ิิ ่




         จากปฏิกรยาข้างต้นพบว่ามีปฏิกรยาทีเกิดแบบ SN2 เช่นกันแต่รอยละของผลิตภัณฑ์น้อย
                  ิิ                     ิิ ่                          ้
กว่าการเกิดแบบ E2 ผลิตภัณฑ์ท่เกิดมากจะเรียกผลิตภัณฑ์นันว่าเป็ น major product และ
                                     ี                        ้
ผลิตภัณฑ์ทเี่ กิดน้อยกว่าเรียกว่า minor product
         แต่เมือใช้นิวคลีโอไฟล์ทแย่ (เบสอ่อน) และใช้ตวทาละลายทีมขวจะเกิดแบบ E1
              ่                  ่ี                  ั          ่ ี ั้
เมือเปรียบเทียบการเกิดปฏิกรยา SN1 SN2 E1 และ E2 สรุปได้ดงตารางที่ 1.3
  ่                           ิิ                            ั




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                               หน้า 12
เคมีอินทรีย์                                         2/2554

ตารางที่ 1.3 สรุปปฏิกรยาแบบ SN1 SN2 E1 และ E2
                     ิิ
       CH3X                      RCH2X               RR’CHX                   RR’R’’CX
                        Bimolecular reaction                               SN1/E1 หรือ E2
ปฏิกรยาแบบ SN2
    ิิ                  ปฏิ กิ ร ิ ย าแบบ SN2 ปฏิ กิ ร ิ ย าแบบ SN2     เกิดปฏิกิรยา SN1/E1
                                                                                   ิ
                        ยกเว้นทาปฏิกรยากับ ซึ่ ง เกิ ด กั บ เบสอ่ อ น
                                        ิิ                              และที่อุ ณ หภู ม ิต่ า จะ
                        เบสแก่ [(CH3)3CO-] เช่น I- CN- RCO2-            เกิด SN1 ได้ดี เมื่อใช้
                        จะเกิดแบบ E2          และหากท าปฏิกิร ิย า      เบสแก่ (RO-) จะเกิด
                                              กับเบสแก่จะเกิดแบบ        แบบ E2
                                              E2

       1.1.7 อิ ทธิ พลต่างๆ ในปฏิ กิริยาเคมี
       การศึก ษาอิทธิพ ลที่เ กิดขึ้นในปฏิกิรย าเคมีเ ป็ น ตัว ช่ว ยในการทานายต าแหน่ ง ของการ
                                            ิ
เกิดปฏิกิรยาเคมีเบื้องต้นได้ ทาให้สามารถเข้าใจขันตอนกลไกการเกิดปฏิกรยาแต่ละขันตอนได้
           ิ                                     ้                         ิิ         ้
อิทธิพลทีมในปฏิกรยาเคมีทควรทราบมีดงนี้
         ่ ี      ิิ      ่ี           ั

        1) ผลของไฮบริ ไดเซชัน (The effect of hybridization)
        ปฏิกิรยาเคมีอนทรียบางปฏิกิรยาถ้าพิจารณาแล้วพบว่าเป็ นปฏิกรยาที่เกิดจากเบสมาทา
              ิ      ิ      ์       ิ                            ิิ
ปฏิกรยากับสารตังต้น ซึงเป็ นทีทราบกันดีว่าเบสจะดึงโปรตอนจากสารอินทรีย์ ดังนันถ้าหากทราบ
     ิิ          ้     ่      ่                                             ้
ว่าโปรตอนตัวไหนในโมเลกุลอินทรีย์ม ีความเป็ นกรด ก็จะทราบได้ว่าเบสที่เข้าทาปฏิกิรยาจะดึง
                                                                                 ิ
โปรตอนที่ตาแหน่ งใดบนโมเลกุลอินทรีย์ เมื่อพิจารณาโมเลกุลของสารอินทรีย์ท่มไฮบริไดเซชัน
                                                                          ี ี
ต่างกันจะมีสภาพความเป็ นกรดต่างกันโดย Ethyne มีความเป็ นกรดมากกว่า Ethene และ Ethene
มีความเป็นกรดมากว่า Ethane




ความเป็ นกรดดังกล่าวสามารถอธิบายได้โดย อิเล็กตรอนที่ 2s ซึ่งมีพลังงานต่ ากว่า 2p ออร์บทล
                                                                                      ิ ั
ส่งผลให้อเล็กตรอนที่ 2s ถูกดึงดูดจากนิวเคลียสได้มาก ดังนันหากมีเปอร์เซ็นต์ s ในไฮบริดออร์
         ิ                                               ้
บิทลมากก็จะทาให้อเล็กตรอนระหว่างคาร์บอนกับไฮโดรเจนเบาบางส่งผลให้โปรตอนหลุดได้ง่าย
     ั             ิ
เมื่อคานวณเปอร์เซ็นต์ของ s ออร์บทลในไฮบริดออร์บทลของ sp จะได้เปอร์เซ็นต์เท่ากับ 50% s
                                  ิ ั             ิ ั

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                       หน้า 13
เคมีอินทรีย์                                    2/2554

character ของ sp2 ได้เท่ากับ 33.3 s character และ sp3 มีเปอร์เซ็นต์ s character เท่ากับ 25%
ดังนันจึงสรุปได้ว่ายิงมีเปอร์เซ็นต์ s character มากจะมีความเป็นกรดทีแรง
     ้               ่                                              ่

         2) ผลของการเหนี่ ยวนาอิ เล็กตรอนผ่านพันธะ (Inductive effect)
         เป็ นผลของการเหนี่ยวนาดึงกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนผ่านพันธะส่งผลให้โปรตอนในโมเลกุล
อินทรียหลุดได้ง่ายขึน เช่นเมื่อมี F ในโมเลกุล F จะดึงกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนผ่านพันธะส่งผลให้
       ์            ้
โปรตอนทีอยูใกล้กบ F มีความเป็นกรดสูงเมือเปรียบเทียบกับโปรตอนทีอยูห่างจาก F
           ่ ่    ั                       ่                      ่ ่




      3) ผลของเรโซแนนซ์ (Resonance effect)
      สารอินทรียบางชนิดเมื่อหลุดโปรตอนสามารถเกิดเรโซแนนซ์ได้จงทาให้โมเลกุลดังกล่าว
                ์                                            ึ
สามารถอยูในสภาพทีเป็นประจุลบได้ดงตัวอย่าง
         ่        ่              ั




       4) ผลของความเกะกะ (Steric effect)
       เป็ นผลเนื่องจากความเกะกะของโมเลกุล ดังตัวอย่างที่แสดงเบส OH- ไม่สามารถเข้าทา
ปฏิกรยากับสารตังต้นได้เนื่องมาจากผลของ steric effect นันเอง
    ิิ          ้                                      ้




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                               หน้า 14
เคมีอินทรีย์                               2/2554

1.2 สารประกอบอิ นทรีย์
        1.2.1 หมู่ฟังก์ชน
                        ั
                                                        ั ั                 ั ั
        การจาแนกสารประกอบอินทรียนันสามารถแบ่งตามหมู่ฟงก์ชนของสาร ซึงหมู่ฟงก์ชนเป็ น
                                   ์ ้                                ่
ตัว บอกสมบัติเ ฉพาะในโมเลกุ ล ของสารประกอบอิน ทรีย์ สมบัติข องการเกิด ปฏิกิร ิย าของ
                                    ั ั                                         ั ั
สารประกอบอินทรียจะเป็ นไปตามหมู่ฟงก์ชนที่เป็ นองค์ประกอบของสารนัน จึงอาจใช้หมู่ฟงก์ชน
                      ์                                         ้
                                                                  ั ั
เป็ นเกณฑ์ในการจาแนกสารประกอบอินทรียชนิดต่ างๆ ได้ ตัวอย่างหมู่ฟงก์ชนและประเภทของ
                                        ์
สารประกอบอินทรียแสดงดังตารางที่ 2.1
                    ์




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                         หน้า 15
เคมีอินทรีย์                                 2/2554

                     ่ ั ั
ตารางที่ 1.4 ตารางหมูฟงก์ชน ชื่อ สูตรโครงสร้าง
                                                            ตัวอย่างสารประกอบ
                                          ประเภทของ
      ่
    หมูฟังก์ชน
             ั               ่
                       ชื่อหมูฟังก์ชน
                                    ั                       ชื่อ         สูตร
                                          สารประกอบ
                                                                       โครงสร้าง
                             ี ่ ั ั
                       ไม่มหมูฟงก์ชน
                       เป็นพันธะเดียว
                                    ่         แอลเคน       มีเทน         CH4
                        (single bond)
                      พันธะคู่ระหว่าง C
                                              แอลคีน        อีทน
                                                               ี
                       (double bond)
                      พันธะสามระหว่าง
                                C           แอลไคน์        อีไทน์
                         (triple bond)
                          ไฮดรอกซี
                                           แอลกอฮอล์      เอทานอล
                          (hydroxy)
                                                           เมทอกซี
                         แอลคอกซี                            มีเทน
                                              อีเทอร์
                          (alkoxy)                        (ไดเมทิล
                                                            อีเทอร์)
                         คาร์บอกซิล       กรดอินทรีย์    กรดเอทาโน
                         (carboxyl)       หรือกรดคาร์    อิก (กรดแอ
                                           บอกซีลกิ          ซิตก)
                                                                 ิ
                      แอลคอกซีคาร์บอ                      เมทิลโพร
                             นิล                          พาโนเอท
                                            เอสเทอร์
                      (alkoxycarbonyl)                   (เมททิลแอ
                                                            ซีเตต)

                      คาร์บอกซาลดีไฮด์      แอลดีไฮด์     เมทานาล
                      (carboxaldehyde)
                          คาร์บอนิล
                          (carbonyl)             คีโตน   โพรพาโนน

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                           หน้า 16
เคมีอินทรีย์                                    2/2554

                                                               ตัวอย่างสารประกอบ
                                           ประเภทของ
      ่
    หมูฟังก์ชน
             ั                ่
                        ชื่อหมูฟังก์ชน
                                     ั                         ชื่อ         สูตร
                                           สารประกอบ
                                                                          โครงสร้าง
                            อะมิโน                            อะมิโน
                                               เอมีน
                           (amino)                            มีเทน
                            เอไมด์                           เมทานา
                           (amide)             เอไมด์
                                                               ไมด์

                                                                               ั ั
           การแบ่งประเภทของสารประกอบอินทรีย์ นอกจากจะแบ่งตามชนิดของหมู่ฟงก์ชนแล้วอาจ
แบ่ง เป็ น กลุ่ ม ใหญ่ ๆ ตามชนิดของธาตุ ท่เ ป็ นองค์ประกอบ เช่น สารประกอบที่มแ ต่ ค าร์บอนกับ
                                          ี                                  ี
ไฮโดรเจนเราจะเรียกสารกลุ่มนี้ว่า สารประกอบไฮโดรคาร์บอน สารทีมออกซิเจนเป็ นองค์ประกอบ
                                                                     ่ ี
สารที่มไนโตรเจนเป็ นองค์ประกอบ และสารประกอบอินทรีย์ท่มทงออกซิเจนและไนโตรเจนเป็ น
         ี                                                    ี ี ั้
องค์ประกอบ

         1.2.2 การเรียกชื่อ (Nomenclature)
                 1.2.2.1 การเรียกชื่อสารประกอบแอลเคน
                                                                   ี ั
                 แม้ว่าการเรียกชื่อ n-alkane (normal alkane) จะไม่มปญหาเพราะเป็ นการเรียก
                                                                               ั
จากตัวเลขในภาษากรีก แต่เมื่อโครงสร้างของคาร์บอนอะตอมมีโซ่กิ่ งจะทาให้เกิดปญ หาในการ
เรียกชื่อ นักเคมีสมัยแรกๆ จึงเรียกชื่อโครงสร้างแต่ละชนิดแตกต่างกันออกไป โดยถ้ามีคาร์บอน 1
อะตอมต่อกับอะตอมที่ 2 จากปลายโซ่จะเรียกว่า ไอโซ- (iso- ) ดังนัน butane จึงมี 2 การจัดเรียง
                                                               ้
ตัวได้ 2 แบบหรือเรียกว่า butane มี 2 ไอโซเมอร์นนคือ
                                                 ั้




สาหรับเพนเทนยังมีไอโซเมอร์ทมคาว่า นีโอ- (neo- ) นาหน้าอีกด้วยจึงทาให้ม ี 3 ไอโซเมอร์ คือ
                           ่ี ี




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                 หน้า 17
เคมีอินทรีย์                                                2/2554

อย่างไรก็ตามเมือจานวนคาร์บอนอะตอมเพิมขึนจานวนไอโซเมอร์กเพิมขึนด้วย เช่น เฮกเซนจะมี 5
                  ่                                ่ ้                       ็ ่ ้
                                                                   ั
ไอโซเมอร์ เฮปเทนมี 8 ไอโซเมอร์ ทาให้การเรียกชื่อมีปญหามากขึนเรื่อยๆ จึงมีความจาเป็ นต้อง
                                                                                ้
ตังระบบการเรียกชื่อขึน
  ้                      ้
         ระบบ IUPAC นักเคมีกลุ่มหนึ่งได้ประชุมกันทีเจนีวาในปี ค.ศ.1892 และได้ช่วยกันร่างกฎ
                                                               ่
การเรียกชื่อขึนมา เรียกว่าระบบ IUPAC (International Union of Pure and Applied Chemistry)
               ้
โ ด ย จ า น ว น นั บ ใ น ภ า ษ า ก รี ก ร ะ บุ จ า น ว น อ ะ ต อ ม ข อ ง ค า ร์ บ อ น แ ล ะ ล ง ท้ า ย ด้ ว ย เ -น
(-ane) จานวนนับภาษากรีกมีดงนี้     ั

         1 = มีทหรือเมท (meth-)                         6 = เฮกซ (hex-)
         2 = อีทหรือเอท (eth-)                          7 = เฮปท (hept-)
         3 = โพรพ (prop-)                               8 = ออกท (oct-)
         4 = บิวท (but-)                                9 = โนน (non-)
         5 = เพนท (pent-)                               10 = เดกค (deca-)

และมีขนตอนในการเรียกดังนี้
      ั้
         1) เลือกโซ่คาร์บอนทียาวทีสุดเป็นโซ่หลัก (parent name) เช่น
                             ่    ่

                                           CH 3 CHCH 2 CH 2CHCH 2CH 3

                                                CH 3            CH 2 CH 3


         จะเห็นได้ว่าโซ่คาร์บอนทียาวทีสุดมีคาร์บอนต่อกัน 7 อะตอม จึงเรียกชื่อโซ่หลักว่า เฮปเทน
                                   ่  ่
         (heptane)
         2) กาหนดตาแหน่ งของคาร์บอนอะตอมในโซ่หลัก โดยให้ตาแหน่ งของคาร์บอนที่มหมู่          ี
         แทนที่ (substituent) มีตวเลขต่าสุด เช่น
                                 ั

                                           1 2 3 4 5 6 7
                                           CH 3CHCH 2CH 2CHCH 2CH 3

                                                CH 3            CH 2CH 3




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                                    หน้า 18
เคมีอินทรีย์                                     2/2554

       ถ้านับจากขวาไปซ้ายจะทาให้หมู่แทนทีอยู่ทตาแหน่ งที่ 3 และ 6 แต่ถ้านับจากซ้ายไปขวา
                                             ่ ่ี
       หมู่แทนที่จะอยู่ท่ตาแหน่ งที่ 2 และ 5 ดังนันจึงนับจากซ้ายไปขวาเพราะตัวเลขของหมู่
                         ี                             ้
       แทนทีจะต่ากว่า
              ่
       3) หมู่แ ทนที่ต่ อ อยู่ก ับตาแหน่ งใดของคาร์บอนอะตอมในโซ่หลักการอ่ านชื่อ ก็จะระบุ
       ตาแหน่งของคาร์บอนอะตอมนันแล้วตามด้วยชื่อของหมู่แทนที่ โดยจานวนคาร์บอนของหมู่
                                          ้
       แทนที่จะลงท้ายด้ว ย อิล เช่น ในตัว อย่างข้างต้นอ่ านว่าหมู่ 2–methyl และ 5–ethyl
       ตามลาดับ
       4) ในการเรียกชื่อจะเริมด้วยชื่อของหมู่แทนทีเรียงตามลาดับตัวอักษรแล้วตามด้วยชื่อหลัก
                               ่                     ่
       ดังนันสารประกอบในตัวอย่างข้างต้นจึงมีช่อเรียกว่า 5–ethyl-2–methylheptane
            ้                                  ื
       5) ถ้าในโมเลกุลมีหมู่แทนทีชนิดเดียวกันมากกว่า 1 หมู่ ให้เติมคาว่า di, tri, tetra, … เพื่อ
                                    ่
       บอกถึงจานวนของหมูแทนทีดวย และถ้าหมูแทนทีชนิดเดียวกันแทนทีอยู่ทคาร์บอนอะตอม
                             ่        ่ ้        ่       ่               ่ ่ี
       เดียวกันทัง 2 หมูให้ระบุตวเลขของตาแหน่งนันซ้าด้วย เช่น
                 ้         ่      ั                ้
                           CH 3                                          CH 3

                  CH 3CHCHCH 2CH 3                        CH 3CH 2 CH 2 CCH 2 CH 3

                       CH 3                                              CH 3
                     2,3–dimethylpentane                    3,3–dimethylhexane

       6) สาหรับหมู่แอลคิล (alkyl group) ซึงเป็ นหมู่แทนทีนน เกิดจากการลดจานวนอะตอมของ
                                          ่              ่ ั้
       ไฮโดรเจนในแอลเคนลง 1 อะตอม จึงมีสตรทัวไป CnH2n+1 ดังตาราง 2.2
                                             ู ่

               ตาราง 1.5 แสดงชื่อและสูตรโครงสร้างของหมูแอลคิลทีสาคัญ
                                                       ่       ่
                 ชื่อหมู่แอลคิ ล                สูตรโครงสร้าง
                     methyl
                                                           CH 3

                      ethyl
                                                         CH 2CH 3

                   n – propyl
                                                       CH 2CH 2CH 3

                    isopropyl                             CHCH 3

                                                          CH 3


สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                   หน้า 19
เคมีอินทรีย์                                2/2554

                 ชื่อหมู่แอลคิ ล                    สูตรโครงสร้าง
                     n – butyl
                                                     CH2CH2CH2CH3

                    isobutyl                           CH 2CHCH 3

                                                         CH 3
                   sec – butyl                    CH 3CHCH 2CH 3


                                                             CH 3

                   tert - butyl                              CCH 3

                                                             CH 3


         ในบางครังอาจพบว่าหมู่แอลคิลมีโครงสร้างทีซบซ้อนมากกว่าในตาราง 2.2 แต่หลักในการ
                   ้                            ่ ั
เรียกชื่อยังคงเป็นไปในทานองเดียวกัน โดยจะต้องนับคาร์บอนทีสร้างพันธะกับโซ่หลักเป็ นตาแหน่ ง
                                                         ่
ที่ 1 เสมอ เช่น
                                         CH 3
                                  6 5       3 2 1
                                  CH 3CHCHCH 2 CH 2CH 2
                                         4
                                      CH 3
                                      4, 5 – dimethylhexyl


            1.2.2.2 การเรียกชื่อสารประกอบไซโคลแอลเคน
            การเรียกชื่อไซโคลแอลเคนจะเรียกทานองเดียวกับแอลเคน ยกเว้นแต่ช่อหลักซึ่ง
                                                                             ื
บอกจานวนคาร์บอนในวงนันจะต้องนาหน้าด้วยคาว่า ไซโคล– (cyclo- ) ซึงแสดงดังตาราง
                      ้                                        ่

ตาราง 1.6 แสดงตัวอย่างของไซโคลแอลเคนบางชนิด
        สูตรโครงสร้าง                 ชื่อ                     จุดเดือด (C)
                                 Cyclopropane
                                                                     -33
          หรือ


สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                              หน้า 20
เคมีอินทรีย์                                   2/2554

        สูตรโครงสร้าง                     ชื่อ            จุดเดือด (C)
                                      Cyclobutane
                                                               13
           หรือ

                                      Cyclopentane             49
                  หรือ


                                      Cyclohexane              81
                  หรือ

       การเขียนสูตรแสดงโมเลกุลของไซโคลแอลเคนนิยมเขียนเป็ นรูปเรขาคณิตเพราะเขียนง่าย
แต่การใช้สูตรแบบนี้จะต้องระลึกเสมอว่าแต่ละอะตอมของคาร์บอน (ซึงเขียนแสดงเพียงมุมของรูป
                                                                   ่
เหลียมเท่านัน) จะต้องสร้างพันธะกับไฮโดรเจน 2 อะตอม และจากตาราง 2.3 จะเห็นว่าไซโคลแอ
    ่       ้
ลเคนมีจดเดือดสูงกว่า n–alkane ทีมจานวนคาร์บอนเท่ากัน
       ุ                          ่ ี
       ไซโคลแอลเคนที่มหมู่แอลคิลแทนที่จะเรียกชื่อเป็ นอนุ พนธ์ของไซโคลแอลเคน โดยถ้ามี
                         ี                                    ั
การแทนทีเพียง 1 หมู่ ก็ไม่จาเป็ นต้องระบุตาแหน่ งทีแทนที่ เพราะทุก ๆ ตาแหน่ งในวงจะสมมาตร
          ่                                       ่
กันหมด เช่น




       แต่ถ้ามีการแทนที่ตงแต่ 2 ตาแหน่ งขึ้นไป จาเป็ นต้องระบุตาแหน่ งที่มการแทนที่ด้วย
                           ั้                                             ี
โดยทัวไปให้มการนับตาแหน่ งที่มการแทนที่ใด ๆ เป็ นตาแหน่ งที่ 1 แล้วนับวนไปจนรอบวงใน
     ่       ี                ี
ทิศทางทีทาให้หมูแทนทีมตวเลขน้อยทีสุด เช่น
        ่       ่    ่ ี ั       ่




           1,3–dimethylcyclopentane          1–ethyl–3–methylcyclohexane


สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                             หน้า 21
เคมีอินทรีย์                                      2/2554

       ถ้าวงของไซโคลแอลเคนต่ออยูกบหมูแอลคิลทีมโครงสร้างซับซ้อน มักนิยมเรียกหมู่ไซโคล
                                ่ ั ่       ่ ี
แอลคิลเป็นหมูแทนทีต่อกับแอลเคน เช่น
             ่    ่




                              3–cyclopentyl–2,5–dimethylhexane

               1.2.2.3 การเรียกชื่อสารประกอบแอลคีน
                                                             ั ั
               การเรียกชื่อโดยระบบ IUPAC นัน ถ้ามีหมู่ฟงก์ชนจะต้องพิจารณาถึงหมู่ฟงก์ชน
                                             ้                                                ั ั
ของสารประกอบเพื่อใช้เป็นชื่อหลัก ในกรณีของแอลคีนมีขนตอนดังนี้
                                                     ั้
   1) เลือกโซ่คาร์บอนทียาวทีสุดและมีพนธะคู่อยู่ในโซ่นนด้วยเป็ นชื่อหลัก แต่ในกรณีทมพนธะคู่
                        ่     ่          ั              ั้                             ่ี ี ั
      มากกว่า 1 พันธะ ให้เลือกโซ่ท่มพนธะคู่มากทีสุดเป็ นชื่อหลัก แม้ว่าจะไม่ใช่โซ่ทยาวทีสุดก็
                                     ี ี ั        ่                                 ่ี           ่
      ตาม
   2) กาหนดตาแหน่งคาร์บอนอะตอมในโซ่หลัก โดยให้พนธะคู่อยูในตาแหน่งทีมเลขน้อยทีสุด
                                                           ั     ่           ่ ี               ่
   3) ถ้ามีพนธะคู่เพียง 1 พันธะ ให้ลงท้ายชื่อว่า – อีน (-ene) ถ้ามี 2 พันธะใช้ – ไดอีน
             ั
      (-diene)
   4) ตาแหน่งของพันธะคู่ให้ระบุดวยตัวเลขของคาร์บอนอะตอมแรกทีสร้างพันธะคู่นน
                                   ้                               ่             ั้
   5) ถ้ามีโซ่กงให้ระบุทานองเดียวกันกับสารประกอบแอลเคน
               ิ่

ตาราง 1.7 การเรียกชื่อของสารประกอบแอลคีนบางชนิด
              สูตรโครงสร้าง                                          ชื่อที่เรียก
        1           3
              2           4                                    5–methyl–1–hexene
                                       6
                               5
              1           3
                                                                  1,3–butadiene
                    2            4




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                     หน้า 22
เคมีอินทรีย์                                    2/2554

                      สูตรโครงสร้าง                                                 ชื่อที่เรียก
                                      1
                                                                              2–ethyl–1–butene
                                  2                 4

                                              3

           2                                              7       2,4,6,6–tetramethyl–2-heptene
                                      4             6
    1                     3                    5


แอลคีนโมเลกุลเล็กๆ บางโมเลกุลมีช่อสามัญทีนิยมใช้มากกว่าชื่อ IUPAC เช่น
                                 ื       ่
                                                                                CH 3

H2C        CH 2                       H2C          CH      CH3    H3C           C        CH 2
ethylene                                      propylene                   isobutylene

                1.2.2.4 การเรียกชื่อสารประกอบไซโคลแอลคีน
                ถ้าในวงของสารประกอบมีพนธะคู่เพียง 1 พันธะ ให้นับคาร์บอนอะตอมที่สร้าง
                                              ั
พันธะคู่เป็ นตาแหน่ งที่ 1 และไม่จาเป็ นจะต้องระบุตาแหน่ งของพันธะคู่นน แต่ถ้ามีพนธะคู่ 2 พันธะ
                                                                      ั้         ั
จะต้องระบุตาแหน่งของพันธะทังสองด้วย เช่น
                                ้

                                                                      2
                              3                                                 3
                                                                  1
                  2                       4
                                                                  6              4
                      1               5                                   5
            3–methylcyclopentene                2–ethyl–1,3–cyclohexadiene
                1.2.3.5 การเรียกชื่อสารประกอบแอลไคน์
                การเรียกชื่อแอลไคน์จะเหมือนกับแอลคีนแต่ให้เปลี่ยนคาลงท้ายชื่อเป็ น –ไอน์ (-
yne) ในกรณีทในโมเลกุลมีทงพันธะคู่และพันธะสาม โซ่หลักจะต้องมีทงพันธะคู่และพันธะสาม และ
             ่ี             ั้                                   ั้
คาลงท้ายชื่อจะเป็ น –อีน - ไอน์ (-en -yne) ส่วนในการนับตาแหน่ งจะต้องให้พนธะคู่มตวเลขน้อย
                                                                         ั      ี ั
กว่า เช่น



สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                                 หน้า 23
เคมีอินทรีย์                                   2/2554

                         CH 3

               HC      CCHCH 2 CH 3
                1      2 3 4 5              หรือ
                                   3–methyl–1–pentyne

           1     2 3 4 5            6
        H 2C     CHCH 2 CH 2 C      CH         หรือ

                                     1–hexene–5–yne
                แม้ว่าชื่อ IUPAC ของสารประกอบตัวแรกของแอลไคน์จะเป็ นอีไทน์ (ethyne) แต่
มักนิยมเรียกว่า อะเซทิลน (acetylene) และสารประกอบตัวแรกๆ ของแอลไคน์ก็นิยมเรียกเป็ น
                          ี
อนุพนธ์ของอะเซทิลน โดยพิจารณาว่าสารนันๆ เกิดจากการแทนทีไฮโดรเจนของอะเซทิลนด้วยหมู่
     ั              ี                   ้               ่                      ี
แอลคิล เช่น
 HC      CH                     H3CC     CH                      H3CC      CCH3
   acetylene                 methylacetylene                     dimethylacetylene

                 1.2.3.6 การเรียกชื่อสารประกอบอะโรมาติ ก
                 อนุพนธ์ของเบนซีน เกิดจากไฮโดรเจนอะตอมในโมเลกุลของเบนซีนถูกแทนทีดวย
                      ั                                                                 ่ ้
ธาตุใดธาตุหนึ่ง หรือหมู่ธาตุใดหมู่ธาตุหนึ่ง สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนทีเป็ นอนุ พนธ์
                                                                                ่         ั
ของเบนซีนจึงมีอยูมากมายและการเรียกชื่อ IUPAC ของอนุพนธ์เหล่านี้จะอ่านโดยใช้เบนซีนเป็ นชื่อ
                    ่                                   ั
หลัก ดังต่อไปนี้
  ถ้าเบนซีนมีหมูแทนทีเพียงหมูเดียวให้อ่านหมูแทนทีแล้วตามด้วยชื่อหลักเบนซีน สารประกอบ
                  ่     ่       ่             ่    ่
      เหล่านี้โดยมากมีช่อสามัญ และบางครังชื่อสามัญมักนิยมเรียกมากกว่าชื่อ IUPAC เช่น
                          ื                ้
     methylbenzene เรียกชื่อสามัญว่า toluene aminobenzene มีช่อสามัญว่า aniline เป็นต้น
                                                              ื
                                 CH 3
                                                  H 3C
                                                         CH 2



                           methylbenzene
                            (toluene)             ethylbenzene




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                 หน้า 24
เคมีอินทรีย์                                         2/2554

                                   CH 2
                                                  H 3C        CH 3
                           HC                            CH




                         vinylbenzene           isopropylbenzene
                          (styrene)                 (cumene)


      OH                    NH 2
                                                                                Cl



hydroxybenzene         aminobenzene
   (phenol)              (aniline)                                       chlorobenzene


               ถ้าหมูทต่อกับเบนซีนเป็ นหมู่ทซบซ้อนมาก ๆ อาจจะเรียกชื่อเป็ นสารประกอบของ
                     ่ ่ี                   ่ี ั
แอลเคน หรือแอลคีน หรืออื่น ๆ แล้วเรียกเบนซีนเป็ นหมู่แทนที่ เป็ นหมู่ฟีนิล (phenyl group)
และเรามักใช้สญลักษณ์แทนฟีนิวดังนี้ Ph- หรือ - เช่น
             ั


3–ethyl–5–phenyl–1–pentene         phenylacetylene                   biphenyl

เบนซีนทีมหมูแทนที่ 2 หมู่ อาจมีไอโซเมอร์ได้ 3 ไอโซเมอร์ เช่น diethylbenzene
        ่ ี ่




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                   หน้า 25
เคมีอินทรีย์                                 2/2554

       Note: ตาแหน่ง ortho meta และ para
                                           R
                            ortho                       ortho




                                                        meta
                             meta

                                           para


การระบุตาแหน่งทังสองทีหมูเอทิลแทนทีอยูอาจระบุเป็ นตัวเลขก็ได้ หรือทีสะดวกและนิยมมากกว่า
                 ้     ่ ่           ่ ่                           ่
คือใช้คานาหน้าว่า ortho– สาหรับตาแหน่ ง 1, 2 meta– สาหรับตาแหน่ ง 1, 3 และ para– สาหรับ
ตาแหน่ง 1, 4 โดยมักใช้เป็นตัวย่อ o– m– และ p– แทน ortho– meta– และ para– ตามลาดับ




แต่ถามีหมูแทนทีมากกว่า 2 หมูขนไปจะระบุตาแหน่งทีแทนทีดวยตัวเลขอย่างปกติ เช่น
    ้     ่    ่            ่ ้ึ               ่    ่ ้
                                                           NO 2
                                                                  Br



                 1,2,3-trimethylbenzene           3-bromo-2-nitrotoluene




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                           หน้า 26
เคมีอินทรีย์                                        2/2554




                      I              NH 2
                   2-amino-4-iodotoluene


       ถ้ามีวงอะโรมาติกมาเชื่อมต่อกันโดยมีด้านใดด้านหนึ่งร่วมกันเรียกว่าพอลินิวเคลียร์อะโร
มาติกไฮโดรคาร์บอน (polynuclear aromatic hydrocarbon) เช่น



           naphthalene               phenanthrene                       anthracene


               1.2.3.7 การเรียกชื่อแอลกอฮอล์
       ชื่ อสามัญ นิย มใช้เ รีย กแอลกอฮอล์โมเลกุ ล เล็กมีมวลโมเลกุ ล น้ อ ย โดยให้เ รีย กชื่อ หมู่
แอลคิลก่อนแล้วลงท้ายด้วยคาว่าแอลกอฮอล์ เช่น

                                                                                   OH
            H 3C      OH                 HO
            Methyl alcohol              ethyl alcohol                iso-propyl alcohol

        ชื่อ IUPAC มีหลักการเรียกดังนี้
             1) เรียกโซ่คาร์บอนทียาวทีสุดและมีหมู่ – OH เกาะอยูดวยเป็นโซ่หลัก
                                   ่      ่                       ่ ้
             2) นับตาแหน่ งคาร์บอนอะตอมในโซ่หลัก ให้คาร์บอนที่มหมู่ –OH เกาะอยู่เ ป็ น
                                                                        ี
                ตาแหน่ งต่าทีสุด และเรียกเลขตาแหน่งของหมู่ –OH ไว้หน้าชื่อโซ่หลัก
                              ่
             3) ให้เรียกเช่นเดียวกับหลักการเรียกชื่อแอลเคนโดยให้ตด –e ท้ายชื่อแอลเคนออก
                                                                      ั
                แล้วเติม –ol แทน
             4) หมู่แทนที่ให้เรียกโดยใช้หลักเดียวกับการเรียกชื่อแอลเคน คือเรียกเลขตาแหน่ ง
                และชื่อหมูแทนทีก่อนจึงตามด้วยชื่อของโซ่หลัก
                          ่      ่
             5) ส าหรับโมเลกุ ล ที่เ ป็ นวงให้ต าแหน่ งคาร์บอนอะตอมที่หมู่ –OH เกาะอยู่เ ป็ น
                ตาแหน่ งที่ 1 เสมอ ดังนันในการเรียกชื่อจึงไม่ต้องเรียกเลขตาแหน่ งของหมู่ – OH
                                            ้


สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                      หน้า 27
เคมีอินทรีย์                                2/2554




            ั ั
หมายเหตุ: ปจจุบน IUPAC ได้ใช้การเรียกชื่อทีอยูในวงเล็บเช่นกัน
                                           ่ ่
          6) หากมีหมู่ hydroxyl group มากกว่า 1 ให้เติมคานาหน้า –ol เพื่อบอกจานวน
             hydroxyl และชื่อของสายโซ่หลักต้องไม่ตด e เช่น HOCH2CH2OH = 1,2-
                                                      ั
             ethanediol
                          ี ั ั
          7) โครงสร้างที่มหมู่ฟงก์ชน alkene หรือ alkyne กับ alcohol ต้องนับให้ตาแหน่ ง
             hydroxyl group ทีตาแหน่งทีน้อยทีสุด
                               ่        ่      ่




             1.2.3.8 การเรียกชื่ออีเทอร์
          1) การเรียกชื่อสามัญโดยทัวไปเราพบว่าการเรียกชื่อของอีเทอร์แบบสามัญจะพบมาก
                                    ่
             เนื่องจากมีความซับซ้อนน้อยและไม่ยุ่งยากเหมือนการเรียกชื่อตามระบบ IUPAC
             ในการเรียกชื่อสามัญจะเรียกเป็ นหมู่แอลคิลทีต่อกับออกซิเจนโดยเรียงลาดับตาม
                                                       ่
             อักษรภาษาอังกฤษ แล้วลงท้ายด้วยอีเทอร์ เช่น

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                          หน้า 28
เคมีอินทรีย์                                  2/2554




          2) ชื่อ IUPAC ของสารประกอบอีเทอร์ค่อนข้างซับซ้อนโดยเราจะเรียกหมู่ RO- ว่า
             เป็ น alkoxy group โดยให้หมู่แอลคอกซีเป็ นหมู่ทมลาดับตัวอักษรตัวแรกๆ ตาม
                                                            ่ี ี
             ภาษาอังกฤษ และเรียกอีกหมูหนึ่งเป็นกลุ่มแอลคิล เช่น
                                       ่




              สาหรับโครงสร้างทีเป็นวงอีเทอร์เราจะใช้ oxa- นาหน้าชื่อ เช่น
                               ่




              1.2.3.9 การเรียกชื่อแอลดีไฮด์และคีโตน
              ในระบบ IUPAC จะเรียกชื่อแอลดีไฮด์จากชื่อของแอลเคน โดยเปลียนอักษรทีลง
                                                                       ่       ่
ท้ายชื่อแอลเคนจาก –e เป็ น –al และให้นับตาแหน่ งคาร์บอนอะตอมในหมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์
(-CHO) เป็นตาแหน่งที่ 1 เสมอ เช่น




สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                          หน้า 29
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds
Organicpds

More Related Content

What's hot

ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลManchai
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)Thitaree Samphao
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นDr.Woravith Chansuvarn
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Maimai Pudit
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนMaruko Supertinger
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวันทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวันChanthawan Suwanhitathorn
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์Preeyapat Lengrabam
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์Pat Jitta
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนDr.Woravith Chansuvarn
 
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)Thanuphong Ngoapm
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 

What's hot (20)

ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวันทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สกับชีวิตประจำวัน
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
 
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 

Viewers also liked

บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic  สำหรับห้องหนึ่งReaction organic  สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่งkaoijai
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ratchaneeseangkla
 
Inductive & mesomeric effect s k katoch
Inductive & mesomeric effect s k katochInductive & mesomeric effect s k katoch
Inductive & mesomeric effect s k katochSanjeev Katoch
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างMaruko Supertinger
 
ไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชันไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชันMaruko Supertinger
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดTANIKAN KUNTAWONG
 
Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]kaoijai
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryporpia
 

Viewers also liked (12)

บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic  สำหรับห้องหนึ่งReaction organic  สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่ง
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
Inductive & mesomeric effect s k katoch
Inductive & mesomeric effect s k katochInductive & mesomeric effect s k katoch
Inductive & mesomeric effect s k katoch
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้าง
 
ไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชันไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชัน
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
Chemistry
Chemistry Chemistry
Chemistry
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิด
 
Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 

Similar to Organicpds

เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bondShe's Bee
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุchemnpk
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมีTharit Khumon
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]kaoijai
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาnam_supanida
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนKrusek Seksan
 

Similar to Organicpds (20)

Chemistry
ChemistryChemistry
Chemistry
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bond
 
Bond
BondBond
Bond
 
Chemical bond
Chemical bondChemical bond
Chemical bond
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตา
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
 
Punmanee study 1
Punmanee study 1Punmanee study 1
Punmanee study 1
 

More from Maruko Supertinger

ยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะMaruko Supertinger
 
แอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอแอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอMaruko Supertinger
 
แบบฝึกหัดที่ 3
แบบฝึกหัดที่  3แบบฝึกหัดที่  3
แบบฝึกหัดที่ 3Maruko Supertinger
 
แบบฝึกหัดที่ 7
แบบฝึกหัดที่ 7แบบฝึกหัดที่ 7
แบบฝึกหัดที่ 7Maruko Supertinger
 
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์Maruko Supertinger
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น2
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น2ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น2
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น2Maruko Supertinger
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นMaruko Supertinger
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นMaruko Supertinger
 
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2553
ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2553ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2553
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2553Maruko Supertinger
 
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2552
ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2552ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2552
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2552Maruko Supertinger
 
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2551
ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2551ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2551
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2551Maruko Supertinger
 
ข้อสอบโควตา ม.ช ปีการศึกษา 2555
ข้อสอบโควตา ม.ช ปีการศึกษา 2555ข้อสอบโควตา ม.ช ปีการศึกษา 2555
ข้อสอบโควตา ม.ช ปีการศึกษา 2555Maruko Supertinger
 
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2554
ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2554ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2554
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2554Maruko Supertinger
 
แบบฝึกหัดที่ 3
แบบฝึกหัดที่  3แบบฝึกหัดที่  3
แบบฝึกหัดที่ 3Maruko Supertinger
 
เฉลยแบบฝึกหัด 1และ2
เฉลยแบบฝึกหัด 1และ2เฉลยแบบฝึกหัด 1และ2
เฉลยแบบฝึกหัด 1และ2Maruko Supertinger
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11Maruko Supertinger
 

More from Maruko Supertinger (19)

Fibers
FibersFibers
Fibers
 
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
 
แอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอแอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอ
 
แบบฝึกหัดที่ 3
แบบฝึกหัดที่  3แบบฝึกหัดที่  3
แบบฝึกหัดที่ 3
 
แบบฝึกหัดที่ 7
แบบฝึกหัดที่ 7แบบฝึกหัดที่ 7
แบบฝึกหัดที่ 7
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น2
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น2ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น2
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น2
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
 
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2553
ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2553ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2553
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2553
 
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2552
ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2552ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2552
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2552
 
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2551
ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2551ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2551
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2551
 
ข้อสอบโควตา ม.ช ปีการศึกษา 2555
ข้อสอบโควตา ม.ช ปีการศึกษา 2555ข้อสอบโควตา ม.ช ปีการศึกษา 2555
ข้อสอบโควตา ม.ช ปีการศึกษา 2555
 
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2554
ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2554ข้อสอบโควตา ม.ช  ปี 2554
ข้อสอบโควตา ม.ช ปี 2554
 
แบบฝึกหัดที่ 3
แบบฝึกหัดที่  3แบบฝึกหัดที่  3
แบบฝึกหัดที่ 3
 
เฉลยแบบฝึกหัด 1และ2
เฉลยแบบฝึกหัด 1และ2เฉลยแบบฝึกหัด 1และ2
เฉลยแบบฝึกหัด 1และ2
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
 
30233
3023330233
30233
 

Organicpds

  • 1. เคมีอินทรีย์ 2/2554 1. เคมีอินทรีย์ 1.1 บทนา เคมีอนทรียเป็ นวิชาทีศกษาสมบัตต่างๆ ของสารทีมอะตอมของคาร์บอนเป็ นองค์ประกอบ ิ ์ ่ ึ ิ ่ ี หลัก โดยคาว่าอินทรีย์ มาจากคาว่า Organic หมายถึงร่างกาย หรือ สิงมีชวต ดังนันเรื่องราวของ ่ ีิ ้ สารอินทรียเป็ นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิงมีชวต สมัยก่อนนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าสารอินทรียได้มา ์ ่ ีิ ์ จากสิงมีชวตเท่านันแต่ ฟริดริด วูหเลอร์ นักเคมีชาวเยอรมัน ได้สงเคราะห์สารอินทรียโดยการเผา ่ ีิ ้ ์ ั ์ แอมโมเนียมไซยาเนตซึงเป็นสารประกอบอนินทรีย์ ปฏิกรยาทีเกิดขึนเป็นดังนี้ ่ ิิ ่ ้ NH4+NCO-  H2NCONH2 ั ั ปจจุบนนักเคมีได้สงเคราะห์สารอินทรีย์ได้อย่างมากมาย และยังก่ อให้เกิดอุ ตสาหกรรม ั ทางด้า นเคมีอีก ด้ว ย การศึก ษาสารเหล่ า นี้ จ าเป็ น ต่ อ การพัฒ นาอุ ต สาหกรรมและเทคโนโลยี นอกจากนี้ในการศึกษาเพื่อให้เข้าใจถึงถึงสมบัตจะต้องเข้าใจพันธะทีเกิดระหว่างอะตอมรูปร่างของ ิ ่ โมเลกุลอีกด้วย ถึงจะเข้าใจสมบัตของสารอินทรียได้อย่างลึกซึง ิ ์ ้ 1.1.1 พันธะของคาร์บอน คาร์บอนเป็ นธาตุทอยู่ในหมู่ 4A หรือหมู่ 14 มีเวเลนซ์อเล็กตรอนทังหมด 4 ตัวจึงสามารถ ่ี ิ ้ เกิดพันธะโคเวเลนซ์ได้ทงหมด 4 พันธะ โดย C สามารถใช้อเล็กตรอนร่วมกันได้ตงแต่ 1 คู่ 2 คู่ ั้ ิ ั้ หรือ 3 คู่ เกิดเป็น พันธะเดียว (single bond) พันธะคู่ (double bond) หรือ พันธะสาม (triple bond) ่ C C พันธะเดียวทังหมด 4 พันธะ ่ ้ พันธะเดียว 2 พันธะและพันธะคู่ 1 พันธะ ่ C พันธะคู่ 2 พันธะ พันธะเดียว 1 พันธะและพันธะสาม 1 พันธะ ่ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 1
  • 2. เคมีอินทรีย์ 2/2554 1.1.2 ไฮบริ ไดเซชันกับสารประกอบอิ นทรีย์ สารอินทรียเป็ นสารโคเวเลนซ์ท่มรูปร่างต่างๆ ขึนอยู่กบการสร้างพันธะของคาร์บอน การ ์ ี ี ้ ั พิจารณาว่าโครงสร้างของสารอินทรียมโครงสร้างอย่างไรต้องอาศัยทฤษฏีไฮบริไดเซชันเข้าช่วยใน ์ ี การอธิบายโครงสร้างดังกล่าว ซึ่ง ทฤษฎีไฮบริไดเซชันเป็ นทฤษฎีท่ช่วยอธิบายการเกิดพันธะของ ี สารประกอบอินทรีย์ได้เป็ นอย่างดี ซึ่งสามารถอธิบายการเกิดรูปร่างของคาร์บอนได้ ซึ่งชนิดของ ไฮบริไดเซชันทีเกิดกับสารอินทรียได้แก่ sp3 sp2 และ sp ่ ์ 1) sp3 ไฮบริ ดออร์บิทล ั เกิดจากออร์บทล 2s รวมกับ 2px 2py และ 2pz จัดตัวใหม่จะเกิดเป็ นพันธะเดียว ิ ั ่ ทังหมด รูปร่างทีได้จะเป็ นทรงสีหน้า (tetrahedral) โดยมีมุมระหว่างแกนทังสีของออร์บทลเท่ากับ ้ ่ ่ ้ ิ ั 109.5 องศาดังรูป ตัวอย่างเช่นโมเลกุล CH4 เกิดไฮบริไดเซชันแบบ sp3 ซึง H จะนา s ออร์บทลสร้างพันธะซิกมากับ ่ ิ ั 3 sp ไฮบริดออร์บทลดังรูป ิ ั สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 2
  • 3. เคมีอินทรีย์ 2/2554 2) sp2 ไฮบริ ดออร์บิทลั เกิดจากการรวมกันของออร์บทล s ออร์บทลและออร์บทล p 2 ออร์บทล ได้ไฮบริด ิ ั ิ ั ิ ั ิ ั ออร์บทล 3 ออร์บทล ซึงรูปร่างทีได้จะเป็ นสามเหลียมแบนราบ (trigonal planar) มุมทีแกนของออร์ ิ ั ิ ั ่ ่ ่ ่ บิทลทามุมกัน 120 องศา และ p ออร์บทลทีเหลือยังคงอยู่ในแนวแกนเดิมซึงตังฉากกับระนาบของ ั ิ ั ่ ่ ้ ออร์บทลทีมรูปร่างเป็ นสามเหลี่ยมแบนราบ ซึ่งออร์บทลดังกล่าวที่เหลือนี้ใช้สาหรับสร้างพันธะไพ ิ ั ่ ี ิ ั (-bond) ตัวอย่างการเกิดสร้างพันธะซิกมาของ sp2 ไฮบริดออร์บทลได้แ ก่โมเลกุลของอีทน (C2H4) ซึ่ง ิ ั ี คาร์บอนกับคาร์บอนจะเกิดพันธะซิกมาหนึ่งพันธะกับพันธะไพซึ่งเกิดจาก p ออร์บทลทีไม่ได้เกิด ิ ั ่ ไฮบริดออร์บทลอีกหนึ่งพันธะแสดงดังรูป ิ ั สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 3
  • 4. เคมีอินทรีย์ 2/2554 2) sp ไฮบริ ดออร์บิทล ั เกิดจากการรวมกันของออร์บทล s 1 ออร์บทลและ ออร์บทล p 1 ออร์บทลซึงได้ ิ ั ิ ั ิ ั ิ ั ่ รูปร่างทีเป็นลักษณะเป็นเส้นตรงโดยจะเหลือ p ออร์บทล 2 ออร์บทลเพื่อสร้างพันธะไพ sp ทีเกิดขึน ่ ิ ั ิ ั ่ ้ มีมมตามแนวแกนออร์บทลเท่ากับ 180 องศาดังรูป ุ ิ ั ตัวอย่างโมเลกุลทีงายต่อการอธิบายการซ้อนเหลื่อมของไฮบริดออร์บทลดังกล่าวเช่น โมเลกุลของอี ่่ ิ ั ไทน์ (ethyne) มีพนธะซิกมาระหว่างคาร์บอนกับคาร์บอนทีเกิดจาก sp ของคาร์บอนทังสองและ p ั ่ ้ ออร์บทลที่เหลือจากการสร้างไฮบริดออร์บทลสองออร์บทลจะเกิดการซ้อนเหลื่อมเกิดเป็ นพันธะ 2 ิ ั ิ ั ิ ั พันธะดังรูป 1.1.3 การเขียนสูตรโครงสร้างสารประกอบอิ นทรีย์ สูตรโครงสร้างของสารเป็ นสูตรทีแสดงการจัดเรียงตัวของอะตอมโดยการเขียนสูตรนันอาจ ่ ้ เขียนได้หลายแบบตัวอย่างเช่น สูตรโครงสร้างลิวอิสแบบจุด (dot structure) สูตรโครงสร้างลิวอิส แบบ dash สูตรโครงสร้างแบบย่อ (condensed formula) และสูตรโครงสร้างแบบเส้นและมุม (bond-line formula) สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 4
  • 5. เคมีอินทรีย์ 2/2554 ตาราง 1.1 สูตรโมเลกุลและโครงสร้างของสารประกอบอินทรียบางชนิด ์ สูตรโครงสร้าง โครงสร้างแบบ โครงสร้างแบบ สูตร ชื่อสาร โครงสร้างลิ วอิ สแบบ dash ย่อ เส้นและมุม โมเลกุล formula (condensed (bond-line formula) formula) H H H H CH3CH2CH2CH3 บิวเทน C4H10 H C C C C H หรือ H H H H CH3(CH2)2CH3 H H H H H C C C C H 2-เมทิล C5H12 H H H (CH3)2CHCH2CH3 บิวเทน H C H H H โพรพีน C 3H 6 H C C C H CH2=CHCH3 H H H H H เอ C 2H 6 O H C C O H CH3CH2OH OH ทานอล H H O H เอทา C 2H 4 O H C C H CH3CHO นาล H สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 5
  • 6. เคมีอินทรีย์ 2/2554 สูตรโครงสร้าง โครงสร้างแบบ โครงสร้างแบบ สูตร ชื่อสาร โครงสร้างลิ วอิ สแบบ dash ย่อ เส้นและมุม โมเลกุล formula (condensed (bond-line formula) formula) H O O กรดเอ C 2H 4 O 2 H C C O H C 2H 4O 2 ทาโนอิก OH H การเขียนสูตรโครงสร้างแบบต่างๆ ดังกล่าวมาเป็ นการจัดเรียงตัวของอะตอมทีประกอบกัน ่ เป็ นโมเลกุลลักษณะ 2 มิติ แต่ความเป็ นจริงอะตอมของธาตุในโมเลกุลมีการจัดเรียงตัวแบบ 3 มิติ ดังตาราง 1.2 ตาราง 1.2 โครงสร้าง 3 มิตของโมเลกุลบางชนิด ิ สูตรโครงสร้าง สูตร ชื่อสาร โครงสร้างลิ วอิ สแบบ dash โมเลกุล โครงสร้าง 3 มิ ติ formula H H H H H C C C C H บิวเทน C4H10 H H H H H H C C C H โพรพีน C 3H 6 H H H H H เอ H C C O H C 2H 6 O ทานอล H H สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 6
  • 7. เคมีอินทรีย์ 2/2554 สูตรโครงสร้าง สูตร ชื่อสาร โครงสร้างลิ วอิ สแบบ dash โมเลกุล โครงสร้าง 3 มิ ติ formula อีไทน์ C 2H 2 เบนซีน C 6H 6 โดยทัวไปโครงสร้างสามมิตแสดงได้ยาก ดังนันจึงมีการกาหนดการวาดโครงสร้างสามมิติ ่ ิ ้ เพื่อสะดวกในบอกการจัดเรียงตัวของอะตอมทีเกิดขึนเช่น CH4 ่ ้ = ในการวาดโครงสร้างเพื่อแสดงโครงสร้างสามมิตโดยเส้น ิ แสดงว่าพันธะทีเกิดขึนและ ่ ้ อะตอมทีเกาะกับพันธะอยูในระนาบเดียวกับกระดาษ เส้น ่ ่ แสดงอะตอมทียนออกมาจาก ่ ่ื ระนาบกระดาษและเส้น แสดงอะตอมทีอยูดานหลังของระนาบกระดาษ ่ ่ ้ 1.1.4 หลักการเขียนกลไกการเกิ ดปฏิ กิริยา ปฏิกรยาเคมีคอการเปลียนแปลงสารตังต้นไปเป็ นสารผลิตภัณฑ์ซงเกิดขึนผ่านกระบวนการ ิิ ื ่ ้ ่ึ ้ สลายพันธะและสร้างพันธะ ในการสลายพันธะสามารถจาแนกออกเป็ น 2 แบบหลักๆ ได้แก่การ สลายพันธะแบบ Homolytic cleavage และ heterolytic cleavage 1) การสลายพันธะแบบโฮโมไลติก (Homolytic cleavage) เกิดจากอะตอมเกิดการสลาย พันธะโดยอิเล็กตรอนสองตัวทีสร้างพันธะร่วมกันแยกออกจากกันไปอยู่ทอะตอมหรือหมู่ของอะตอม ่ ่ี คนละ 1 ตัว ซึงเรียกว่าอิเล็กตรอนอิสระ (free radical) ซึงจะมีสมบัตเป็ นกลางไม่เป็ นประจุบวกหรือ ่ ่ ิ ประจุลบ ในการเขียนลูกศรเพื่ออธิบายการสลายพันธะชนิดนี้จะเขียนลูกศรครึงหัว ซึงแสดงให้เห็น ่ ่ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 7
  • 8. เคมีอินทรีย์ 2/2554 ว่าการเคลื่อนทีของอิเล็กตรอนนันมีการเคลื่อนทีของอิเล็กตรอนเพียงแค่หนึ่งตัวเท่านันตัวอย่างการ ่ ้ ่ ้ สลายพันธะแบบโฮโมไลติก เช่น การสลายพันธะของ Br2 ดังสมการ ซึงโบรมีนเรดิคลสามารถเกิดปฏิกรยาต่อได้กบโมเลกุลอื่นๆ และสามารถเขียนลูกศรแสดงกลไกการ ่ ั ิิ ั เคลื่อนทีของอิเล็กตรอนดังรูป ่ ซึงปฏิกรยาทีเกิดดังแสดงเรียกว่าปฏิกรยาแบบเรดิคล (radical reaction) ่ ิิ ่ ิิ ั 2) การสลายพันธะแบบเฮเทอร์โรไลติก (Heterolytic cleavage) การสลายพันธะแบบนี้จะ เกิดจากอิเล็กตรอนที่ร่วมพันธะเกิดการสลายพันธะโดยให้อิเล็กตรอนทังสองตัวให้แก่ อะตอมใด ้ อะตอมหนึ่งทังสองตัว ในการแสดงลู กศรการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนนันจะใช้หวลูกศรปกติแสดง ้ ้ ั กลไกการเกิดปฏิกรยา การสลายพันธะแบบนี้จะได้โมเลกุลหรืออะตอมสองชนิดทีมประจุต่างกันคือ ิิ ่ ี อะตอมหรือโมเลกุลทีมประจุบวกเรียกว่า “แคทไอออน” (cation) และประจุลบเรียกว่า “แอนไอออน” ่ ี (anion) ตัวอย่างปฏิกรยาทีเกิดขึน ิิ ่ ้ Ethoxide anion จะไปดึงโปรตอนจาก acetone พันธะระหว่างไฮโดรเจนกับคาร์บอนแตกออกโดย อิเล็กตรอนทังสองตัวทีสร้างพันธะร่วมกันระหว่างคาร์บอนกับไฮโดรเจนวิงไปทางด้านคาร์บอนทัง ้ ่ ่ ้ สองอิเ ล็ก ตรอน สารอิน ทรีย์ท่เ กิด เป็ น ผลิต ภัณฑ์เ กิด เป็ นแอนไอออนเกิดขึ้นโดยประจุล บอยู่ท่ี ี ตาแหน่งคาร์บอน เรียกสารประเภทนี้ว่าคาร์แบนไอออน (cabanion) ปฏิกิรยาบางชนิดเมื่อ เกิดการสลายพันธะจะเกิดคาร์โบแคทไอออน (cabocation) ซึ่ง ิ สารอินทรีย์ด ังกล่ า วมีค าร์ บอนที่ติด ประจุบ วกเช่น ปฏิกิร ิยาของ 2-butene รับ โปรตอนเกิด ผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นประจุบวกทีเรียกว่า carbocation แสดงดังสมการ ่ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 8
  • 9. เคมีอินทรีย์ 2/2554 และเมือพิจารณาอะตอมคาร์บอนทีมประจุบวกพบว่ามีโครงสร้างแบบแบนราบและความเสถียรของ ่ ่ ี คาร์โบแคทไอออนแต่ละชนิ ดขึ้นกับการกระจายตัวของประจุหรือการกระจายตัวของอิเล็กตรอน หากพิจารณาในแง่ของหมู่แทนทีมผลอย่างไรในการช่วยให้คาร์โบแคทไอออนเสถียร เมื่อพิจารณา ่ ี ในส่วนของออร์บทลพบว่า ความหนาแน่ นของอิเล็กตรอนจากพันธะซิกมาที่เกิดจากคาร์บอนกับ ิ ั ไฮโดรเจนสร้างพันธะกันสามารถเกิดซ้อนเหลื่อมบางส่วนกับ p ออร์บทลว่างของคาร์โบแคทไอออน ิ ั ทาให้คาร์โบแคทไอออนมีความเป็ นประจุบวกน้อยลง ส่งผลให้คาร์โบแคทไอออนเกิดความเสถียร ปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึนนี้เรียกว่าการเกิดไฮเปอร์คอนจุเกต (hyperconjugation) สารประกอบอีกชนิด ้ หนึ่งทีทาให้ความเป็นประจุบวกน้อยนันก็คอสารประกอบทีมพนธะคู่สลับพันธะเดียวซึงเรียกโมเลกุล ่ ้ ื ่ ี ั ่ ่ พวกนี้ว่าเกิด คอนจุเกชัน (conjugation) ซึงทาให้ p ออร์บทลทีสร้างพันธะคู่เกิดซ้อนเหลื่อมกับ p ่ ิ ั ่ ออร์บทลของคาร์โบแคทไอออนดังภาพ ิ ั ออร์ บิทลที่ซ้อนเหลือม ั ่ p ออร์ บิทลที่วาง ั ่ การเกิดไฮเปอร์คอนจุเกต การเกิดคอนจุเกชันระหว่างคาร์โบแคทไอออนกับพันธะคู่ ดังนันสามารถเรียงความเสถียรของคาร์โบแคทไอออนได้ดงนี้ ้ ั สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 9
  • 10. เคมีอินทรีย์ 2/2554 หมู่ R แทนสารอินทรียท่มาเกาะกับคาร์บอนซึงเรียกหมู่เหล่านี้ว่าหมู่แอลคิล และตาแหน่ งคาร์โบ ์ ี ่ แคทไอออนหากมีหมู่แอลคิลมาเกาะสามตัวจะเรียกว่า tertiary carbocation (3o-carbocation) แทนที่สองตัวเรียกว่า secondary carbocation (2o-carbocation) แทนที่หนึ่งหมู่เรียก primary carbocation (1o-carbocation) ความเสถียรของเรดิคลก็เป็นแนวโน้มเดียวกับคาร์โบแคทไอออนคือ tertiary radical เสถียร ั ่ กว่า secondary radical เสถียรกว่า primary radical ตามลาดับ ส่วน carbanions จะมีความเสถียรแตกต่างจาก carbocations และ radicals หากมีหมู่ แทนทีมากจะเสถียรน้อยและหากมีหมูแทนทีน้อยจะมีความเสถียรมาก ่ ่ ่ 1.1.5 ปฏิ กิริยาในเคมีอินทรีย์ ปฏิกรยาทีเกิดขึนในเคมีอนทรียนนอาจจาแนกออกเป็น 4 ชนิดได้แก่ ิิ ่ ้ ิ ์ ั้ 1) ปฏิกรยาแทนที่ (substitution reaction) เป็ นปฏิกรยาที่เกิดจากการแทนที่ของกลุ่ม ิิ ิิ โมเลกุลหรืออะตอมด้วยโมเลกุลหรืออะตอมอื่นๆ ดังตัวอย่าง 2) ปฏิกรยาการเติม (addition reaction) เป็ นปฏิกรยาทีเกิดจากสารอินทรียทประกอบด้วย ิิ ิิ ่ ์ ่ี พันธะคู่ พันธะสาม เกิดปฏิกรยากับสารทีเข้าทาปฏิกรยาทาให้จานวนพันธะลดลงเนื่องจากใช้ไปใน ิิ ่ ิิ การสร้างพันธะกับสารทีเข้าทาปฏิกรยา ดังตัวอย่าง ่ ิิ 3) ปฏิกรยาการกาจัด (elimination reaction) เป็ นปฏิกรยาที่เกิดตรงกันข้ามกับปฏิกรยา ิิ ิิ ิิ การเติม เป็นการกาจัดสารออกจากสารตัวหลัก ดังตัวอย่าง สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 10
  • 11. เคมีอินทรีย์ 2/2554 4) ปฏิกรยาย้ายหมู่ (rearrangement reaction) เป็ นปฏิกรยาทีเกิดจากการย้ายหมู่ทเกาะ ิิ ิิ ่ ่ี ทาให้เกิดโครงสร้างใหม่เกิดขึนดังแสดง ้ 1.1.6 ปฏิ กิริยา SN1 SN2 E1 และ E2 ปฏิกิรย าเคมีจ ะเกิด ขึ้นเร็ว หรือ ช้า นันเกิดจากสารตัง ต้นว่ามีผ ลมากน้ อ ยอย่างไรในการ ิ ้ ้ เกิดปฏิกรยา ซึงกฎอัตราจะเป็นตัวบ่งบอกว่าสารชนิดนันมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกรยาตัวอย่างเช่น ิิ ่ ้ ิิ ปฏิกรยาระหว่างเบสกับคลอโรมีเทนได้ผลิตภัณฑ์เป็ นแอลกอฮอล์ เมื่อติดตามปฏิกรยาเคมีพบว่า ิิ ิิ สารทังสองชนิดมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกรยาเคมีโดยอัตราการเกิดปฏิกรยาเคมีมอนดับเท่ากับ สอง ้ ิิ ิิ ีั ซึงขึนอยูกบเบสอันดับหนึ่งและคลอโรมีเทนอันดับหนึ่ง มีกลไกการเกิดปฏิกรยาดังนี้ ่ ้ ่ ั ิิ r = k[OH-][CH3Cl] ซึง OH- จะเกิดปฏิกรยาบริเวณคาร์บอนซึงมีสภาพขัวเป็ นบวก OH- จึงทาหน้าทีทเรียกว่านิวคลีโอ ่ ิิ ่ ้ ่ ่ี ไฟล์ (Nucleophile) และคลอรีนหลุดออกจากโมเลกุ ลเราเรียกสารที่หลุดออกจากโมเลกุ ลนี้ว่า Leaving group ปฏิกรยาดังกล่าวเรียกว่าปฏิกรยาแบบ SN2 ซึงมาจาก Substitution, Nucleophilic, ิิ ิิ ่ bimolecule เป็นปฏิกรยาแทนทีของนิวคลีโอไฟล์ทขนอยูกบโมเลกุลสองโมเลกุล ิิ ่ ่ี ้ึ ่ ั เมื่อศึกษาปฏิกรยา 2-chloro-2-methylpropane พบว่าไม่เกิดปฏิกรยาแบบ SN2 เพราะ ิิ ิิ ความเกะกะของโมเลกุลเมทิลที่บดบังคาร์บอนดังนันปฏิกรยาจึงยอมหลุดคลอรีนอะตอมออกก่อน ้ ิิ o เกิด 3 -คาร์โบแคทไอออนจากนันเบสจึงเข้าทาปฏิกรยาต่อเราเรียกปฏิกรยาแบบนี้ว่าเกิดแบบ SN1 ้ ิิ ิิ (Substitution, Nucleophilic, Unimolecular) สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 11
  • 12. เคมีอินทรีย์ 2/2554 เมือเปรียบอัตราการเกิดปฏิกรยาแบบ SN2 กับโมเลกุลต่างๆ ได้ความสัมพันธ์ดงนี้ ่ ิิ ั Methyl 1o 2o Neopentyl 3o (30) (1) (0.02) (0.00001) (~0) ปฏิกิร ิยาเคมีท่เ กิด ปฏิกิร ิย าก าจัดส่ ว นมากเกิดที่อุ ณ หภูม ิสูง และใช้เ บสที่แก่ ดง ตัว อย่า งซึ่งเป็ น ี ั ปฏิกรยาทีเกิดแบบ E2 ิิ ่ จากปฏิกรยาข้างต้นพบว่ามีปฏิกรยาทีเกิดแบบ SN2 เช่นกันแต่รอยละของผลิตภัณฑ์น้อย ิิ ิิ ่ ้ กว่าการเกิดแบบ E2 ผลิตภัณฑ์ท่เกิดมากจะเรียกผลิตภัณฑ์นันว่าเป็ น major product และ ี ้ ผลิตภัณฑ์ทเี่ กิดน้อยกว่าเรียกว่า minor product แต่เมือใช้นิวคลีโอไฟล์ทแย่ (เบสอ่อน) และใช้ตวทาละลายทีมขวจะเกิดแบบ E1 ่ ่ี ั ่ ี ั้ เมือเปรียบเทียบการเกิดปฏิกรยา SN1 SN2 E1 และ E2 สรุปได้ดงตารางที่ 1.3 ่ ิิ ั สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 12
  • 13. เคมีอินทรีย์ 2/2554 ตารางที่ 1.3 สรุปปฏิกรยาแบบ SN1 SN2 E1 และ E2 ิิ CH3X RCH2X RR’CHX RR’R’’CX Bimolecular reaction SN1/E1 หรือ E2 ปฏิกรยาแบบ SN2 ิิ ปฏิ กิ ร ิ ย าแบบ SN2 ปฏิ กิ ร ิ ย าแบบ SN2 เกิดปฏิกิรยา SN1/E1 ิ ยกเว้นทาปฏิกรยากับ ซึ่ ง เกิ ด กั บ เบสอ่ อ น ิิ และที่อุ ณ หภู ม ิต่ า จะ เบสแก่ [(CH3)3CO-] เช่น I- CN- RCO2- เกิด SN1 ได้ดี เมื่อใช้ จะเกิดแบบ E2 และหากท าปฏิกิร ิย า เบสแก่ (RO-) จะเกิด กับเบสแก่จะเกิดแบบ แบบ E2 E2 1.1.7 อิ ทธิ พลต่างๆ ในปฏิ กิริยาเคมี การศึก ษาอิทธิพ ลที่เ กิดขึ้นในปฏิกิรย าเคมีเ ป็ น ตัว ช่ว ยในการทานายต าแหน่ ง ของการ ิ เกิดปฏิกิรยาเคมีเบื้องต้นได้ ทาให้สามารถเข้าใจขันตอนกลไกการเกิดปฏิกรยาแต่ละขันตอนได้ ิ ้ ิิ ้ อิทธิพลทีมในปฏิกรยาเคมีทควรทราบมีดงนี้ ่ ี ิิ ่ี ั 1) ผลของไฮบริ ไดเซชัน (The effect of hybridization) ปฏิกิรยาเคมีอนทรียบางปฏิกิรยาถ้าพิจารณาแล้วพบว่าเป็ นปฏิกรยาที่เกิดจากเบสมาทา ิ ิ ์ ิ ิิ ปฏิกรยากับสารตังต้น ซึงเป็ นทีทราบกันดีว่าเบสจะดึงโปรตอนจากสารอินทรีย์ ดังนันถ้าหากทราบ ิิ ้ ่ ่ ้ ว่าโปรตอนตัวไหนในโมเลกุลอินทรีย์ม ีความเป็ นกรด ก็จะทราบได้ว่าเบสที่เข้าทาปฏิกิรยาจะดึง ิ โปรตอนที่ตาแหน่ งใดบนโมเลกุลอินทรีย์ เมื่อพิจารณาโมเลกุลของสารอินทรีย์ท่มไฮบริไดเซชัน ี ี ต่างกันจะมีสภาพความเป็ นกรดต่างกันโดย Ethyne มีความเป็ นกรดมากกว่า Ethene และ Ethene มีความเป็นกรดมากว่า Ethane ความเป็ นกรดดังกล่าวสามารถอธิบายได้โดย อิเล็กตรอนที่ 2s ซึ่งมีพลังงานต่ ากว่า 2p ออร์บทล ิ ั ส่งผลให้อเล็กตรอนที่ 2s ถูกดึงดูดจากนิวเคลียสได้มาก ดังนันหากมีเปอร์เซ็นต์ s ในไฮบริดออร์ ิ ้ บิทลมากก็จะทาให้อเล็กตรอนระหว่างคาร์บอนกับไฮโดรเจนเบาบางส่งผลให้โปรตอนหลุดได้ง่าย ั ิ เมื่อคานวณเปอร์เซ็นต์ของ s ออร์บทลในไฮบริดออร์บทลของ sp จะได้เปอร์เซ็นต์เท่ากับ 50% s ิ ั ิ ั สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 13
  • 14. เคมีอินทรีย์ 2/2554 character ของ sp2 ได้เท่ากับ 33.3 s character และ sp3 มีเปอร์เซ็นต์ s character เท่ากับ 25% ดังนันจึงสรุปได้ว่ายิงมีเปอร์เซ็นต์ s character มากจะมีความเป็นกรดทีแรง ้ ่ ่ 2) ผลของการเหนี่ ยวนาอิ เล็กตรอนผ่านพันธะ (Inductive effect) เป็ นผลของการเหนี่ยวนาดึงกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนผ่านพันธะส่งผลให้โปรตอนในโมเลกุล อินทรียหลุดได้ง่ายขึน เช่นเมื่อมี F ในโมเลกุล F จะดึงกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนผ่านพันธะส่งผลให้ ์ ้ โปรตอนทีอยูใกล้กบ F มีความเป็นกรดสูงเมือเปรียบเทียบกับโปรตอนทีอยูห่างจาก F ่ ่ ั ่ ่ ่ 3) ผลของเรโซแนนซ์ (Resonance effect) สารอินทรียบางชนิดเมื่อหลุดโปรตอนสามารถเกิดเรโซแนนซ์ได้จงทาให้โมเลกุลดังกล่าว ์ ึ สามารถอยูในสภาพทีเป็นประจุลบได้ดงตัวอย่าง ่ ่ ั 4) ผลของความเกะกะ (Steric effect) เป็ นผลเนื่องจากความเกะกะของโมเลกุล ดังตัวอย่างที่แสดงเบส OH- ไม่สามารถเข้าทา ปฏิกรยากับสารตังต้นได้เนื่องมาจากผลของ steric effect นันเอง ิิ ้ ้ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 14
  • 15. เคมีอินทรีย์ 2/2554 1.2 สารประกอบอิ นทรีย์ 1.2.1 หมู่ฟังก์ชน ั ั ั ั ั การจาแนกสารประกอบอินทรียนันสามารถแบ่งตามหมู่ฟงก์ชนของสาร ซึงหมู่ฟงก์ชนเป็ น ์ ้ ่ ตัว บอกสมบัติเ ฉพาะในโมเลกุ ล ของสารประกอบอิน ทรีย์ สมบัติข องการเกิด ปฏิกิร ิย าของ ั ั ั ั สารประกอบอินทรียจะเป็ นไปตามหมู่ฟงก์ชนที่เป็ นองค์ประกอบของสารนัน จึงอาจใช้หมู่ฟงก์ชน ์ ้ ั ั เป็ นเกณฑ์ในการจาแนกสารประกอบอินทรียชนิดต่ างๆ ได้ ตัวอย่างหมู่ฟงก์ชนและประเภทของ ์ สารประกอบอินทรียแสดงดังตารางที่ 2.1 ์ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 15
  • 16. เคมีอินทรีย์ 2/2554 ่ ั ั ตารางที่ 1.4 ตารางหมูฟงก์ชน ชื่อ สูตรโครงสร้าง ตัวอย่างสารประกอบ ประเภทของ ่ หมูฟังก์ชน ั ่ ชื่อหมูฟังก์ชน ั ชื่อ สูตร สารประกอบ โครงสร้าง ี ่ ั ั ไม่มหมูฟงก์ชน เป็นพันธะเดียว ่ แอลเคน มีเทน CH4 (single bond) พันธะคู่ระหว่าง C แอลคีน อีทน ี (double bond) พันธะสามระหว่าง C แอลไคน์ อีไทน์ (triple bond) ไฮดรอกซี แอลกอฮอล์ เอทานอล (hydroxy) เมทอกซี แอลคอกซี มีเทน อีเทอร์ (alkoxy) (ไดเมทิล อีเทอร์) คาร์บอกซิล กรดอินทรีย์ กรดเอทาโน (carboxyl) หรือกรดคาร์ อิก (กรดแอ บอกซีลกิ ซิตก) ิ แอลคอกซีคาร์บอ เมทิลโพร นิล พาโนเอท เอสเทอร์ (alkoxycarbonyl) (เมททิลแอ ซีเตต) คาร์บอกซาลดีไฮด์ แอลดีไฮด์ เมทานาล (carboxaldehyde) คาร์บอนิล (carbonyl) คีโตน โพรพาโนน สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 16
  • 17. เคมีอินทรีย์ 2/2554 ตัวอย่างสารประกอบ ประเภทของ ่ หมูฟังก์ชน ั ่ ชื่อหมูฟังก์ชน ั ชื่อ สูตร สารประกอบ โครงสร้าง อะมิโน อะมิโน เอมีน (amino) มีเทน เอไมด์ เมทานา (amide) เอไมด์ ไมด์ ั ั การแบ่งประเภทของสารประกอบอินทรีย์ นอกจากจะแบ่งตามชนิดของหมู่ฟงก์ชนแล้วอาจ แบ่ง เป็ น กลุ่ ม ใหญ่ ๆ ตามชนิดของธาตุ ท่เ ป็ นองค์ประกอบ เช่น สารประกอบที่มแ ต่ ค าร์บอนกับ ี ี ไฮโดรเจนเราจะเรียกสารกลุ่มนี้ว่า สารประกอบไฮโดรคาร์บอน สารทีมออกซิเจนเป็ นองค์ประกอบ ่ ี สารที่มไนโตรเจนเป็ นองค์ประกอบ และสารประกอบอินทรีย์ท่มทงออกซิเจนและไนโตรเจนเป็ น ี ี ี ั้ องค์ประกอบ 1.2.2 การเรียกชื่อ (Nomenclature) 1.2.2.1 การเรียกชื่อสารประกอบแอลเคน ี ั แม้ว่าการเรียกชื่อ n-alkane (normal alkane) จะไม่มปญหาเพราะเป็ นการเรียก ั จากตัวเลขในภาษากรีก แต่เมื่อโครงสร้างของคาร์บอนอะตอมมีโซ่กิ่ งจะทาให้เกิดปญ หาในการ เรียกชื่อ นักเคมีสมัยแรกๆ จึงเรียกชื่อโครงสร้างแต่ละชนิดแตกต่างกันออกไป โดยถ้ามีคาร์บอน 1 อะตอมต่อกับอะตอมที่ 2 จากปลายโซ่จะเรียกว่า ไอโซ- (iso- ) ดังนัน butane จึงมี 2 การจัดเรียง ้ ตัวได้ 2 แบบหรือเรียกว่า butane มี 2 ไอโซเมอร์นนคือ ั้ สาหรับเพนเทนยังมีไอโซเมอร์ทมคาว่า นีโอ- (neo- ) นาหน้าอีกด้วยจึงทาให้ม ี 3 ไอโซเมอร์ คือ ่ี ี สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 17
  • 18. เคมีอินทรีย์ 2/2554 อย่างไรก็ตามเมือจานวนคาร์บอนอะตอมเพิมขึนจานวนไอโซเมอร์กเพิมขึนด้วย เช่น เฮกเซนจะมี 5 ่ ่ ้ ็ ่ ้ ั ไอโซเมอร์ เฮปเทนมี 8 ไอโซเมอร์ ทาให้การเรียกชื่อมีปญหามากขึนเรื่อยๆ จึงมีความจาเป็ นต้อง ้ ตังระบบการเรียกชื่อขึน ้ ้ ระบบ IUPAC นักเคมีกลุ่มหนึ่งได้ประชุมกันทีเจนีวาในปี ค.ศ.1892 และได้ช่วยกันร่างกฎ ่ การเรียกชื่อขึนมา เรียกว่าระบบ IUPAC (International Union of Pure and Applied Chemistry) ้ โ ด ย จ า น ว น นั บ ใ น ภ า ษ า ก รี ก ร ะ บุ จ า น ว น อ ะ ต อ ม ข อ ง ค า ร์ บ อ น แ ล ะ ล ง ท้ า ย ด้ ว ย เ -น (-ane) จานวนนับภาษากรีกมีดงนี้ ั 1 = มีทหรือเมท (meth-) 6 = เฮกซ (hex-) 2 = อีทหรือเอท (eth-) 7 = เฮปท (hept-) 3 = โพรพ (prop-) 8 = ออกท (oct-) 4 = บิวท (but-) 9 = โนน (non-) 5 = เพนท (pent-) 10 = เดกค (deca-) และมีขนตอนในการเรียกดังนี้ ั้ 1) เลือกโซ่คาร์บอนทียาวทีสุดเป็นโซ่หลัก (parent name) เช่น ่ ่ CH 3 CHCH 2 CH 2CHCH 2CH 3 CH 3 CH 2 CH 3 จะเห็นได้ว่าโซ่คาร์บอนทียาวทีสุดมีคาร์บอนต่อกัน 7 อะตอม จึงเรียกชื่อโซ่หลักว่า เฮปเทน ่ ่ (heptane) 2) กาหนดตาแหน่ งของคาร์บอนอะตอมในโซ่หลัก โดยให้ตาแหน่ งของคาร์บอนที่มหมู่ ี แทนที่ (substituent) มีตวเลขต่าสุด เช่น ั 1 2 3 4 5 6 7 CH 3CHCH 2CH 2CHCH 2CH 3 CH 3 CH 2CH 3 สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 18
  • 19. เคมีอินทรีย์ 2/2554 ถ้านับจากขวาไปซ้ายจะทาให้หมู่แทนทีอยู่ทตาแหน่ งที่ 3 และ 6 แต่ถ้านับจากซ้ายไปขวา ่ ่ี หมู่แทนที่จะอยู่ท่ตาแหน่ งที่ 2 และ 5 ดังนันจึงนับจากซ้ายไปขวาเพราะตัวเลขของหมู่ ี ้ แทนทีจะต่ากว่า ่ 3) หมู่แ ทนที่ต่ อ อยู่ก ับตาแหน่ งใดของคาร์บอนอะตอมในโซ่หลักการอ่ านชื่อ ก็จะระบุ ตาแหน่งของคาร์บอนอะตอมนันแล้วตามด้วยชื่อของหมู่แทนที่ โดยจานวนคาร์บอนของหมู่ ้ แทนที่จะลงท้ายด้ว ย อิล เช่น ในตัว อย่างข้างต้นอ่ านว่าหมู่ 2–methyl และ 5–ethyl ตามลาดับ 4) ในการเรียกชื่อจะเริมด้วยชื่อของหมู่แทนทีเรียงตามลาดับตัวอักษรแล้วตามด้วยชื่อหลัก ่ ่ ดังนันสารประกอบในตัวอย่างข้างต้นจึงมีช่อเรียกว่า 5–ethyl-2–methylheptane ้ ื 5) ถ้าในโมเลกุลมีหมู่แทนทีชนิดเดียวกันมากกว่า 1 หมู่ ให้เติมคาว่า di, tri, tetra, … เพื่อ ่ บอกถึงจานวนของหมูแทนทีดวย และถ้าหมูแทนทีชนิดเดียวกันแทนทีอยู่ทคาร์บอนอะตอม ่ ่ ้ ่ ่ ่ ่ี เดียวกันทัง 2 หมูให้ระบุตวเลขของตาแหน่งนันซ้าด้วย เช่น ้ ่ ั ้ CH 3 CH 3 CH 3CHCHCH 2CH 3 CH 3CH 2 CH 2 CCH 2 CH 3 CH 3 CH 3 2,3–dimethylpentane 3,3–dimethylhexane 6) สาหรับหมู่แอลคิล (alkyl group) ซึงเป็ นหมู่แทนทีนน เกิดจากการลดจานวนอะตอมของ ่ ่ ั้ ไฮโดรเจนในแอลเคนลง 1 อะตอม จึงมีสตรทัวไป CnH2n+1 ดังตาราง 2.2 ู ่ ตาราง 1.5 แสดงชื่อและสูตรโครงสร้างของหมูแอลคิลทีสาคัญ ่ ่ ชื่อหมู่แอลคิ ล สูตรโครงสร้าง methyl CH 3 ethyl CH 2CH 3 n – propyl CH 2CH 2CH 3 isopropyl CHCH 3 CH 3 สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 19
  • 20. เคมีอินทรีย์ 2/2554 ชื่อหมู่แอลคิ ล สูตรโครงสร้าง n – butyl CH2CH2CH2CH3 isobutyl CH 2CHCH 3 CH 3 sec – butyl CH 3CHCH 2CH 3 CH 3 tert - butyl CCH 3 CH 3 ในบางครังอาจพบว่าหมู่แอลคิลมีโครงสร้างทีซบซ้อนมากกว่าในตาราง 2.2 แต่หลักในการ ้ ่ ั เรียกชื่อยังคงเป็นไปในทานองเดียวกัน โดยจะต้องนับคาร์บอนทีสร้างพันธะกับโซ่หลักเป็ นตาแหน่ ง ่ ที่ 1 เสมอ เช่น CH 3 6 5 3 2 1 CH 3CHCHCH 2 CH 2CH 2 4 CH 3 4, 5 – dimethylhexyl 1.2.2.2 การเรียกชื่อสารประกอบไซโคลแอลเคน การเรียกชื่อไซโคลแอลเคนจะเรียกทานองเดียวกับแอลเคน ยกเว้นแต่ช่อหลักซึ่ง ื บอกจานวนคาร์บอนในวงนันจะต้องนาหน้าด้วยคาว่า ไซโคล– (cyclo- ) ซึงแสดงดังตาราง ้ ่ ตาราง 1.6 แสดงตัวอย่างของไซโคลแอลเคนบางชนิด สูตรโครงสร้าง ชื่อ จุดเดือด (C) Cyclopropane -33 หรือ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 20
  • 21. เคมีอินทรีย์ 2/2554 สูตรโครงสร้าง ชื่อ จุดเดือด (C) Cyclobutane 13 หรือ Cyclopentane 49 หรือ Cyclohexane 81 หรือ การเขียนสูตรแสดงโมเลกุลของไซโคลแอลเคนนิยมเขียนเป็ นรูปเรขาคณิตเพราะเขียนง่าย แต่การใช้สูตรแบบนี้จะต้องระลึกเสมอว่าแต่ละอะตอมของคาร์บอน (ซึงเขียนแสดงเพียงมุมของรูป ่ เหลียมเท่านัน) จะต้องสร้างพันธะกับไฮโดรเจน 2 อะตอม และจากตาราง 2.3 จะเห็นว่าไซโคลแอ ่ ้ ลเคนมีจดเดือดสูงกว่า n–alkane ทีมจานวนคาร์บอนเท่ากัน ุ ่ ี ไซโคลแอลเคนที่มหมู่แอลคิลแทนที่จะเรียกชื่อเป็ นอนุ พนธ์ของไซโคลแอลเคน โดยถ้ามี ี ั การแทนทีเพียง 1 หมู่ ก็ไม่จาเป็ นต้องระบุตาแหน่ งทีแทนที่ เพราะทุก ๆ ตาแหน่ งในวงจะสมมาตร ่ ่ กันหมด เช่น แต่ถ้ามีการแทนที่ตงแต่ 2 ตาแหน่ งขึ้นไป จาเป็ นต้องระบุตาแหน่ งที่มการแทนที่ด้วย ั้ ี โดยทัวไปให้มการนับตาแหน่ งที่มการแทนที่ใด ๆ เป็ นตาแหน่ งที่ 1 แล้วนับวนไปจนรอบวงใน ่ ี ี ทิศทางทีทาให้หมูแทนทีมตวเลขน้อยทีสุด เช่น ่ ่ ่ ี ั ่ 1,3–dimethylcyclopentane 1–ethyl–3–methylcyclohexane สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 21
  • 22. เคมีอินทรีย์ 2/2554 ถ้าวงของไซโคลแอลเคนต่ออยูกบหมูแอลคิลทีมโครงสร้างซับซ้อน มักนิยมเรียกหมู่ไซโคล ่ ั ่ ่ ี แอลคิลเป็นหมูแทนทีต่อกับแอลเคน เช่น ่ ่ 3–cyclopentyl–2,5–dimethylhexane 1.2.2.3 การเรียกชื่อสารประกอบแอลคีน ั ั การเรียกชื่อโดยระบบ IUPAC นัน ถ้ามีหมู่ฟงก์ชนจะต้องพิจารณาถึงหมู่ฟงก์ชน ้ ั ั ของสารประกอบเพื่อใช้เป็นชื่อหลัก ในกรณีของแอลคีนมีขนตอนดังนี้ ั้ 1) เลือกโซ่คาร์บอนทียาวทีสุดและมีพนธะคู่อยู่ในโซ่นนด้วยเป็ นชื่อหลัก แต่ในกรณีทมพนธะคู่ ่ ่ ั ั้ ่ี ี ั มากกว่า 1 พันธะ ให้เลือกโซ่ท่มพนธะคู่มากทีสุดเป็ นชื่อหลัก แม้ว่าจะไม่ใช่โซ่ทยาวทีสุดก็ ี ี ั ่ ่ี ่ ตาม 2) กาหนดตาแหน่งคาร์บอนอะตอมในโซ่หลัก โดยให้พนธะคู่อยูในตาแหน่งทีมเลขน้อยทีสุด ั ่ ่ ี ่ 3) ถ้ามีพนธะคู่เพียง 1 พันธะ ให้ลงท้ายชื่อว่า – อีน (-ene) ถ้ามี 2 พันธะใช้ – ไดอีน ั (-diene) 4) ตาแหน่งของพันธะคู่ให้ระบุดวยตัวเลขของคาร์บอนอะตอมแรกทีสร้างพันธะคู่นน ้ ่ ั้ 5) ถ้ามีโซ่กงให้ระบุทานองเดียวกันกับสารประกอบแอลเคน ิ่ ตาราง 1.7 การเรียกชื่อของสารประกอบแอลคีนบางชนิด สูตรโครงสร้าง ชื่อที่เรียก 1 3 2 4 5–methyl–1–hexene 6 5 1 3 1,3–butadiene 2 4 สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 22
  • 23. เคมีอินทรีย์ 2/2554 สูตรโครงสร้าง ชื่อที่เรียก 1 2–ethyl–1–butene 2 4 3 2 7 2,4,6,6–tetramethyl–2-heptene 4 6 1 3 5 แอลคีนโมเลกุลเล็กๆ บางโมเลกุลมีช่อสามัญทีนิยมใช้มากกว่าชื่อ IUPAC เช่น ื ่ CH 3 H2C CH 2 H2C CH CH3 H3C C CH 2 ethylene propylene isobutylene 1.2.2.4 การเรียกชื่อสารประกอบไซโคลแอลคีน ถ้าในวงของสารประกอบมีพนธะคู่เพียง 1 พันธะ ให้นับคาร์บอนอะตอมที่สร้าง ั พันธะคู่เป็ นตาแหน่ งที่ 1 และไม่จาเป็ นจะต้องระบุตาแหน่ งของพันธะคู่นน แต่ถ้ามีพนธะคู่ 2 พันธะ ั้ ั จะต้องระบุตาแหน่งของพันธะทังสองด้วย เช่น ้ 2 3 3 1 2 4 6 4 1 5 5 3–methylcyclopentene 2–ethyl–1,3–cyclohexadiene 1.2.3.5 การเรียกชื่อสารประกอบแอลไคน์ การเรียกชื่อแอลไคน์จะเหมือนกับแอลคีนแต่ให้เปลี่ยนคาลงท้ายชื่อเป็ น –ไอน์ (- yne) ในกรณีทในโมเลกุลมีทงพันธะคู่และพันธะสาม โซ่หลักจะต้องมีทงพันธะคู่และพันธะสาม และ ่ี ั้ ั้ คาลงท้ายชื่อจะเป็ น –อีน - ไอน์ (-en -yne) ส่วนในการนับตาแหน่ งจะต้องให้พนธะคู่มตวเลขน้อย ั ี ั กว่า เช่น สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 23
  • 24. เคมีอินทรีย์ 2/2554 CH 3 HC CCHCH 2 CH 3 1 2 3 4 5 หรือ 3–methyl–1–pentyne 1 2 3 4 5 6 H 2C CHCH 2 CH 2 C CH หรือ 1–hexene–5–yne แม้ว่าชื่อ IUPAC ของสารประกอบตัวแรกของแอลไคน์จะเป็ นอีไทน์ (ethyne) แต่ มักนิยมเรียกว่า อะเซทิลน (acetylene) และสารประกอบตัวแรกๆ ของแอลไคน์ก็นิยมเรียกเป็ น ี อนุพนธ์ของอะเซทิลน โดยพิจารณาว่าสารนันๆ เกิดจากการแทนทีไฮโดรเจนของอะเซทิลนด้วยหมู่ ั ี ้ ่ ี แอลคิล เช่น HC CH H3CC CH H3CC CCH3 acetylene methylacetylene dimethylacetylene 1.2.3.6 การเรียกชื่อสารประกอบอะโรมาติ ก อนุพนธ์ของเบนซีน เกิดจากไฮโดรเจนอะตอมในโมเลกุลของเบนซีนถูกแทนทีดวย ั ่ ้ ธาตุใดธาตุหนึ่ง หรือหมู่ธาตุใดหมู่ธาตุหนึ่ง สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนทีเป็ นอนุ พนธ์ ่ ั ของเบนซีนจึงมีอยูมากมายและการเรียกชื่อ IUPAC ของอนุพนธ์เหล่านี้จะอ่านโดยใช้เบนซีนเป็ นชื่อ ่ ั หลัก ดังต่อไปนี้ ถ้าเบนซีนมีหมูแทนทีเพียงหมูเดียวให้อ่านหมูแทนทีแล้วตามด้วยชื่อหลักเบนซีน สารประกอบ ่ ่ ่ ่ ่ เหล่านี้โดยมากมีช่อสามัญ และบางครังชื่อสามัญมักนิยมเรียกมากกว่าชื่อ IUPAC เช่น ื ้ methylbenzene เรียกชื่อสามัญว่า toluene aminobenzene มีช่อสามัญว่า aniline เป็นต้น ื CH 3 H 3C CH 2 methylbenzene (toluene) ethylbenzene สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 24
  • 25. เคมีอินทรีย์ 2/2554 CH 2 H 3C CH 3 HC CH vinylbenzene isopropylbenzene (styrene) (cumene) OH NH 2 Cl hydroxybenzene aminobenzene (phenol) (aniline) chlorobenzene ถ้าหมูทต่อกับเบนซีนเป็ นหมู่ทซบซ้อนมาก ๆ อาจจะเรียกชื่อเป็ นสารประกอบของ ่ ่ี ่ี ั แอลเคน หรือแอลคีน หรืออื่น ๆ แล้วเรียกเบนซีนเป็ นหมู่แทนที่ เป็ นหมู่ฟีนิล (phenyl group) และเรามักใช้สญลักษณ์แทนฟีนิวดังนี้ Ph- หรือ - เช่น ั 3–ethyl–5–phenyl–1–pentene phenylacetylene biphenyl เบนซีนทีมหมูแทนที่ 2 หมู่ อาจมีไอโซเมอร์ได้ 3 ไอโซเมอร์ เช่น diethylbenzene ่ ี ่ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 25
  • 26. เคมีอินทรีย์ 2/2554 Note: ตาแหน่ง ortho meta และ para R ortho ortho meta meta para การระบุตาแหน่งทังสองทีหมูเอทิลแทนทีอยูอาจระบุเป็ นตัวเลขก็ได้ หรือทีสะดวกและนิยมมากกว่า ้ ่ ่ ่ ่ ่ คือใช้คานาหน้าว่า ortho– สาหรับตาแหน่ ง 1, 2 meta– สาหรับตาแหน่ ง 1, 3 และ para– สาหรับ ตาแหน่ง 1, 4 โดยมักใช้เป็นตัวย่อ o– m– และ p– แทน ortho– meta– และ para– ตามลาดับ แต่ถามีหมูแทนทีมากกว่า 2 หมูขนไปจะระบุตาแหน่งทีแทนทีดวยตัวเลขอย่างปกติ เช่น ้ ่ ่ ่ ้ึ ่ ่ ้ NO 2 Br 1,2,3-trimethylbenzene 3-bromo-2-nitrotoluene สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 26
  • 27. เคมีอินทรีย์ 2/2554 I NH 2 2-amino-4-iodotoluene ถ้ามีวงอะโรมาติกมาเชื่อมต่อกันโดยมีด้านใดด้านหนึ่งร่วมกันเรียกว่าพอลินิวเคลียร์อะโร มาติกไฮโดรคาร์บอน (polynuclear aromatic hydrocarbon) เช่น naphthalene phenanthrene anthracene 1.2.3.7 การเรียกชื่อแอลกอฮอล์ ชื่ อสามัญ นิย มใช้เ รีย กแอลกอฮอล์โมเลกุ ล เล็กมีมวลโมเลกุ ล น้ อ ย โดยให้เ รีย กชื่อ หมู่ แอลคิลก่อนแล้วลงท้ายด้วยคาว่าแอลกอฮอล์ เช่น OH H 3C OH HO Methyl alcohol ethyl alcohol iso-propyl alcohol ชื่อ IUPAC มีหลักการเรียกดังนี้ 1) เรียกโซ่คาร์บอนทียาวทีสุดและมีหมู่ – OH เกาะอยูดวยเป็นโซ่หลัก ่ ่ ่ ้ 2) นับตาแหน่ งคาร์บอนอะตอมในโซ่หลัก ให้คาร์บอนที่มหมู่ –OH เกาะอยู่เ ป็ น ี ตาแหน่ งต่าทีสุด และเรียกเลขตาแหน่งของหมู่ –OH ไว้หน้าชื่อโซ่หลัก ่ 3) ให้เรียกเช่นเดียวกับหลักการเรียกชื่อแอลเคนโดยให้ตด –e ท้ายชื่อแอลเคนออก ั แล้วเติม –ol แทน 4) หมู่แทนที่ให้เรียกโดยใช้หลักเดียวกับการเรียกชื่อแอลเคน คือเรียกเลขตาแหน่ ง และชื่อหมูแทนทีก่อนจึงตามด้วยชื่อของโซ่หลัก ่ ่ 5) ส าหรับโมเลกุ ล ที่เ ป็ นวงให้ต าแหน่ งคาร์บอนอะตอมที่หมู่ –OH เกาะอยู่เ ป็ น ตาแหน่ งที่ 1 เสมอ ดังนันในการเรียกชื่อจึงไม่ต้องเรียกเลขตาแหน่ งของหมู่ – OH ้ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 27
  • 28. เคมีอินทรีย์ 2/2554 ั ั หมายเหตุ: ปจจุบน IUPAC ได้ใช้การเรียกชื่อทีอยูในวงเล็บเช่นกัน ่ ่ 6) หากมีหมู่ hydroxyl group มากกว่า 1 ให้เติมคานาหน้า –ol เพื่อบอกจานวน hydroxyl และชื่อของสายโซ่หลักต้องไม่ตด e เช่น HOCH2CH2OH = 1,2- ั ethanediol ี ั ั 7) โครงสร้างที่มหมู่ฟงก์ชน alkene หรือ alkyne กับ alcohol ต้องนับให้ตาแหน่ ง hydroxyl group ทีตาแหน่งทีน้อยทีสุด ่ ่ ่ 1.2.3.8 การเรียกชื่ออีเทอร์ 1) การเรียกชื่อสามัญโดยทัวไปเราพบว่าการเรียกชื่อของอีเทอร์แบบสามัญจะพบมาก ่ เนื่องจากมีความซับซ้อนน้อยและไม่ยุ่งยากเหมือนการเรียกชื่อตามระบบ IUPAC ในการเรียกชื่อสามัญจะเรียกเป็ นหมู่แอลคิลทีต่อกับออกซิเจนโดยเรียงลาดับตาม ่ อักษรภาษาอังกฤษ แล้วลงท้ายด้วยอีเทอร์ เช่น สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 28
  • 29. เคมีอินทรีย์ 2/2554 2) ชื่อ IUPAC ของสารประกอบอีเทอร์ค่อนข้างซับซ้อนโดยเราจะเรียกหมู่ RO- ว่า เป็ น alkoxy group โดยให้หมู่แอลคอกซีเป็ นหมู่ทมลาดับตัวอักษรตัวแรกๆ ตาม ่ี ี ภาษาอังกฤษ และเรียกอีกหมูหนึ่งเป็นกลุ่มแอลคิล เช่น ่ สาหรับโครงสร้างทีเป็นวงอีเทอร์เราจะใช้ oxa- นาหน้าชื่อ เช่น ่ 1.2.3.9 การเรียกชื่อแอลดีไฮด์และคีโตน ในระบบ IUPAC จะเรียกชื่อแอลดีไฮด์จากชื่อของแอลเคน โดยเปลียนอักษรทีลง ่ ่ ท้ายชื่อแอลเคนจาก –e เป็ น –al และให้นับตาแหน่ งคาร์บอนอะตอมในหมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์ (-CHO) เป็นตาแหน่งที่ 1 เสมอ เช่น สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 29