SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
ก
                         คําแนะนําในการเรียน

        บทเรียนนี้เปนบทเรียนโปรแกรม จัดทําขึนเพื่อใหนกเรียนศึกษา
                                                 ้     ั
ดวยตนเอง โปรดอานคําแนะนํากอนศึกษาบทเรียน ดังตอไปนี้
        ๑. บทเรียนนี้เปนบทเรียนสําเร็จรูปมีทั้งหมด ๑๓ กรอบ
ใชเวลาในการเรียน ๑ ชัวโมง
                       ่
        ๒. ศึกษาจุดประสงคการเรียนรู แลวนักเรียน
จะทราบวา เมือเรียนจบแลวนักเรียนจะไดความรูอะไร
               ่
        ๓. ทําแบบทดสอบกอนเรียนตามความเขาใจ
ของนักเรียน ตอบผิดไมเปนอะไร เพราะถาศึกษา
เอกสารตอไปจะตอบไดถูกตองในภายหลัง
        ๔. บทเรียนนี้ไมใชขอทดสอบ ไมตองกังวลใจ
ทําไปชา ๆ ทีละกรอบ นักเรียนจะไดรับความรู ไดทํา
แบบฝกหัดและไดทํากิจกรรมตาง ๆ ดวยตัวเอง
        ๕. ขณะศึกษาบทเรียนและปฏิบัติกิจกรรม
ไมดูเฉลย เมื่อตอบผิดใหกลับไปศึกษาเนื้อหาในกรอบ
เดิมแลวลองตอบคําถามใหม
        ๖. เมื่อศึกษาครบทุกกรอบแลวใหทา   ํ
แบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความเขาใจอีกครั้งหนึ่ง
        ๗. เมื่อเขาใจดีแลวศึกษาบทเรียนไดเลย
๒




                    สาระสําคัญ




  แหลงสารนิเทศ อาจเปนสถาบัน บุคคล
สถานที่ สือมวลชน หรือขายงานคอมพิวเตอร
          ่
  แหลงสารนิเทศทีรจกกันแพรหลายทีสุด
                   ่ ู ั         ่
  ในบรรดาแหลงสารนิเทศทีเปนสถาบัน
                            ่
               คือ หองสมุด
๓




                             แบบทดสอบกอนเรียน
                        เรือง ความรูเกียวกับหองสมุด
                           ่          ่
                              และหองสมุดของเรา


คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว
   ๑. ขอใดเปนความหมายของหองสมุด
      ก. สถานที่สําหรับใหบริการหนังสือ
      ข. สถานที่เก็บหนังสือเพื่อการคนควา
      ค. สถานที่ซงมีการจัดหมวดหมูอยางเปนระบบ
                    ึ่
      ง. สถานที่รวบรวมสรรพวิทยาการตาง ๆ หลายสาขา สําหรับบริการ
          ผูที่ตองการศึกษาหาความรูหรือคนควาหาขอมูลตาง ๆ
            
   ๒. ขอใดคือบริการพื้นฐานของหองสมุด
      ก. บริการใหอาน
      ข. บริการยืม – คืน
      ค. บริการหนังสือจอง
      ง. บริการตอบคําถาม
   ๓. ขอใดไมใชวัตถุประสงคของหองสมุด
      ก. เพือความรู
              ่
      ข. เพื่อการศึกษา
      ค. เพื่อการทดลอง
      ง. เพื่อการคนควาวิจย
                           ั
   ๔. ทรัพยากรสารนิเทศประเภทใดที่ไมสามารถยืมออกจากหองสมุดได
      ก. หนังสืออางอิง
      ข. หนังสือนวนิยาย
      ค. หนังสือวรรณคดี
      ง. หนังสือสังคมศาสตร
๔




๕. องคประกอบที่สําคัญที่สุดของหองสมุดคือ
    ก. บรรณารักษ
   ข. อาคารสถานที่
   ค. เงินงบประมาณ
   ง. ทรัพยากรสารนิเทศ
๖. เวลาทําการของหองสมุดโรงเรียนสุธีวทยาคือขอใด
                                       ิ
   ก. วันจันทร – วันศุกร
   ข. วันจันทร – วันเสาร
   ค. วันจันทร – วันอาทิตย
   ง. ไมมีวันหยุดแมวนนักขัตฤกษ
                       ั
๗. นักเรียนโรงเรียนสุธีวทยาสามารถยืมหนังสือไดตามขอใด
                         ิ
   ก. ๒ เลม นาน ๕ วัน
   ข. ๒ เลม นาน ๗ วัน
   ค. ๓ เลม นาน ๗ วัน
   ง. ๕ เลม นาน ๗ วัน
๘. นักเรียนตองปฏิบัติตนอยางไรเมื่อตองการยืมหนังสือ
   ก. นําบัตรของเพื่อนมายืมใหตนเอง
   ข. นําบัตรของตนเองมายืมใหเพือน ่
   ค. นําบัตรของตนเองมายืมใหตนเอง
   ง. นําบัตรของเพื่อนมายืมมายืมใหเพื่อน
๕




๙. ขอใดเปนมารยาทในการใชหองสมุด
   ก. หยิบหนังสือพิมพอานทีละฉบับ
   ข. นํากระเปาหนังสือเขาหองสมุดได
   ค. ในการยืมหนังสือนําบัตรของผูอื่นมายืมได
   ง. นําของขบเคี้ยวเขาไปรับประทานในหองสมุดได
๑๐.ในการคนควาเพื่อทํารายงาน นักเรียนคิดวาแหลงใดใหประโยชนมากที่สุด
   ก. หองเรียน
   ข. หองสมุด
   ค. มุมความรู
   ง. สถานประกอบการ




         เปนอยางไรบางคะ ยากไหมเอย อยากรูวาถูกกี่ขอ
                                               
                  ตองพลิกหนาถัดไปคะ เชิญคะ
๖




 เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน
เรือง ความรูเกียวกับหองสมุด
   ่         ่
     และหองสมุดของเรา



     ขอ              คําตอบ
      ๑                  ง
     ๒                   ก
     ๓                   ค
     ๔                   ก
     ๕                   ง
      ๖                  ก
     ๗                   ค
     ๘                   ค
     ๙                   ก
     ๑๐                  ข



        เปนอยางไรบางคะ ตรวจแลวถูกกี่ขอ
                  ไมผานไมเปนไร
   เดี๋ยวทดสอบหลังเรียนตองไดมากกวานี้แนคะ
๗




       ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
                   




    นักเรียนบอกความสําคัญและปฏิบัติตน
        ในการเขาใชหองสมุดไดถูกตอง
                     




      จุดประสงคการเรียนรู




๑. นักเรียนบอกความสําคัญของหองสมุดได
๒. นักเรียนปฏิบัติตนในการเขาใชหองสมุดได
๘




        ความรูทั่วไปเกียวกับหองสมุด
                      ่
           และหองสมุดของเรา


กรอบที่ ๑




                  สวัสดีคะ พบกันอีกแลวนะคะ
           หลังจากที่ไดทาแบบทดสอบกอนเรียนแลว
                             ํ
            ผลเปนอยางไรบางคะ ไมตองตกใจนะคะ
                                         
             เพราะเปนการตรวจสอบพื้นฐานเทานัน      ้
       แตหลังจากเรียนเนื้อหาในบทเรียนสําเร็จรูปนี้จบแลว
        ก็จะเปนบทพิสูจนอีกครั้งหนึ่งวา นักเรียนมีความรู
                ในเรื่องทีเ่ รียนมากนอยเพียงใดคะ
๙




กรอบที่ ๒




                 วันนี้เราจะเรียนรูเรื่องหองสมุด
              และหองสมุดของโรงเรียนเรานะคะ
             วามีประวัติความเปนมาอยางไร และ
            รายละเอียดของหองสมุดเรามีอะไรบาง
            นักเรียนตามครูไปกรอบตอไปเลยนะคะ
๑๐




กรอบที่ ๓




            กอนอื่นนักเรียนตองรูจักความหมายของ
            หองสมุดกอนนะคะ
                     พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
            พ.ศ.๒๕๔๒ ไดใหความหมายของหองสมุดไววา
            หองหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บ รวบรวมรักษา
                    หนังสือประเภทตาง ๆ ซึ่งอาจรวมทั้ง
                ตนฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟลม
                   เปนตน เพื่อใชเปนที่คนควาหาความรู
                                           




   เมื่อนักเรียนรูความหมายของหองสมุดแลว ลองบอกครูซิวา
                  
   หองสมุด หมายถึง .........................................................
   ครูรูลูกศิษยของครูตองตอบไดแน ๆ เลย เพราะเกงกันทุกคนคะ
๑๑




                   เฉลยกรอบที่ ๓




        หองสมุด หมายถึง หองหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บ
               รวบรวมรักษาหนังสือประเภทตาง ๆ
     ซึ่งอาจรวมทังตนฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟลม เปนตน
                 ้
                   เพื่อใชเปนที่คนควาหาความรู
                                   




นักเรียนตอบถูกกันรึเปลาคะ ถาตอบผิดใหกลับไปศึกษาใหมนะคะ
๑๒




กรอบที่ ๔




                           ความสําคัญของหองสมุด
  ๑.   หองสมุดเปนศูนยกลางการเรียนรูของสถาบันการศึกษา
  ๒.   เปนแหลงที่ทกคนเลือกศึกษาคนควาไดโดยอิสระ
                        ุ
  ๓.   ชวยใหผูใชรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน
  ๔.   ชวยใหผูใชมีความรูทันสมัย ทันเหตุการณอยูเสมอ
                               
  ๕.   ชวยใหผูใชมีนิสัยรักการอานและการคนควา




          เห็นไหมคะ หองสมุดมีความสําคัญมากใชไหมคะ
    ครูคิดวานักเรียนคงอยากจะเขาหองสมุดขึ้นมาบางแลวนะคะ
๑๓




กรอบที่ ๕




               วัตถุประสงคของหองสมุด


               ๑.   เพื่อการศึกษา
               ๒.   เพื่อใหความรูและขาวสาร
                                  
               ๓.   เพื่อการคนควาวิจัย
               ๔.   เพื่อใหเกิดความจรรโลงใจ
               ๕.   เพื่อนันทนาการหรือการพักผอน




          คนเกงของครู บอกวัตถุประสงคของหองสมุด
                      ใหครูฟงหนอยนะคะ
     ทําไดไหมเอย ลองทําดูกอนนะคะ และถาอยากทราบวา
             ทําถูกหรือไม เปดดูเฉลยหนาถัดไปคะ
๑๔




              เฉลยกรอบที่ ๕




๑.   เพื่อการศึกษา
๒.   เพื่อใหความรูและขาวสาร
๓.   เพื่อการคนควาวิจัย
๔.   เพื่อใหเกิดความจรรโลงใจ
๕.   เพื่อนันทนาการหรือการพักผอนหยอนใจ




       เกงมากคะ นักเรียนคงเขาใจแลว
เพราะคงจะตรงกับความคิดของนักเรียนแน ๆ เลย
๑๕




กรอบที่ ๖




                             ประเภทของหองสมุด
                     ๑.   หองสมุดโรงเรียน
                     ๒.   หองสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย
                     ๓.   หองสมุดเฉพาะ
                     ๔.   หองสมุดประชาชน
                     ๕.   หอสมุดแหงชาติ




     ลองตอบคําถามครูนะคะ ครูเชื่อวาคนเกงตอบไดแนนอนคะ
       หองสมุดของโรงเรียนสุธวิทยา เปนหองสมุดประเภทใด
                             ี
๑๖




        เฉลยกรอบที่ ๖




       หองสมุดโรงเรียน




แหม ! ลูกศิษยครูเกงมากคะ ไหวพริบก็ดี
          อยางนี้สที่เรียกวา
                    ิ
        “ฉลาดแลวเฉลียวดวย”
๑๗




กรอบที่ ๗




                    ประวัตโรงเรียนสุธวทยา
                          ิ          ีิ
          ป พ.ศ.๒๕๐๓ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศจัดตั้งโรงเรียน
 “สุธวทยา” ตามสมณศักดิ์ของ “พระสุธีคณาจารย” เจาอาวาส
      ีิ
 วัดพระพุทธบาทในขณะนัน ภายหลังทานไดสมณศักดิ์เปน
                            ้
 “พระธรรมรัตนากร” อดีตเจาคณะจังหวัดสระบุรี
 ทานไดใหความอุปการะโรงเรียนมาตังแตตน
                                       ้
 ซึ่งขณะนันโรงเรียนตั้งอยูที่ โรงเรียนพระพุทธบาท
          ้               
 ปจจุบัน




                 ทบทวนถึงผูมพระคุณสักนิดนะคะ
                              ี
                  คําวา “สุธวทยา” ไดมาอยางไร
                             ีิ
๑๘




            เฉลยกรอบที่ ๗




    ไดมาจากชื่อผูมีอุปการคุณของโรงเรียน คือ
                  
          “พระสุธคณาจารย” คะ
                 ี




             ตอบถูกใชไหมคะคนเกง
ครูบอกแลววาไมยากเลยสําหรับคนเกงของครูทุกคน
                 เมื่อตอบไดแลว
         ไปศึกษากรอบตอไปเลยนะคะ
๑๙




        กรอบที่ ๘



              หองสมุดเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
                     สยามบรมราชกุมารี โรงเรียนสุธวทยา
                                                   ีิ

                    หองสมุดมีคณครูศิรินันท บุญมากุล เปนบรรณารักษทานแรก
                                   ุ
           (ปจจุบันทานเกษียณอายุราชการแลวคะ)
           ครั้งแรกหองสมุดอยูที่อาคาร ๑ (หองประชาสัมพันธปจจุบัน)
                                                             
           และไดยายมาอยูที่ชน ๒ อาคารวิทยาศาสตร
                                ั้
           (ปจจุบันไดรื้ออาคารหลังนี้แลว)
           และครั้งสุดทายไดยายมาอยูที่ อาคาร ๒ ชันลาง
                                                   ้
           (หองสมุดปจจุบัน)
หองสมุดโรงเรียนสุธวิทยา
                   ี              หองสมุดโรงเรียนสุธวิทยา
                                                     ี
   หองสมุดโรงเรียนสุธีวิทยา         หองสมุดโรงเรียนสุธีวิทยา
      หองสมุดโรงเรียนสุธีวิทยา   หองสมุดโรงเรียนสุธีวิทยา




                           หองสมุดโรงเรียนของเรายายหลายครั้งหนอยนะคะ
                                  ทั้งนี้ทงนั้นก็เพือความเหมาะสมคะ
                                          ั้        ่
๒๐




กรอบที่ ๙




                           เวลาทําการของหองสมุด

                             หองสมุดเปดใหบริการทุกวัน
                                    เวนวันหยุดราชการ
                                 และวันหยุดนักขัตฤกษคะ
                       เริ่มตั้งแตเวลา ๐๗.๐๐ น. ถึงเวลา ๑๖.๐๐ น.




      ทบทวนดูนะคะนักเรียนจะไดเขาใชบริการไดถูกตองคะ
               หองสมุดเปดใหบริการอยางไร
๒๑




              เฉลยกรอบที่ ๙




         หองสมุดเปดใหบริการทุกวัน
             เวนวันหยุดราชการ
           และวันหยุดนักขัตฤกษคะ
เริมตั้งแตเวลา ๐๗.๐๐ น. ถึงเวลา ๑๖.๐๐ น.
   ่




               ลูกศิษยครูเกงจริง ๆ คะ
   เมื่อเปนอยางนี้ก็ศึกษากรอบตอไปไดเลยนะคะ
๒๒




กรอบที่ ๑๐




       ขอบังคับการใชหองสมุด
                       

    ๑. พึงรักษามารยาทในการเขาใช
       หองสมุดอยางเครงครัด
    ๒. การยืม การสงคืนหนังสือ
       ตองใชบัตรประจําตัว
       ของสมาชิกเทานัน้
    ๓. ไมควรนําของมีคมทุกชนิด
       เขาหองสมุด




                           คนเกงของครู
                  บอกขอบังคับการใชหองสมุด
                  ใหครูฟงอยางชื่นใจหนอยสิคะ
๒๓




                      เฉลยกรอบที่ ๑๐




๑. พึงรักษามารยาทในการเขาใชหองสมุดอยางเครงครัด
๒. การยืม การสงคืนหนังสือ ตองใชบัตรประจําตัวของสมาชิกเทานัน
                                                              ้
๓. ไมควรนําของมีคมทุกชนิดเขาหองสมุด




                       โอโฮ ! ตอบถูกทุกขอเลย
                  นี่แหละคนเกงและนารักสําหรับครู
                      ศึกษากรอบตอไปไดเลยคะ
๒๔




กรอบที่ ๑๑




                มารยาทการใชหองสมุด
                             
   ๑. วางกระเปาและสิ่งของไวทชั้นวางของหนาหองสมุด
                                 ี่
   ๒. ไมสงเสียงดังขณะเขาใชหองสมุด
   ๓. หยิบหนังสือ วารสาร เฉพาะที่ตองการใชเทานั้น
         ๔. หยิบหนังสือพิมพทีละฉบับ และไมควรมวน
           ๕. ไมนาขนม น้า และสิงขบเคี้ยว
                     ํ     ํ        ่
                เขาไปรับประทาน
           ๖. ไมควรตัด ฉีกสิงพิมพตาง ๆ
                             ่
                ในหองสมุด




                         ตอบคําถามนะคะ
              เมื่อเราตองการภาพจากหนังสือพิมพ
             เพื่อทํารายงาน เราควรปฏิบัติอยางไร
๒๕




  เฉลยกรอบที่ ๑๑




      ถูกตองแลวละคะ

เราตองขออนุญาตกอน
เพราะเปนคุณสมบัติของคนดีคะ
๒๖




กรอบที่ ๑๒



             ระเบียบการยืม - การสงคืนหนังสือ


              ๑. ทําบัตรหองสมุด โดยใชรูปนักเรียน
                  ๒. ในการขอยืมหนังสือ ตองใชบัตรของตนเอง
                     ๓. หนังสือธรรมดาขอยืมไดครั้งละ ๓ เลม
                         นาน ๗ วัน (หนังสือตองตางชื่อเรื่อง
                         หรือตางชือผูแตงนะคะ)
                                   ่
                     ๔. หากหนังสือที่ขอยืมไปชํารุด
                         ใหรีบแจงเจาหนาที่




                      ทบทวนนะคะคนเกง
              เราขอยืมหนังสือไดครั้งละกี่เลม กีวันคะ
                                                 ่
๒๗




      เฉลยกรอบที่ ๑๒




          ขอยืมหนังสือได

ครั้งละ   ๓ เลม นาน ๗ วัน




            ถูกตองคะ
   แสดงวาลูกศิษยทนารักของครู
                    ี่
   ขอยืมหนังสือไปอานเปนประจํา
    เปนบุคคลรักการอานโดยแท
๒๘




กรอบที่ ๑๓



                                    สรุป


                 หองสมุดเปนสถานที่รวบรวมรักษาสิงพิมพ่
   สิ่งไมตีพิมพ วัสดุอิเล็กทรอนิกส (อิ-เล็ก-ทฺรอ-หฺนิก) ประเภทตาง ๆ
        เพื่อใหผูใชไดศึกษา คนควาหาความรูและเขาถึงสารนิเทศ
                       ไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา
                            โดยมีการคัดเลือก จัดหา
                    ใหสอดคลองกับความตองการของผูใช




                         เกงจังเลยคะ นักเรียนคงเขาใจ
       เรื่องความรูเกียวกับหองสมุดและหองสมุดของเราแลวนะคะ
                       ่
   อยาลืมคนควาเพิ่มเติมนะคะ และไปทําแบบทดสอบหลังเรียนกันคะ
๒๙




                               แบบทดสอบหลังเรียน
                          เรือง ความรูเกียวกับหองสมุด
                             ่          ่
                                และหองสมุดของเรา


คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว

   ๑. ขอใดเปนความหมายของหองสมุด
      ก. สถานที่สําหรับใหบริการหนังสือ
      ข. สถานที่เก็บหนังสือเพื่อการคนควา
      ค. สถานที่ซงมีการจัดหมวดหมูอยางเปนระบบ
                   ึ่
      ง. สถานที่รวบรวมสรรพวิทยาการตาง ๆ หลายสาขา สําหรับ
         บริการผูที่ตองการศึกษาหาความรูหรือคนควาหาขอมูลตาง ๆ
   ๒. ขอใดคือบริการพื้นฐานของหองสมุด
      ก. บริการใหอาน
      ข. บริการยืม – คืน
      ค. บริการหนังสือจอง
      ง. บริการตอบคําถาม
   ๓. ในการคนควาเพื่อทํารายงาน นักเรียนคิดวาแหลงใดใหประโยชนมากที่สุด
      ก. หองเรียน
      ข. หองสมุด
      ค. มุมความรู
      ง. สถานประกอบการ
๓๐




๔. ทรัพยากรสารนิเทศประเภทใดที่ไมสามารถยืมออกจากหองสมุดได
   ก. หนังสืออางอิง
   ข. หนังสือนวนิยาย
   ค. หนังสือวรรณคดี
   ง. หนังสือสังคมศาสตร
๕. องคประกอบที่สําคัญทีสุดของหองสมุดคือ
                           ่
   ก. บรรณารักษ
   ข. อาคารสถานที่
   ค. เงินงบประมาณ
   ง. ทรัพยากรสารนิเทศ
๖. ขอใดไมใชวัตถุประสงคของหองสมุด
   ก. เพื่อความรู
   ข. เพื่อการศึกษา
   ค. เพื่อการทดลอง
   ง. เพื่อการคนควาวิจัย
๗. เวลาทําการของหองสมุดโรงเรียนสุธวทยาคือขอใด
                                     ีิ
   ก. วันจันทร – วันศุกร
   ข. วันจันทร – วันเสาร
   ค. วันจันทร – วันอาทิตย
   ง. ไมมีวันหยุดแมวนนักขัตฤกษ
                       ั
๓๑




๘. นักเรียนตองปฏิบัติตนอยางไรเมื่อตองการยืมหนังสือ
    ก. นําบัตรของเพื่อนมายืมใหตนเอง
    ข. นําบัตรของตนเองมายืมใหเพื่อน
    ค. นําบัตรของตนเองมายืมใหตนเอง
    ง. นําบัตรของเพื่อนมายืมมายืมใหเพื่อน
๙. นักเรียนโรงเรียนสุธวิทยาสามารถยืมหนังสือไดตามขอใด
                      ี
    ก. ๒ เลม นาน ๕ วัน
    ข. ๒ เลม นาน ๗ วัน
    ค. ๓ เลม นาน ๗ วัน
    ง. ๕ เลม นาน ๗ วัน
๑๐. ขอใดเปนมารยาทในการใชหองสมุด
    ก. หยิบหนังสือพิมพอานทีละฉบับ
                          
    ข. นํากระเปาหนังสือเขาหองสมุดได
    ค. ในการยืมหนังสือนําบัตรของผูอื่นมายืมได
    ง. นําของขบเคี้ยวเขาไปรับประทานในหองสมุดได



   ทําไดไหมคะ ครูคิดวาหนู ๆ ตองทําไดแน ๆ คะ และตองไดคะแนนมากดวยสิ
             จริงไหมเอย ลองไปดูเฉลยหนาถัดไปนะคะ วาจริงไหม
๓๒




              เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
             เรือง ความรูเกียวกับหองสมุด
                ่         ่
                  และหองสมุดของเรา


                     ขอ            คําตอบ
                      ๑                ง
                     ๒                 ก
                     ๓                 ข
                     ๔                 ก
                     ๕                 ง
                      ๖                ค
                     ๗                 ก
                     ๘                 ค
                     ๙                 ค
                     ๑๐                ก


ครูดีใจดวยคะ ทีนักเรียนไดคะแนนหลังเรียนมากกวาคะแนนกอนเรียน
                 ่
                      ลูกศิษยของครูเกงจริง ๆ คะ
๓๓




                                บรรณานุกรม

กรมวิชาการ. คูมือการดําเนินงานหองสมุดโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา. พิมพครั้งที่ ๓.
       กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, ๒๕๔๓.
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: นานมีบุคสพับลิเคชั่นส,
       ๒๕๔๖.
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี.
       สารสนเทศและการศึกษาคนควา. ชลบุรี: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร
       คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร, ๒๕๕๐.
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. การคนควา
       และการเขียนรายงาน. พิมพครั้งที่ ๘. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพรผลงานวิชาการ
       คณะอักษรศาสตร, ๒๕๕๐.
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
       เอกสารประกอบการเรียนวิชาสารนิเทศ กับการศึกษาคนควา. พิมพครั้งที่ ๓.
       กรุงเทพฯ: สุวริยาสาสน, ม.ป.ป.
                    ี
สุกัญญา กุลนิติ. หองสมุดและสารนิเทศเพื่อการศึกษาคนควา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร,
       ๒๕๔๙.
อาภากร ธาตุโลหะ. ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการคนควา. ชลบุรี: พี.เค.กราฟฟค พริ้นต,
       ๒๕๔๗.
อําไพวรรณ ทัพเปนไทย. การเขียนรายงานและการใชหองสมุด. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร,
       ๒๕๔๙.
๓๔

More Related Content

What's hot

ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดพัน พัน
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate materialPloykarn Lamdual
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1Ploykarn Lamdual
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library materialPloykarn Lamdual
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษKritsadin Khemtong
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Miaการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ MiaPrakasani Butkhot
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนKritsadin Khemtong
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนParichart Ampon
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2thkitiya
 

What's hot (20)

ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุด
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Miaการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
Media
MediaMedia
Media
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Viewers also liked

I 20291 หน่วย3 การเขียนบรรณานุกรม ครูวิจิตรา
I 20291  หน่วย3 การเขียนบรรณานุกรม ครูวิจิตราI 20291  หน่วย3 การเขียนบรรณานุกรม ครูวิจิตรา
I 20291 หน่วย3 การเขียนบรรณานุกรม ครูวิจิตราK-Vi Wijittra
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...krujee
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมjiratt
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมPongsri Limkhom
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58Supaporn Khiewwan
 
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรมเรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรมMarg Kok
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdatenonny_taneo
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือusaneetoi
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 

Viewers also liked (12)

I 20291 หน่วย3 การเขียนบรรณานุกรม ครูวิจิตรา
I 20291  หน่วย3 การเขียนบรรณานุกรม ครูวิจิตราI 20291  หน่วย3 การเขียนบรรณานุกรม ครูวิจิตรา
I 20291 หน่วย3 การเขียนบรรณานุกรม ครูวิจิตรา
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
 
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรมเรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
 
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรมเอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 

Similar to 1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf

การใช้โปรแกรม Pls
การใช้โปรแกรม Plsการใช้โปรแกรม Pls
การใช้โปรแกรม Plskrujee
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาkrujee
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการkrujee
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาkrujee
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาkrujee
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการkrujee
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการkrujee
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาkrujee
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาkrujee
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาkrujee
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือkrujee
 
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์krujee
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาkrujee
 
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการการเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการPuzzle Chalermwan
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์teacherhistory
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 

Similar to 1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf (20)

การใช้โปรแกรม Pls
การใช้โปรแกรม Plsการใช้โปรแกรม Pls
การใช้โปรแกรม Pls
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือ
 
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
 
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการการเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 

1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf

  • 1. คําแนะนําในการเรียน บทเรียนนี้เปนบทเรียนโปรแกรม จัดทําขึนเพื่อใหนกเรียนศึกษา ้ ั ดวยตนเอง โปรดอานคําแนะนํากอนศึกษาบทเรียน ดังตอไปนี้ ๑. บทเรียนนี้เปนบทเรียนสําเร็จรูปมีทั้งหมด ๑๓ กรอบ ใชเวลาในการเรียน ๑ ชัวโมง ่ ๒. ศึกษาจุดประสงคการเรียนรู แลวนักเรียน จะทราบวา เมือเรียนจบแลวนักเรียนจะไดความรูอะไร ่ ๓. ทําแบบทดสอบกอนเรียนตามความเขาใจ ของนักเรียน ตอบผิดไมเปนอะไร เพราะถาศึกษา เอกสารตอไปจะตอบไดถูกตองในภายหลัง ๔. บทเรียนนี้ไมใชขอทดสอบ ไมตองกังวลใจ ทําไปชา ๆ ทีละกรอบ นักเรียนจะไดรับความรู ไดทํา แบบฝกหัดและไดทํากิจกรรมตาง ๆ ดวยตัวเอง ๕. ขณะศึกษาบทเรียนและปฏิบัติกิจกรรม ไมดูเฉลย เมื่อตอบผิดใหกลับไปศึกษาเนื้อหาในกรอบ เดิมแลวลองตอบคําถามใหม ๖. เมื่อศึกษาครบทุกกรอบแลวใหทา ํ แบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความเขาใจอีกครั้งหนึ่ง ๗. เมื่อเขาใจดีแลวศึกษาบทเรียนไดเลย
  • 2. สาระสําคัญ แหลงสารนิเทศ อาจเปนสถาบัน บุคคล สถานที่ สือมวลชน หรือขายงานคอมพิวเตอร ่ แหลงสารนิเทศทีรจกกันแพรหลายทีสุด ่ ู ั ่ ในบรรดาแหลงสารนิเทศทีเปนสถาบัน ่ คือ หองสมุด
  • 3. แบบทดสอบกอนเรียน เรือง ความรูเกียวกับหองสมุด ่  ่ และหองสมุดของเรา คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว ๑. ขอใดเปนความหมายของหองสมุด ก. สถานที่สําหรับใหบริการหนังสือ ข. สถานที่เก็บหนังสือเพื่อการคนควา ค. สถานที่ซงมีการจัดหมวดหมูอยางเปนระบบ ึ่ ง. สถานที่รวบรวมสรรพวิทยาการตาง ๆ หลายสาขา สําหรับบริการ ผูที่ตองการศึกษาหาความรูหรือคนควาหาขอมูลตาง ๆ  ๒. ขอใดคือบริการพื้นฐานของหองสมุด ก. บริการใหอาน ข. บริการยืม – คืน ค. บริการหนังสือจอง ง. บริการตอบคําถาม ๓. ขอใดไมใชวัตถุประสงคของหองสมุด ก. เพือความรู ่ ข. เพื่อการศึกษา ค. เพื่อการทดลอง ง. เพื่อการคนควาวิจย ั ๔. ทรัพยากรสารนิเทศประเภทใดที่ไมสามารถยืมออกจากหองสมุดได ก. หนังสืออางอิง ข. หนังสือนวนิยาย ค. หนังสือวรรณคดี ง. หนังสือสังคมศาสตร
  • 4. ๔ ๕. องคประกอบที่สําคัญที่สุดของหองสมุดคือ ก. บรรณารักษ ข. อาคารสถานที่ ค. เงินงบประมาณ ง. ทรัพยากรสารนิเทศ ๖. เวลาทําการของหองสมุดโรงเรียนสุธีวทยาคือขอใด ิ ก. วันจันทร – วันศุกร ข. วันจันทร – วันเสาร ค. วันจันทร – วันอาทิตย ง. ไมมีวันหยุดแมวนนักขัตฤกษ ั ๗. นักเรียนโรงเรียนสุธีวทยาสามารถยืมหนังสือไดตามขอใด ิ ก. ๒ เลม นาน ๕ วัน ข. ๒ เลม นาน ๗ วัน ค. ๓ เลม นาน ๗ วัน ง. ๕ เลม นาน ๗ วัน ๘. นักเรียนตองปฏิบัติตนอยางไรเมื่อตองการยืมหนังสือ ก. นําบัตรของเพื่อนมายืมใหตนเอง ข. นําบัตรของตนเองมายืมใหเพือน ่ ค. นําบัตรของตนเองมายืมใหตนเอง ง. นําบัตรของเพื่อนมายืมมายืมใหเพื่อน
  • 5. ๕ ๙. ขอใดเปนมารยาทในการใชหองสมุด ก. หยิบหนังสือพิมพอานทีละฉบับ ข. นํากระเปาหนังสือเขาหองสมุดได ค. ในการยืมหนังสือนําบัตรของผูอื่นมายืมได ง. นําของขบเคี้ยวเขาไปรับประทานในหองสมุดได ๑๐.ในการคนควาเพื่อทํารายงาน นักเรียนคิดวาแหลงใดใหประโยชนมากที่สุด ก. หองเรียน ข. หองสมุด ค. มุมความรู ง. สถานประกอบการ เปนอยางไรบางคะ ยากไหมเอย อยากรูวาถูกกี่ขอ  ตองพลิกหนาถัดไปคะ เชิญคะ
  • 6. ๖ เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน เรือง ความรูเกียวกับหองสมุด ่  ่ และหองสมุดของเรา ขอ คําตอบ ๑ ง ๒ ก ๓ ค ๔ ก ๕ ง ๖ ก ๗ ค ๘ ค ๙ ก ๑๐ ข เปนอยางไรบางคะ ตรวจแลวถูกกี่ขอ ไมผานไมเปนไร เดี๋ยวทดสอบหลังเรียนตองไดมากกวานี้แนคะ
  • 7. ผลการเรียนรูที่คาดหวัง  นักเรียนบอกความสําคัญและปฏิบัติตน ในการเขาใชหองสมุดไดถูกตอง  จุดประสงคการเรียนรู ๑. นักเรียนบอกความสําคัญของหองสมุดได ๒. นักเรียนปฏิบัติตนในการเขาใชหองสมุดได
  • 8. ความรูทั่วไปเกียวกับหองสมุด  ่ และหองสมุดของเรา กรอบที่ ๑ สวัสดีคะ พบกันอีกแลวนะคะ หลังจากที่ไดทาแบบทดสอบกอนเรียนแลว ํ ผลเปนอยางไรบางคะ ไมตองตกใจนะคะ  เพราะเปนการตรวจสอบพื้นฐานเทานัน ้ แตหลังจากเรียนเนื้อหาในบทเรียนสําเร็จรูปนี้จบแลว ก็จะเปนบทพิสูจนอีกครั้งหนึ่งวา นักเรียนมีความรู ในเรื่องทีเ่ รียนมากนอยเพียงใดคะ
  • 9. ๙ กรอบที่ ๒ วันนี้เราจะเรียนรูเรื่องหองสมุด และหองสมุดของโรงเรียนเรานะคะ วามีประวัติความเปนมาอยางไร และ รายละเอียดของหองสมุดเรามีอะไรบาง นักเรียนตามครูไปกรอบตอไปเลยนะคะ
  • 10. ๑๐ กรอบที่ ๓ กอนอื่นนักเรียนตองรูจักความหมายของ หองสมุดกอนนะคะ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ ไดใหความหมายของหองสมุดไววา หองหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บ รวบรวมรักษา หนังสือประเภทตาง ๆ ซึ่งอาจรวมทั้ง ตนฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟลม เปนตน เพื่อใชเปนที่คนควาหาความรู  เมื่อนักเรียนรูความหมายของหองสมุดแลว ลองบอกครูซิวา  หองสมุด หมายถึง ......................................................... ครูรูลูกศิษยของครูตองตอบไดแน ๆ เลย เพราะเกงกันทุกคนคะ
  • 11. ๑๑ เฉลยกรอบที่ ๓ หองสมุด หมายถึง หองหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บ รวบรวมรักษาหนังสือประเภทตาง ๆ ซึ่งอาจรวมทังตนฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟลม เปนตน ้ เพื่อใชเปนที่คนควาหาความรู  นักเรียนตอบถูกกันรึเปลาคะ ถาตอบผิดใหกลับไปศึกษาใหมนะคะ
  • 12. ๑๒ กรอบที่ ๔ ความสําคัญของหองสมุด ๑. หองสมุดเปนศูนยกลางการเรียนรูของสถาบันการศึกษา ๒. เปนแหลงที่ทกคนเลือกศึกษาคนควาไดโดยอิสระ ุ ๓. ชวยใหผูใชรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน ๔. ชวยใหผูใชมีความรูทันสมัย ทันเหตุการณอยูเสมอ  ๕. ชวยใหผูใชมีนิสัยรักการอานและการคนควา เห็นไหมคะ หองสมุดมีความสําคัญมากใชไหมคะ ครูคิดวานักเรียนคงอยากจะเขาหองสมุดขึ้นมาบางแลวนะคะ
  • 13. ๑๓ กรอบที่ ๕ วัตถุประสงคของหองสมุด ๑. เพื่อการศึกษา ๒. เพื่อใหความรูและขาวสาร  ๓. เพื่อการคนควาวิจัย ๔. เพื่อใหเกิดความจรรโลงใจ ๕. เพื่อนันทนาการหรือการพักผอน คนเกงของครู บอกวัตถุประสงคของหองสมุด ใหครูฟงหนอยนะคะ ทําไดไหมเอย ลองทําดูกอนนะคะ และถาอยากทราบวา ทําถูกหรือไม เปดดูเฉลยหนาถัดไปคะ
  • 14. ๑๔ เฉลยกรอบที่ ๕ ๑. เพื่อการศึกษา ๒. เพื่อใหความรูและขาวสาร ๓. เพื่อการคนควาวิจัย ๔. เพื่อใหเกิดความจรรโลงใจ ๕. เพื่อนันทนาการหรือการพักผอนหยอนใจ เกงมากคะ นักเรียนคงเขาใจแลว เพราะคงจะตรงกับความคิดของนักเรียนแน ๆ เลย
  • 15. ๑๕ กรอบที่ ๖ ประเภทของหองสมุด ๑. หองสมุดโรงเรียน ๒. หองสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย ๓. หองสมุดเฉพาะ ๔. หองสมุดประชาชน ๕. หอสมุดแหงชาติ ลองตอบคําถามครูนะคะ ครูเชื่อวาคนเกงตอบไดแนนอนคะ หองสมุดของโรงเรียนสุธวิทยา เปนหองสมุดประเภทใด ี
  • 16. ๑๖ เฉลยกรอบที่ ๖ หองสมุดโรงเรียน แหม ! ลูกศิษยครูเกงมากคะ ไหวพริบก็ดี อยางนี้สที่เรียกวา ิ “ฉลาดแลวเฉลียวดวย”
  • 17. ๑๗ กรอบที่ ๗ ประวัตโรงเรียนสุธวทยา ิ ีิ ป พ.ศ.๒๕๐๓ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศจัดตั้งโรงเรียน “สุธวทยา” ตามสมณศักดิ์ของ “พระสุธีคณาจารย” เจาอาวาส ีิ วัดพระพุทธบาทในขณะนัน ภายหลังทานไดสมณศักดิ์เปน ้ “พระธรรมรัตนากร” อดีตเจาคณะจังหวัดสระบุรี ทานไดใหความอุปการะโรงเรียนมาตังแตตน ้ ซึ่งขณะนันโรงเรียนตั้งอยูที่ โรงเรียนพระพุทธบาท ้  ปจจุบัน ทบทวนถึงผูมพระคุณสักนิดนะคะ  ี คําวา “สุธวทยา” ไดมาอยางไร ีิ
  • 18. ๑๘ เฉลยกรอบที่ ๗ ไดมาจากชื่อผูมีอุปการคุณของโรงเรียน คือ  “พระสุธคณาจารย” คะ ี ตอบถูกใชไหมคะคนเกง ครูบอกแลววาไมยากเลยสําหรับคนเกงของครูทุกคน เมื่อตอบไดแลว ไปศึกษากรอบตอไปเลยนะคะ
  • 19. ๑๙ กรอบที่ ๘ หองสมุดเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โรงเรียนสุธวทยา ีิ หองสมุดมีคณครูศิรินันท บุญมากุล เปนบรรณารักษทานแรก ุ (ปจจุบันทานเกษียณอายุราชการแลวคะ) ครั้งแรกหองสมุดอยูที่อาคาร ๑ (หองประชาสัมพันธปจจุบัน)  และไดยายมาอยูที่ชน ๒ อาคารวิทยาศาสตร ั้ (ปจจุบันไดรื้ออาคารหลังนี้แลว) และครั้งสุดทายไดยายมาอยูที่ อาคาร ๒ ชันลาง  ้ (หองสมุดปจจุบัน) หองสมุดโรงเรียนสุธวิทยา ี หองสมุดโรงเรียนสุธวิทยา ี หองสมุดโรงเรียนสุธีวิทยา หองสมุดโรงเรียนสุธีวิทยา หองสมุดโรงเรียนสุธีวิทยา หองสมุดโรงเรียนสุธีวิทยา หองสมุดโรงเรียนของเรายายหลายครั้งหนอยนะคะ ทั้งนี้ทงนั้นก็เพือความเหมาะสมคะ ั้ ่
  • 20. ๒๐ กรอบที่ ๙ เวลาทําการของหองสมุด หองสมุดเปดใหบริการทุกวัน เวนวันหยุดราชการ และวันหยุดนักขัตฤกษคะ เริ่มตั้งแตเวลา ๐๗.๐๐ น. ถึงเวลา ๑๖.๐๐ น. ทบทวนดูนะคะนักเรียนจะไดเขาใชบริการไดถูกตองคะ หองสมุดเปดใหบริการอยางไร
  • 21. ๒๑ เฉลยกรอบที่ ๙ หองสมุดเปดใหบริการทุกวัน เวนวันหยุดราชการ และวันหยุดนักขัตฤกษคะ เริมตั้งแตเวลา ๐๗.๐๐ น. ถึงเวลา ๑๖.๐๐ น. ่ ลูกศิษยครูเกงจริง ๆ คะ เมื่อเปนอยางนี้ก็ศึกษากรอบตอไปไดเลยนะคะ
  • 22. ๒๒ กรอบที่ ๑๐ ขอบังคับการใชหองสมุด  ๑. พึงรักษามารยาทในการเขาใช หองสมุดอยางเครงครัด ๒. การยืม การสงคืนหนังสือ ตองใชบัตรประจําตัว ของสมาชิกเทานัน้ ๓. ไมควรนําของมีคมทุกชนิด เขาหองสมุด คนเกงของครู บอกขอบังคับการใชหองสมุด ใหครูฟงอยางชื่นใจหนอยสิคะ
  • 23. ๒๓ เฉลยกรอบที่ ๑๐ ๑. พึงรักษามารยาทในการเขาใชหองสมุดอยางเครงครัด ๒. การยืม การสงคืนหนังสือ ตองใชบัตรประจําตัวของสมาชิกเทานัน ้ ๓. ไมควรนําของมีคมทุกชนิดเขาหองสมุด โอโฮ ! ตอบถูกทุกขอเลย นี่แหละคนเกงและนารักสําหรับครู ศึกษากรอบตอไปไดเลยคะ
  • 24. ๒๔ กรอบที่ ๑๑ มารยาทการใชหองสมุด  ๑. วางกระเปาและสิ่งของไวทชั้นวางของหนาหองสมุด ี่ ๒. ไมสงเสียงดังขณะเขาใชหองสมุด ๓. หยิบหนังสือ วารสาร เฉพาะที่ตองการใชเทานั้น ๔. หยิบหนังสือพิมพทีละฉบับ และไมควรมวน ๕. ไมนาขนม น้า และสิงขบเคี้ยว ํ ํ ่ เขาไปรับประทาน ๖. ไมควรตัด ฉีกสิงพิมพตาง ๆ ่ ในหองสมุด ตอบคําถามนะคะ เมื่อเราตองการภาพจากหนังสือพิมพ เพื่อทํารายงาน เราควรปฏิบัติอยางไร
  • 25. ๒๕ เฉลยกรอบที่ ๑๑ ถูกตองแลวละคะ เราตองขออนุญาตกอน เพราะเปนคุณสมบัติของคนดีคะ
  • 26. ๒๖ กรอบที่ ๑๒ ระเบียบการยืม - การสงคืนหนังสือ ๑. ทําบัตรหองสมุด โดยใชรูปนักเรียน ๒. ในการขอยืมหนังสือ ตองใชบัตรของตนเอง ๓. หนังสือธรรมดาขอยืมไดครั้งละ ๓ เลม นาน ๗ วัน (หนังสือตองตางชื่อเรื่อง หรือตางชือผูแตงนะคะ) ่ ๔. หากหนังสือที่ขอยืมไปชํารุด ใหรีบแจงเจาหนาที่ ทบทวนนะคะคนเกง เราขอยืมหนังสือไดครั้งละกี่เลม กีวันคะ ่
  • 27. ๒๗ เฉลยกรอบที่ ๑๒ ขอยืมหนังสือได ครั้งละ ๓ เลม นาน ๗ วัน ถูกตองคะ แสดงวาลูกศิษยทนารักของครู ี่ ขอยืมหนังสือไปอานเปนประจํา เปนบุคคลรักการอานโดยแท
  • 28. ๒๘ กรอบที่ ๑๓ สรุป หองสมุดเปนสถานที่รวบรวมรักษาสิงพิมพ่ สิ่งไมตีพิมพ วัสดุอิเล็กทรอนิกส (อิ-เล็ก-ทฺรอ-หฺนิก) ประเภทตาง ๆ เพื่อใหผูใชไดศึกษา คนควาหาความรูและเขาถึงสารนิเทศ ไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา โดยมีการคัดเลือก จัดหา ใหสอดคลองกับความตองการของผูใช เกงจังเลยคะ นักเรียนคงเขาใจ เรื่องความรูเกียวกับหองสมุดและหองสมุดของเราแลวนะคะ ่ อยาลืมคนควาเพิ่มเติมนะคะ และไปทําแบบทดสอบหลังเรียนกันคะ
  • 29. ๒๙ แบบทดสอบหลังเรียน เรือง ความรูเกียวกับหองสมุด ่  ่ และหองสมุดของเรา คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว ๑. ขอใดเปนความหมายของหองสมุด ก. สถานที่สําหรับใหบริการหนังสือ ข. สถานที่เก็บหนังสือเพื่อการคนควา ค. สถานที่ซงมีการจัดหมวดหมูอยางเปนระบบ ึ่ ง. สถานที่รวบรวมสรรพวิทยาการตาง ๆ หลายสาขา สําหรับ บริการผูที่ตองการศึกษาหาความรูหรือคนควาหาขอมูลตาง ๆ ๒. ขอใดคือบริการพื้นฐานของหองสมุด ก. บริการใหอาน ข. บริการยืม – คืน ค. บริการหนังสือจอง ง. บริการตอบคําถาม ๓. ในการคนควาเพื่อทํารายงาน นักเรียนคิดวาแหลงใดใหประโยชนมากที่สุด ก. หองเรียน ข. หองสมุด ค. มุมความรู ง. สถานประกอบการ
  • 30. ๓๐ ๔. ทรัพยากรสารนิเทศประเภทใดที่ไมสามารถยืมออกจากหองสมุดได ก. หนังสืออางอิง ข. หนังสือนวนิยาย ค. หนังสือวรรณคดี ง. หนังสือสังคมศาสตร ๕. องคประกอบที่สําคัญทีสุดของหองสมุดคือ ่ ก. บรรณารักษ ข. อาคารสถานที่ ค. เงินงบประมาณ ง. ทรัพยากรสารนิเทศ ๖. ขอใดไมใชวัตถุประสงคของหองสมุด ก. เพื่อความรู ข. เพื่อการศึกษา ค. เพื่อการทดลอง ง. เพื่อการคนควาวิจัย ๗. เวลาทําการของหองสมุดโรงเรียนสุธวทยาคือขอใด ีิ ก. วันจันทร – วันศุกร ข. วันจันทร – วันเสาร ค. วันจันทร – วันอาทิตย ง. ไมมีวันหยุดแมวนนักขัตฤกษ ั
  • 31. ๓๑ ๘. นักเรียนตองปฏิบัติตนอยางไรเมื่อตองการยืมหนังสือ ก. นําบัตรของเพื่อนมายืมใหตนเอง ข. นําบัตรของตนเองมายืมใหเพื่อน ค. นําบัตรของตนเองมายืมใหตนเอง ง. นําบัตรของเพื่อนมายืมมายืมใหเพื่อน ๙. นักเรียนโรงเรียนสุธวิทยาสามารถยืมหนังสือไดตามขอใด ี ก. ๒ เลม นาน ๕ วัน ข. ๒ เลม นาน ๗ วัน ค. ๓ เลม นาน ๗ วัน ง. ๕ เลม นาน ๗ วัน ๑๐. ขอใดเปนมารยาทในการใชหองสมุด ก. หยิบหนังสือพิมพอานทีละฉบับ  ข. นํากระเปาหนังสือเขาหองสมุดได ค. ในการยืมหนังสือนําบัตรของผูอื่นมายืมได ง. นําของขบเคี้ยวเขาไปรับประทานในหองสมุดได ทําไดไหมคะ ครูคิดวาหนู ๆ ตองทําไดแน ๆ คะ และตองไดคะแนนมากดวยสิ จริงไหมเอย ลองไปดูเฉลยหนาถัดไปนะคะ วาจริงไหม
  • 32. ๓๒ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรือง ความรูเกียวกับหองสมุด ่  ่ และหองสมุดของเรา ขอ คําตอบ ๑ ง ๒ ก ๓ ข ๔ ก ๕ ง ๖ ค ๗ ก ๘ ค ๙ ค ๑๐ ก ครูดีใจดวยคะ ทีนักเรียนไดคะแนนหลังเรียนมากกวาคะแนนกอนเรียน ่ ลูกศิษยของครูเกงจริง ๆ คะ
  • 33. ๓๓ บรรณานุกรม กรมวิชาการ. คูมือการดําเนินงานหองสมุดโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, ๒๕๔๓. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี. สารสนเทศและการศึกษาคนควา. ชลบุรี: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร, ๒๕๕๐. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. การคนควา และการเขียนรายงาน. พิมพครั้งที่ ๘. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพรผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร, ๒๕๕๐. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. เอกสารประกอบการเรียนวิชาสารนิเทศ กับการศึกษาคนควา. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: สุวริยาสาสน, ม.ป.ป. ี สุกัญญา กุลนิติ. หองสมุดและสารนิเทศเพื่อการศึกษาคนควา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, ๒๕๔๙. อาภากร ธาตุโลหะ. ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการคนควา. ชลบุรี: พี.เค.กราฟฟค พริ้นต, ๒๕๔๗. อําไพวรรณ ทัพเปนไทย. การเขียนรายงานและการใชหองสมุด. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, ๒๕๔๙.