SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
วัตถุ (Object) และ การวาดโดยใช้ Pen Tool
วัตถุ (Object)
ในบทที่แล้ว ผู้เรียนเริ่มคุ้นเคยกับวัตถุ (object) ในโปรแกรม illustrator สิ่งที่ปรากฏบนพื้นที่ทางาน
ไม่ว่าจะเป็นรูปสี่เหลี่ยม วงกลม เส้นโค้ง เส้นตรง หรือรูปภาพต่างๆ สิ่งเหล่านี้เรียกว่าวัตถุ และวัตถุต้องมีที่อยู่
(space) ถ้ามีการซ้อนทับกันต้องมีลาดับชั้นอยู่บนหรือล่าง วัตถุที่อยู่บนจะบังวัตถุที่อยู่ล่างกว่า
ส่วนประกอบของวัตถุ
ภาพกราฟิกแบบเวกเตอร์แต่ละภาพมักจะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มารวมกันแต่ละภาพหรือแต่
ละวัตถุที่องค์ประกอบหลัก ดังนี้
เส้น (Stroke) เป็นเส้นรูปทรงของวัตถุ สามารถกาหนดสี ขนาด และรูปแบบของเส้น
ต่าง ได้
สีพื้น (fill) เป็นส่วนของพื้นที่ด้านในของวัตถุ สามารถกาหนดสีลวดลาย (pattern)
ความโปร่งใส รวมถึงการใส่ฟิลเตอร์และเอฟเฟ็กต์
กรอบภาพ (Bounding Box) แสดงตาแหน่งและขอบเขตของวัตถุ สามารถใช้เพื่อปรับขนาด หมุน
และเคลื่อนย้ายวัตถุได้
เส้นพาธ (Path) เป็นเส้นโครงร่างพื้นฐานของวัตถุ ประกอบด้วยจุดยึดหลายๆ จุด ใช้ใน
การกาหนดรูปทรงของวัตถุ
จุดยึด (Anchor point) เป็นจุดที่ใช้ตรึงแนวของเส้นพาธ และกาหนดความโค้งของเส้นได้ตาม
ต้องการ โดยการปรับที่ direction
การปรับแต่งเส้นพาธ (Path)
Path คือเส้นโครงสร้างรูปทรงรูปภาพที่สร้างโดย
โปรแกรม illustrator ส่วนประกอบของเส้นพาธ
ประกอบด้วย จุดยืด (Anchors point) และตัวปรับทิศทาง
(direction) เครื่องมือสร้างเส้นพาธที่นิยมคือ Pen
A Selected end point เป็นจุดสิ้นสุดของเส้นพาธแบบปลายเปิด เมื่อถูกเลือกจะเป็นสี่เหลี่ยมทึบ เส้น
แบบปลายปิดจะไม่มี Selected and point
B Selected anchor point จุดยึดที่ถูกเลือก จะเป็นสี่เหลี่ยมทึบ
C Unselected anchor point จุดยึดที่ไม่ได้ถูกเลือก จะเป็นสี่เหลี่ยมโปร่ง
D Curved path segment ส่วนของเส้นพาธที่ถูกตัดเป็นเส้นโค้ง
E Direction line แขนตัวปรับทิศทาง ใช้ควบคุมความโค้งและทิศทางของเส้นพาธ
F Direction point จุด direction เป็นตาแหน่งที่ใช้เมาส์คลิกเพื่อปรับแต่ง direction line และเส้นพาธ
กรอบภาพ (Bounding Box) เมื่อใช้ Selection tool เลือกที่เส้นพาธ
เมื่อใช้ direct selection tool คลิกที่เส้นโค้งทางด้านซ้ายของจุดยึด
เมื่อใช้ direct selection tool
คลิกที่เส้นโค้ง ทางด้านซ้ายของจุดยึด
เมื่อใช้ direct selection tool
คลิกที่เส้นโค้งทางด้านขวาของจุดยึด
เมื่อใช้เครื่องมือ direct selection tool
คลิกที่จุดยึดของเส้นพาธ
เมื่อลองปรับให้แขนตัวปรับทิศทาง (Direction line) ให้สั้นลง
เมื่อลองบิดหมุน Direction Line
เมื่อลองเพิ่มความยาวของ direction line1 ด้าน
สังเกตเส้นพาธจะมีความโค้งเพิ่มขึ้น
เมื่อลองปรับลดแขน direction line
ที่ปลายเส้นด้านขวาให้หดหายไป
เมื่อปรับลดแขน direction line ของจุดยึดให้หายไป 1 แขน
เส้นพาธด้านขวาจะกลายเป็นเส้นตรง
เมื่อลองหมุน direction line ของปลายเส้น
พาธด้านซ้ายกลับจากบนลงล่าง 180 องศา
เส้นพาธแบบปลายปิด
เส้นพาธแบบปลายเปิด
การใช้เครื่องมือ Pen
เครื่องมือ Pen จัดเป็นเครื่องมือที่สาคัญที่สุดในโปรแกรม Illustrator ที่ใช้ในการสร้างเส้นพาธ เหมาะ
สาหรับสร้างรูปทรงอิสระที่เครื่องมืออื่นๆ ทาไม่ได้หรือทาได้ยาก เช่นใบหน้าคน หรือภาพวิวทิวทัศน์
รายละเอียดของเครื่องมือ Pen Tool
Pen Tool(P) ปากกาสาหรับวาดเส้นเพื่อให้ได้รูปตามที่ต้องการ
Add Anchor Point Tool(+) สาหรับเติม(add) จุด anchor เพื่อขึ้นทีละเส้น
Delete Anchor Point Tool(-) สาหรับลบ (delete) จุด anchor ทีละเส้น
Convert Anchor Point Tool(shift+C) สาหรับปรับแต่งเส้น ทางานกับจุด anchor โดยตรง
การวาดเส้นตรงด้วย Pen Tool
1. คลิกเครื่องมือ Pen Tool
2. คลิกเมาส์ที่กลางหน้ากระดาษแล้วปล่อยเมาส์ ขยับเมาส์ไปยังจุดที่ 2 คลิกเมาส์และปล่อยเมาส์
ขยับไปยังจุดที่ 3 คลิกเมาส์และปล่อยเมาส์ คลิกจุดที่ 4 คลิกเมาส์และปล่อยเมาส์
3. กรณีกดแป้น Shift ร่วมด้วยขณะคลิกเมาส์แต่ละจุด จะเปนการบังคับให้เส้นทามุมทีละ 45 องศา
ให้คลิกเมาส์ 1 ครั้งและปล่อยเมาส์ต่อไปเรื่อยๆ จนครบ
ไม่คลิกเมาส์ค้างไว้แล้วลากเด็ดขาด
การใช้ Add Anchor Point Tool(+)
1. สามเหลี่ยมรูปเดิมที่สร้างไว้ ให้คลิกเลือก Add Anchor Point Tool(+)
2. คลิกที่เส้น ต้องคลิกให้ตรงเส้นเท่านั้น
3. กด v เพื่อเปลี่ยนเป็นลูกศรสีดา (Selection Tool)
4. คลิกที่รูปสามเปลี่ยนจะเห็นว่าได้ Anchor Point เพิ่มขึ้นมาอีก
ต้องคลิกให้ตรงเส้นเท่านั้น
ไม่เช่นนั้นจะขึ้นคาเตือนบอกไม่สามารถสร้างจุดได้
ให้กดOK ทิ้งไป
มีจุด Anchor Point เพิ่มขึ้น 2 จุด
การใช้ Delete Anchor Point Tool(-)
1. สามเหลี่ยมรูปเดิมที่สร้างไว้ ให้คลิกเลือก Delete Anchor Point Tool(-)
2. คลิกที่ที่ยอดปลายมุมรูปสามเหลี่ยม
3. กด v เพื่อเปลี่ยนเป็นลูกศรสีดา (Selection Tool)
4. คลิกที่รูปสามเปลี่ยนจะเห็นว่าได้ ส่วนที่ต้องการลบจะหายไป
คลิกตรงจุด Anchor Point ที่ต้องการลบ
ส่วนที่คลิกจะหายไป
How to make a Box
1. ใช้ Pen tool คลิกพื้นที่ว่างกลางหน้ากระดาษ
2. ใช้ Pen tool คลิกจุด anchor ทถัดมา โดยให้เยื่องกับจุดที่ 1 ไปทางด้านขวา
เล็กน้อย
3. ใช้ Pen tool คลิกจุด anchor ที่3 โดยให้เยื่องลงด้านล่าง
4. ใช้ Pen tool คลิกจุด anchor ที่4 เป็นเส้นตรง ให้สั้นกว่าจุดที่1
5. เมื่อถึงจุด anchor ที่ 5 ให้ดูที่ cursor จะเป็นวงกลมเล็กๆ ก่อน เพื่อให้เส้น
ทั้งหมดเชื่อมต่อกัน เพื่อความเรียบร้อยในการทางาน
6. เมื่อได้วัตถุสาหรับ สร้างกล่องใน
ด้านที่ 1 แล้ว ให้นักเรียน Copy >Paste หรือ Ctrl+c และ Ctrl+v
7. เมื่อได้วัตถุกล่อง 2 ชิ้น ให้นักเรียนนามาประกอบกัน
เมื่อนาวัตถุ 2 ชิ้นประกบกัน
8. ให้นักเรียนคลิกที่ Selection Tool ก่อน 1 ครั้ง และคลิกที่พื้นที่ว่างอีก 1 ครั้ง เพื่อเป็นการสิ้นสุดวัตถุชิ้น
แรกที่นักเรียนสร้าง
9. คลิกที่ Pen Tool เพื่อสร้างด้านในกล่องอีก 2 ชิ้น โดยคลิกเมาส์ตามรูปด้านล่าง
10. เมื่อสร้างวัตถุสามเปลี่ยนเสร็จ 1 ชิ้น ให้นักเรียนคลิก Selection Tool จากนั้นจึงคลิกที่วัตถุสามเหลี่ยมที่
นักเรียนได้สร้างเมื่อสักครู่ ให้นักเรียน Copy >Paste หรือ Ctrl+c และ Ctrl+v
11. ให้ทาการ คลิกขวาที่วัตถุชิ้นที่ 2 เลือก คลิกขวา Transform > Reflect จากนั้นให้เลือก Vertical > OK
ดังรูป
รูปที่ได้หลังจากดาเนินการตามข้อ 8- 11
12.
13. ให้นักเรียนคลิกที่ Selection Tool ก่อน 1 ครั้ง และคลิกที่พื้นที่ว่างอีก 1 ครั้ง เพื่อเป็นการสิ้นสุดวัตถุชิ้น
ที่นักเรียนสร้าง
14. คลิก Pen Tool เพื่อสร้างวัตถุเป็นฝากล่อง โดยออกแบบตามรูปด้านล่าง
15. ให้นักเรียน คลิกที่
Selection Tool ก่อน 1 ครั้ง และคลิกที่พื้นที่ว่างอีก 1 ครั้ง เพื่อเป็นการสิ้นสุดวัตถุชิ้นที่นักเรียนสร้าง
16. คลิก Pen Tool เพื่อสร้างวัตถุเป็นฝากล่อง โดยออกแบบตามรูปด้านล่าง
เมื่อทาตามขั้นตอนทั้งหมด
จะได้รูปกล่อง 1 รูป
ขั้นตอนการลงสี
1. ให้นักเรียนเลือกวัตถุที่สร้างทีละชิ้นโดยใช้ Selection Tool
จากนั้นดับเบิลคลิกที่ fill เพื่อทาการเลือกสี
เมื่อดับเบิลคลิกที่ fill
จะได้หน้าต่างสี ลงสีด้านที่1
2. เลือกสีที่นักเรียนต้องการ โดยให้วัตถุชิ้นนี้มีสีเข้มกว่าสีที่ต้องการ 2-3 ระดับ
3. เมื่อนักเรียนเลือกลงสีในวัตถุที่ 1 เสร็จแล้ว ให้นักเรียนเลือกลาดับถัดไปในการลงสีจนแล้วเสร็จ
รูปที่ได้เมื่อลงสีเสร็จเรียบร้อย
วิธีการ Group วัตถุ
กล่องที่นักเรียนได้ทาการสร้างขึ้นมานั้น ถ้านักเรียนไม่ทาการ Group เวลาเคลื่อนย้าย วัตถุที่นักเรียน
สร้างเพื่อมาประกอบเป็นกล่องนั้นจะแยกชิ้นออกจากกัน เพื่อให้การเคลื่อนย้ายเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ให้
นักเรียนดาเนินการ Group วัตถุ ดังขั้นตอนต่อไปนี้
เคลื่อนย้ายวัตถุในขณะที่ยังไม่ได้ Group
สังเกตเส้นสีฟ้าคือวัตถุที่ถูกย้ายไม่ใช่ทั้งหมด
1. ให้นักเรียนใช้ Selection Tool ลากคลุมวัตถุทุกชิ้นที่รวมกันเป็นกล่องไว้
2. คลิกขวา เลือก Group หรือ Ctrl+G วัตถุจะหลายๆ ชิ้นจุถูกรวมกันเป็นชิ้นเดียวเมื่อทาการ
เคลื่อนย้ายจะไม่กระจัดกระจาย
ใช้ Selection Tool คลิกขวาเลือก Group
คลุมทั้งหมด
เคลื่อนย้ายวัตถในขณะที่ Group เรียบร้อย
สังเกตเส้นสีฟ้า คือ วัตถุถูกเคลื่อนย้ายทั้งหมด
3. ให้นักเรียนบันทึกงาน เข้า E-mail ตัวเอง
วิธีการจัดลาดับวัตถุ
การจัดลาดับการซ้อนทับวัตถุ (Arrange) เมื่อทางานกับวัตถุหลาย ๆ ชิ้นที่มีการวางทับกัน ลาดับใน
การซ้อนหน้าหรือหลัง จะมีผลต่อภาพที่ปรากฏ วัตถุที่อยู่หน้าจะบังวัตถุที่อยู่หลัง วิธีการจัดลาดับซ้อนทับของ
วัตถุ ทาได้โดยการคลิกเลือกวัตถุที่ต้องการเปลี่ยนลาดับ แล้วคลิกเลือกเมนู Object > Arrange ซึ่งมีเมนูย่อย
ให้เลือก 4 อย่างดังนี้
1. Bring to Front เลื่อนวัตถุชิ้นนั้นขึ้นมา 1 ชิ้น
2. Bring Forward วางวัตถุชิ้นนั้นไว้บนสุด
3. Send Backward เลื่อนวัตถุชิ้นนั้นลงไป 1 ชิ้น
4. Send to Back วางวัตถุชิ้นนั้นไว้ล่างสุด
วัตถุ 2 ชิ้น คลิกขวาวัตถุสีเขียว รูปที่ได้
Arrange > Bring to Front
วัตถุ 3 ชิ้น คลิกขวาที่วัตถุสีดา รูปที่ได้
Arrange > Bring Forward
วัตถุ 3 ชิ้น คลิกขวาที่วัตถุสีส้ม รูปที่ได้
Arrange > Send Backward
วัตถุ 3 ชิ้น คลิกขวาที่วัตถุสีส้ม รูปที่ได้
Arrange > Send to Back
กิจกรรมที่ 1
How to make a Box By Yourself
คาชี้แจง ปฏิบัติกิจกรรมดังต่อไปนี้
ให้นักเรียนเลือกภาพกล่องต่อไปนี้ 2 กล่อง วาดลงในโปรแกรม Illustrator โดยตั้งหน้ากระดาษ
ขนาด A4 แนวตั้ง 1 ไฟล์ ให้วาดทั้ง 2 รูป
1. ให้ใช้เครื่องมือ Pen Tool ในการวาดภาพ
2. ให้ลงสีโดยให้ภาพมีมิติ
3. Group วัตถุทั้งหมดให้เรียบร้อย
4. ตั้งชื่อชิ้นงานว่า Box_ ชั้น ห้อง เลขที่ ตัวอย่าง Box_6401
5. ส่งงานในเมล krukatmsw@gmail.com ภายในคาบเรียน ตั้งชื่อเรื่องในเมลว่า MyBox

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 6 เครื่องมือทูลส์และเครื่องมือบรัชส์
ใบความรู้ที่ 6 เครื่องมือทูลส์และเครื่องมือบรัชส์ใบความรู้ที่ 6 เครื่องมือทูลส์และเครื่องมือบรัชส์
ใบความรู้ที่ 6 เครื่องมือทูลส์และเครื่องมือบรัชส์ณัฐพล บัวพันธ์
 
ใบความรู้ที่ 10 เครื่องมือโพลีกอนและเครื่องมือไตรแองเกิล
ใบความรู้ที่ 10 เครื่องมือโพลีกอนและเครื่องมือไตรแองเกิลใบความรู้ที่ 10 เครื่องมือโพลีกอนและเครื่องมือไตรแองเกิล
ใบความรู้ที่ 10 เครื่องมือโพลีกอนและเครื่องมือไตรแองเกิลณัฐพล บัวพันธ์
 
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paintเครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม PaintBenjapeon Jantakhot
 
การเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุการเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุAugusts Programmer
 
กล่องเครื่องมือ (Toolbox) ใน adobe photoshop
กล่องเครื่องมือ (Toolbox) ใน adobe photoshopกล่องเครื่องมือ (Toolbox) ใน adobe photoshop
กล่องเครื่องมือ (Toolbox) ใน adobe photoshopMookmunee Mook
 
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
โปรแกรม Paint
โปรแกรม Paintโปรแกรม Paint
โปรแกรม Paintguestf00501
 
การลงสีด้วย Live Paint Bucket
การลงสีด้วย Live Paint Bucketการลงสีด้วย Live Paint Bucket
การลงสีด้วย Live Paint BucketNichakorn Sengsui
 
ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์
ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์
ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์ณัฐพล บัวพันธ์
 
1.3 การทำงานด้านต่างๆของโปรแกรม sketch up 2015
1.3 การทำงานด้านต่างๆของโปรแกรม sketch up 20151.3 การทำงานด้านต่างๆของโปรแกรม sketch up 2015
1.3 การทำงานด้านต่างๆของโปรแกรม sketch up 2015วิชา อาคม
 
ใบความรู้ที่ 8 เครื่องมือไลน์และเครื่องมือเคิร์ฟ
ใบความรู้ที่ 8 เครื่องมือไลน์และเครื่องมือเคิร์ฟใบความรู้ที่ 8 เครื่องมือไลน์และเครื่องมือเคิร์ฟ
ใบความรู้ที่ 8 เครื่องมือไลน์และเครื่องมือเคิร์ฟณัฐพล บัวพันธ์
 

What's hot (20)

ใบความรู้ที่ 6 เครื่องมือทูลส์และเครื่องมือบรัชส์
ใบความรู้ที่ 6 เครื่องมือทูลส์และเครื่องมือบรัชส์ใบความรู้ที่ 6 เครื่องมือทูลส์และเครื่องมือบรัชส์
ใบความรู้ที่ 6 เครื่องมือทูลส์และเครื่องมือบรัชส์
 
ใบความรู้ที่ 10 เครื่องมือโพลีกอนและเครื่องมือไตรแองเกิล
ใบความรู้ที่ 10 เครื่องมือโพลีกอนและเครื่องมือไตรแองเกิลใบความรู้ที่ 10 เครื่องมือโพลีกอนและเครื่องมือไตรแองเกิล
ใบความรู้ที่ 10 เครื่องมือโพลีกอนและเครื่องมือไตรแองเกิล
 
Illustrator stickerline
Illustrator stickerlineIllustrator stickerline
Illustrator stickerline
 
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paintเครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paint
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
การเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุการเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุ
 
กล่องเครื่องมือ (Toolbox) ใน adobe photoshop
กล่องเครื่องมือ (Toolbox) ใน adobe photoshopกล่องเครื่องมือ (Toolbox) ใน adobe photoshop
กล่องเครื่องมือ (Toolbox) ใน adobe photoshop
 
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
 
5.4
5.45.4
5.4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
โปรแกรม Paint
โปรแกรม Paintโปรแกรม Paint
โปรแกรม Paint
 
การลงสีด้วย Live Paint Bucket
การลงสีด้วย Live Paint Bucketการลงสีด้วย Live Paint Bucket
การลงสีด้วย Live Paint Bucket
 
Selection tool Ps CS5
Selection tool Ps CS5Selection tool Ps CS5
Selection tool Ps CS5
 
ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์
ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์
ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์
 
การใช้โปรแกรม Paint
การใช้โปรแกรม Paintการใช้โปรแกรม Paint
การใช้โปรแกรม Paint
 
การลอกลาย โดยวีรศาสตร์ สาสุทธิ์
การลอกลาย โดยวีรศาสตร์  สาสุทธิ์การลอกลาย โดยวีรศาสตร์  สาสุทธิ์
การลอกลาย โดยวีรศาสตร์ สาสุทธิ์
 
5
55
5
 
Slide sketchup
Slide sketchupSlide sketchup
Slide sketchup
 
1.3 การทำงานด้านต่างๆของโปรแกรม sketch up 2015
1.3 การทำงานด้านต่างๆของโปรแกรม sketch up 20151.3 การทำงานด้านต่างๆของโปรแกรม sketch up 2015
1.3 การทำงานด้านต่างๆของโปรแกรม sketch up 2015
 
ใบความรู้ที่ 8 เครื่องมือไลน์และเครื่องมือเคิร์ฟ
ใบความรู้ที่ 8 เครื่องมือไลน์และเครื่องมือเคิร์ฟใบความรู้ที่ 8 เครื่องมือไลน์และเครื่องมือเคิร์ฟ
ใบความรู้ที่ 8 เครื่องมือไลน์และเครื่องมือเคิร์ฟ
 

Similar to วัตถุObject

การทำปุ่มแก้วใน Flash
การทำปุ่มแก้วใน Flashการทำปุ่มแก้วใน Flash
การทำปุ่มแก้วใน FlashAugusts Programmer
 
ม้วนขอบภาพให้โค้งงอ
ม้วนขอบภาพให้โค้งงอม้วนขอบภาพให้โค้งงอ
ม้วนขอบภาพให้โค้งงอIvIy Alice
 
ใบงานที่ 43 เทคนิดการวาดหน้าการ์ตูน
ใบงานที่ 43 เทคนิดการวาดหน้าการ์ตูนใบงานที่ 43 เทคนิดการวาดหน้าการ์ตูน
ใบงานที่ 43 เทคนิดการวาดหน้าการ์ตูนSuda Sangtong
 
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพLesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพErrorrrrr
 
การใช้งาน Illustrator
การใช้งาน Illustratorการใช้งาน Illustrator
การใช้งาน IllustratorWatcharaporn Tinkul
 
ใบความรู้ที่ 13 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอ
ใบความรู้ที่ 13 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอใบความรู้ที่ 13 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอ
ใบความรู้ที่ 13 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอNimanong Nim
 
คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6krissada634
 
ใบความรู้ที่ 6การทำโปสการ์ด
ใบความรู้ที่ 6การทำโปสการ์ดใบความรู้ที่ 6การทำโปสการ์ด
ใบความรู้ที่ 6การทำโปสการ์ดNimanong Nim
 
ใบความรู้ที่ 13 เครื่องมือสตาร์และเครื่องมือคอลเอ้าท์
ใบความรู้ที่ 13 เครื่องมือสตาร์และเครื่องมือคอลเอ้าท์ใบความรู้ที่ 13 เครื่องมือสตาร์และเครื่องมือคอลเอ้าท์
ใบความรู้ที่ 13 เครื่องมือสตาร์และเครื่องมือคอลเอ้าท์ณัฐพล บัวพันธ์
 
การเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุการเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุfocusstorm124
 
แนะนำ Adobe photo shop 7
แนะนำ Adobe photo shop 7แนะนำ Adobe photo shop 7
แนะนำ Adobe photo shop 7chaiwat vichianchai
 
การวาดรูปด้วยโปรแกรม Paint 3
การวาดรูปด้วยโปรแกรม Paint 3การวาดรูปด้วยโปรแกรม Paint 3
การวาดรูปด้วยโปรแกรม Paint 3pornthip7890
 
โปรเเกรมIllustratorพื้นฐาน
โปรเเกรมIllustratorพื้นฐานโปรเเกรมIllustratorพื้นฐาน
โปรเเกรมIllustratorพื้นฐานFaith Heart
 
ใบความรู้ที่ 15 เทคนิคการใช้เครื่องมือในโปรแกรมเพ้นท์
ใบความรู้ที่ 15 เทคนิคการใช้เครื่องมือในโปรแกรมเพ้นท์ใบความรู้ที่ 15 เทคนิคการใช้เครื่องมือในโปรแกรมเพ้นท์
ใบความรู้ที่ 15 เทคนิคการใช้เครื่องมือในโปรแกรมเพ้นท์ณัฐพล บัวพันธ์
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpPiyaboon Nilkaew
 
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)wattikorn_080
 
ใบปฏิบัติงานที่ 1 1
ใบปฏิบัติงานที่ 1 1ใบปฏิบัติงานที่ 1 1
ใบปฏิบัติงานที่ 1 1Duangsuwun Lasadang
 
การทำลายน้ำ
การทำลายน้ำการทำลายน้ำ
การทำลายน้ำchaiwat vichianchai
 

Similar to วัตถุObject (20)

การทำปุ่มแก้วใน Flash
การทำปุ่มแก้วใน Flashการทำปุ่มแก้วใน Flash
การทำปุ่มแก้วใน Flash
 
ม้วนขอบภาพให้โค้งงอ
ม้วนขอบภาพให้โค้งงอม้วนขอบภาพให้โค้งงอ
ม้วนขอบภาพให้โค้งงอ
 
ใบงานที่ 43 เทคนิดการวาดหน้าการ์ตูน
ใบงานที่ 43 เทคนิดการวาดหน้าการ์ตูนใบงานที่ 43 เทคนิดการวาดหน้าการ์ตูน
ใบงานที่ 43 เทคนิดการวาดหน้าการ์ตูน
 
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพLesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
 
การใช้งาน Illustrator
การใช้งาน Illustratorการใช้งาน Illustrator
การใช้งาน Illustrator
 
ใบความรู้ที่ 13 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอ
ใบความรู้ที่ 13 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอใบความรู้ที่ 13 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอ
ใบความรู้ที่ 13 ม้วนขอบภาพให้โค้งงอ
 
คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6
 
คู่มือ illustrator cs6 ภาษาไทย .pdf
คู่มือ illustrator cs6 ภาษาไทย .pdfคู่มือ illustrator cs6 ภาษาไทย .pdf
คู่มือ illustrator cs6 ภาษาไทย .pdf
 
ใบความรู้ที่ 6การทำโปสการ์ด
ใบความรู้ที่ 6การทำโปสการ์ดใบความรู้ที่ 6การทำโปสการ์ด
ใบความรู้ที่ 6การทำโปสการ์ด
 
ใบความรู้ที่ 13 เครื่องมือสตาร์และเครื่องมือคอลเอ้าท์
ใบความรู้ที่ 13 เครื่องมือสตาร์และเครื่องมือคอลเอ้าท์ใบความรู้ที่ 13 เครื่องมือสตาร์และเครื่องมือคอลเอ้าท์
ใบความรู้ที่ 13 เครื่องมือสตาร์และเครื่องมือคอลเอ้าท์
 
การเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุการเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุ
 
แนะนำ Adobe photo shop 7
แนะนำ Adobe photo shop 7แนะนำ Adobe photo shop 7
แนะนำ Adobe photo shop 7
 
การวาดรูปด้วยโปรแกรม Paint 3
การวาดรูปด้วยโปรแกรม Paint 3การวาดรูปด้วยโปรแกรม Paint 3
การวาดรูปด้วยโปรแกรม Paint 3
 
โปรเเกรมIllustratorพื้นฐาน
โปรเเกรมIllustratorพื้นฐานโปรเเกรมIllustratorพื้นฐาน
โปรเเกรมIllustratorพื้นฐาน
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 15 เทคนิคการใช้เครื่องมือในโปรแกรมเพ้นท์
ใบความรู้ที่ 15 เทคนิคการใช้เครื่องมือในโปรแกรมเพ้นท์ใบความรู้ที่ 15 เทคนิคการใช้เครื่องมือในโปรแกรมเพ้นท์
ใบความรู้ที่ 15 เทคนิคการใช้เครื่องมือในโปรแกรมเพ้นท์
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
 
ใบปฏิบัติงานที่ 1 1
ใบปฏิบัติงานที่ 1 1ใบปฏิบัติงานที่ 1 1
ใบปฏิบัติงานที่ 1 1
 
การทำลายน้ำ
การทำลายน้ำการทำลายน้ำ
การทำลายน้ำ
 

วัตถุObject

  • 1. วัตถุ (Object) และ การวาดโดยใช้ Pen Tool วัตถุ (Object) ในบทที่แล้ว ผู้เรียนเริ่มคุ้นเคยกับวัตถุ (object) ในโปรแกรม illustrator สิ่งที่ปรากฏบนพื้นที่ทางาน ไม่ว่าจะเป็นรูปสี่เหลี่ยม วงกลม เส้นโค้ง เส้นตรง หรือรูปภาพต่างๆ สิ่งเหล่านี้เรียกว่าวัตถุ และวัตถุต้องมีที่อยู่ (space) ถ้ามีการซ้อนทับกันต้องมีลาดับชั้นอยู่บนหรือล่าง วัตถุที่อยู่บนจะบังวัตถุที่อยู่ล่างกว่า ส่วนประกอบของวัตถุ ภาพกราฟิกแบบเวกเตอร์แต่ละภาพมักจะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มารวมกันแต่ละภาพหรือแต่ ละวัตถุที่องค์ประกอบหลัก ดังนี้ เส้น (Stroke) เป็นเส้นรูปทรงของวัตถุ สามารถกาหนดสี ขนาด และรูปแบบของเส้น ต่าง ได้ สีพื้น (fill) เป็นส่วนของพื้นที่ด้านในของวัตถุ สามารถกาหนดสีลวดลาย (pattern) ความโปร่งใส รวมถึงการใส่ฟิลเตอร์และเอฟเฟ็กต์ กรอบภาพ (Bounding Box) แสดงตาแหน่งและขอบเขตของวัตถุ สามารถใช้เพื่อปรับขนาด หมุน และเคลื่อนย้ายวัตถุได้ เส้นพาธ (Path) เป็นเส้นโครงร่างพื้นฐานของวัตถุ ประกอบด้วยจุดยึดหลายๆ จุด ใช้ใน การกาหนดรูปทรงของวัตถุ จุดยึด (Anchor point) เป็นจุดที่ใช้ตรึงแนวของเส้นพาธ และกาหนดความโค้งของเส้นได้ตาม ต้องการ โดยการปรับที่ direction การปรับแต่งเส้นพาธ (Path) Path คือเส้นโครงสร้างรูปทรงรูปภาพที่สร้างโดย โปรแกรม illustrator ส่วนประกอบของเส้นพาธ ประกอบด้วย จุดยืด (Anchors point) และตัวปรับทิศทาง (direction) เครื่องมือสร้างเส้นพาธที่นิยมคือ Pen
  • 2. A Selected end point เป็นจุดสิ้นสุดของเส้นพาธแบบปลายเปิด เมื่อถูกเลือกจะเป็นสี่เหลี่ยมทึบ เส้น แบบปลายปิดจะไม่มี Selected and point B Selected anchor point จุดยึดที่ถูกเลือก จะเป็นสี่เหลี่ยมทึบ C Unselected anchor point จุดยึดที่ไม่ได้ถูกเลือก จะเป็นสี่เหลี่ยมโปร่ง D Curved path segment ส่วนของเส้นพาธที่ถูกตัดเป็นเส้นโค้ง E Direction line แขนตัวปรับทิศทาง ใช้ควบคุมความโค้งและทิศทางของเส้นพาธ F Direction point จุด direction เป็นตาแหน่งที่ใช้เมาส์คลิกเพื่อปรับแต่ง direction line และเส้นพาธ กรอบภาพ (Bounding Box) เมื่อใช้ Selection tool เลือกที่เส้นพาธ เมื่อใช้ direct selection tool คลิกที่เส้นโค้งทางด้านซ้ายของจุดยึด เมื่อใช้ direct selection tool คลิกที่เส้นโค้ง ทางด้านซ้ายของจุดยึด เมื่อใช้ direct selection tool คลิกที่เส้นโค้งทางด้านขวาของจุดยึด เมื่อใช้เครื่องมือ direct selection tool คลิกที่จุดยึดของเส้นพาธ เมื่อลองปรับให้แขนตัวปรับทิศทาง (Direction line) ให้สั้นลง
  • 3. เมื่อลองบิดหมุน Direction Line เมื่อลองเพิ่มความยาวของ direction line1 ด้าน สังเกตเส้นพาธจะมีความโค้งเพิ่มขึ้น เมื่อลองปรับลดแขน direction line ที่ปลายเส้นด้านขวาให้หดหายไป เมื่อปรับลดแขน direction line ของจุดยึดให้หายไป 1 แขน เส้นพาธด้านขวาจะกลายเป็นเส้นตรง เมื่อลองหมุน direction line ของปลายเส้น พาธด้านซ้ายกลับจากบนลงล่าง 180 องศา เส้นพาธแบบปลายปิด เส้นพาธแบบปลายเปิด การใช้เครื่องมือ Pen เครื่องมือ Pen จัดเป็นเครื่องมือที่สาคัญที่สุดในโปรแกรม Illustrator ที่ใช้ในการสร้างเส้นพาธ เหมาะ สาหรับสร้างรูปทรงอิสระที่เครื่องมืออื่นๆ ทาไม่ได้หรือทาได้ยาก เช่นใบหน้าคน หรือภาพวิวทิวทัศน์ รายละเอียดของเครื่องมือ Pen Tool Pen Tool(P) ปากกาสาหรับวาดเส้นเพื่อให้ได้รูปตามที่ต้องการ Add Anchor Point Tool(+) สาหรับเติม(add) จุด anchor เพื่อขึ้นทีละเส้น Delete Anchor Point Tool(-) สาหรับลบ (delete) จุด anchor ทีละเส้น Convert Anchor Point Tool(shift+C) สาหรับปรับแต่งเส้น ทางานกับจุด anchor โดยตรง
  • 4. การวาดเส้นตรงด้วย Pen Tool 1. คลิกเครื่องมือ Pen Tool 2. คลิกเมาส์ที่กลางหน้ากระดาษแล้วปล่อยเมาส์ ขยับเมาส์ไปยังจุดที่ 2 คลิกเมาส์และปล่อยเมาส์ ขยับไปยังจุดที่ 3 คลิกเมาส์และปล่อยเมาส์ คลิกจุดที่ 4 คลิกเมาส์และปล่อยเมาส์ 3. กรณีกดแป้น Shift ร่วมด้วยขณะคลิกเมาส์แต่ละจุด จะเปนการบังคับให้เส้นทามุมทีละ 45 องศา ให้คลิกเมาส์ 1 ครั้งและปล่อยเมาส์ต่อไปเรื่อยๆ จนครบ ไม่คลิกเมาส์ค้างไว้แล้วลากเด็ดขาด การใช้ Add Anchor Point Tool(+) 1. สามเหลี่ยมรูปเดิมที่สร้างไว้ ให้คลิกเลือก Add Anchor Point Tool(+) 2. คลิกที่เส้น ต้องคลิกให้ตรงเส้นเท่านั้น 3. กด v เพื่อเปลี่ยนเป็นลูกศรสีดา (Selection Tool) 4. คลิกที่รูปสามเปลี่ยนจะเห็นว่าได้ Anchor Point เพิ่มขึ้นมาอีก ต้องคลิกให้ตรงเส้นเท่านั้น ไม่เช่นนั้นจะขึ้นคาเตือนบอกไม่สามารถสร้างจุดได้ ให้กดOK ทิ้งไป มีจุด Anchor Point เพิ่มขึ้น 2 จุด การใช้ Delete Anchor Point Tool(-) 1. สามเหลี่ยมรูปเดิมที่สร้างไว้ ให้คลิกเลือก Delete Anchor Point Tool(-) 2. คลิกที่ที่ยอดปลายมุมรูปสามเหลี่ยม 3. กด v เพื่อเปลี่ยนเป็นลูกศรสีดา (Selection Tool) 4. คลิกที่รูปสามเปลี่ยนจะเห็นว่าได้ ส่วนที่ต้องการลบจะหายไป คลิกตรงจุด Anchor Point ที่ต้องการลบ ส่วนที่คลิกจะหายไป
  • 5. How to make a Box 1. ใช้ Pen tool คลิกพื้นที่ว่างกลางหน้ากระดาษ 2. ใช้ Pen tool คลิกจุด anchor ทถัดมา โดยให้เยื่องกับจุดที่ 1 ไปทางด้านขวา เล็กน้อย 3. ใช้ Pen tool คลิกจุด anchor ที่3 โดยให้เยื่องลงด้านล่าง 4. ใช้ Pen tool คลิกจุด anchor ที่4 เป็นเส้นตรง ให้สั้นกว่าจุดที่1 5. เมื่อถึงจุด anchor ที่ 5 ให้ดูที่ cursor จะเป็นวงกลมเล็กๆ ก่อน เพื่อให้เส้น ทั้งหมดเชื่อมต่อกัน เพื่อความเรียบร้อยในการทางาน 6. เมื่อได้วัตถุสาหรับ สร้างกล่องใน ด้านที่ 1 แล้ว ให้นักเรียน Copy >Paste หรือ Ctrl+c และ Ctrl+v 7. เมื่อได้วัตถุกล่อง 2 ชิ้น ให้นักเรียนนามาประกอบกัน เมื่อนาวัตถุ 2 ชิ้นประกบกัน 8. ให้นักเรียนคลิกที่ Selection Tool ก่อน 1 ครั้ง และคลิกที่พื้นที่ว่างอีก 1 ครั้ง เพื่อเป็นการสิ้นสุดวัตถุชิ้น แรกที่นักเรียนสร้าง 9. คลิกที่ Pen Tool เพื่อสร้างด้านในกล่องอีก 2 ชิ้น โดยคลิกเมาส์ตามรูปด้านล่าง 10. เมื่อสร้างวัตถุสามเปลี่ยนเสร็จ 1 ชิ้น ให้นักเรียนคลิก Selection Tool จากนั้นจึงคลิกที่วัตถุสามเหลี่ยมที่ นักเรียนได้สร้างเมื่อสักครู่ ให้นักเรียน Copy >Paste หรือ Ctrl+c และ Ctrl+v
  • 6. 11. ให้ทาการ คลิกขวาที่วัตถุชิ้นที่ 2 เลือก คลิกขวา Transform > Reflect จากนั้นให้เลือก Vertical > OK ดังรูป รูปที่ได้หลังจากดาเนินการตามข้อ 8- 11 12. 13. ให้นักเรียนคลิกที่ Selection Tool ก่อน 1 ครั้ง และคลิกที่พื้นที่ว่างอีก 1 ครั้ง เพื่อเป็นการสิ้นสุดวัตถุชิ้น ที่นักเรียนสร้าง 14. คลิก Pen Tool เพื่อสร้างวัตถุเป็นฝากล่อง โดยออกแบบตามรูปด้านล่าง 15. ให้นักเรียน คลิกที่ Selection Tool ก่อน 1 ครั้ง และคลิกที่พื้นที่ว่างอีก 1 ครั้ง เพื่อเป็นการสิ้นสุดวัตถุชิ้นที่นักเรียนสร้าง 16. คลิก Pen Tool เพื่อสร้างวัตถุเป็นฝากล่อง โดยออกแบบตามรูปด้านล่าง เมื่อทาตามขั้นตอนทั้งหมด จะได้รูปกล่อง 1 รูป
  • 7. ขั้นตอนการลงสี 1. ให้นักเรียนเลือกวัตถุที่สร้างทีละชิ้นโดยใช้ Selection Tool จากนั้นดับเบิลคลิกที่ fill เพื่อทาการเลือกสี เมื่อดับเบิลคลิกที่ fill จะได้หน้าต่างสี ลงสีด้านที่1 2. เลือกสีที่นักเรียนต้องการ โดยให้วัตถุชิ้นนี้มีสีเข้มกว่าสีที่ต้องการ 2-3 ระดับ 3. เมื่อนักเรียนเลือกลงสีในวัตถุที่ 1 เสร็จแล้ว ให้นักเรียนเลือกลาดับถัดไปในการลงสีจนแล้วเสร็จ รูปที่ได้เมื่อลงสีเสร็จเรียบร้อย วิธีการ Group วัตถุ กล่องที่นักเรียนได้ทาการสร้างขึ้นมานั้น ถ้านักเรียนไม่ทาการ Group เวลาเคลื่อนย้าย วัตถุที่นักเรียน สร้างเพื่อมาประกอบเป็นกล่องนั้นจะแยกชิ้นออกจากกัน เพื่อให้การเคลื่อนย้ายเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ให้ นักเรียนดาเนินการ Group วัตถุ ดังขั้นตอนต่อไปนี้ เคลื่อนย้ายวัตถุในขณะที่ยังไม่ได้ Group สังเกตเส้นสีฟ้าคือวัตถุที่ถูกย้ายไม่ใช่ทั้งหมด 1. ให้นักเรียนใช้ Selection Tool ลากคลุมวัตถุทุกชิ้นที่รวมกันเป็นกล่องไว้ 2. คลิกขวา เลือก Group หรือ Ctrl+G วัตถุจะหลายๆ ชิ้นจุถูกรวมกันเป็นชิ้นเดียวเมื่อทาการ เคลื่อนย้ายจะไม่กระจัดกระจาย
  • 8. ใช้ Selection Tool คลิกขวาเลือก Group คลุมทั้งหมด เคลื่อนย้ายวัตถในขณะที่ Group เรียบร้อย สังเกตเส้นสีฟ้า คือ วัตถุถูกเคลื่อนย้ายทั้งหมด 3. ให้นักเรียนบันทึกงาน เข้า E-mail ตัวเอง วิธีการจัดลาดับวัตถุ การจัดลาดับการซ้อนทับวัตถุ (Arrange) เมื่อทางานกับวัตถุหลาย ๆ ชิ้นที่มีการวางทับกัน ลาดับใน การซ้อนหน้าหรือหลัง จะมีผลต่อภาพที่ปรากฏ วัตถุที่อยู่หน้าจะบังวัตถุที่อยู่หลัง วิธีการจัดลาดับซ้อนทับของ วัตถุ ทาได้โดยการคลิกเลือกวัตถุที่ต้องการเปลี่ยนลาดับ แล้วคลิกเลือกเมนู Object > Arrange ซึ่งมีเมนูย่อย ให้เลือก 4 อย่างดังนี้ 1. Bring to Front เลื่อนวัตถุชิ้นนั้นขึ้นมา 1 ชิ้น 2. Bring Forward วางวัตถุชิ้นนั้นไว้บนสุด 3. Send Backward เลื่อนวัตถุชิ้นนั้นลงไป 1 ชิ้น 4. Send to Back วางวัตถุชิ้นนั้นไว้ล่างสุด วัตถุ 2 ชิ้น คลิกขวาวัตถุสีเขียว รูปที่ได้ Arrange > Bring to Front วัตถุ 3 ชิ้น คลิกขวาที่วัตถุสีดา รูปที่ได้ Arrange > Bring Forward
  • 9. วัตถุ 3 ชิ้น คลิกขวาที่วัตถุสีส้ม รูปที่ได้ Arrange > Send Backward วัตถุ 3 ชิ้น คลิกขวาที่วัตถุสีส้ม รูปที่ได้ Arrange > Send to Back
  • 10. กิจกรรมที่ 1 How to make a Box By Yourself คาชี้แจง ปฏิบัติกิจกรรมดังต่อไปนี้ ให้นักเรียนเลือกภาพกล่องต่อไปนี้ 2 กล่อง วาดลงในโปรแกรม Illustrator โดยตั้งหน้ากระดาษ ขนาด A4 แนวตั้ง 1 ไฟล์ ให้วาดทั้ง 2 รูป 1. ให้ใช้เครื่องมือ Pen Tool ในการวาดภาพ 2. ให้ลงสีโดยให้ภาพมีมิติ 3. Group วัตถุทั้งหมดให้เรียบร้อย 4. ตั้งชื่อชิ้นงานว่า Box_ ชั้น ห้อง เลขที่ ตัวอย่าง Box_6401 5. ส่งงานในเมล krukatmsw@gmail.com ภายในคาบเรียน ตั้งชื่อเรื่องในเมลว่า MyBox