SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
โครงงานเรื่องการพัฒนาชุดการสอนแบบรายบุคคลวิชาภาษาไทย เรื่องอิศรญาณภาษิต สาหรับ
นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่3 ผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสารในหัวข้อดังต่อไปนี้
1. ชุดการสอน
2. ชุดการสอนแบบรายบุคคล
3. ตารางวิเคราะห์การสอนเรื่อง อิศรญาณภาษิต
4. อิศรญาณภาษิต
1. ชุดการสอน
ชุดการสอน (Instructional Package) เป็นชุดของสื่อประสมซึ่งมีจุดมุ่งหมายเฉพาะเรื่อง ทาให้ผู้เรียน
ได้รับประสบการณ์เรียนอย่างมี โดยชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2537) ได้ให้ความหมายของชุดการสอนไว้ว่า เป็นสื่อ
ประสมที่เป็นระบบ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเฉพาะเรื่องที่จะสอน สอดคล้องกับเนื้อหาวิชา หน่วยหัวเรื่องและ
วัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้มีการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
คุณค่าของชุดการสอน
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2537) ได้สรุปคุณค่าของชุดการสอนไว้ ดังนี้
1. ช่วยให้ผู้สอนถ่ายทอดเนื้อหาและประสบการณ์ที่สลับซับซ้อนและมีลักษณะเป็นนามธรรม ซึ่ง
ผู้สอนไม่สามารถ่ายทอดด้วยการบรรยายได้ดี ให้เข้าใจชัดเจนและง่ายยิ่งขึ้น
2. เร้าความสนใจของผู้เรียนต่อสิ่งที่กาลังศึกษา เพราะชุดการสอนจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วน
ร่วมในการเรียนของตัวเองและสังคม
3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น ฝึกการตัดสินใจ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองและมี
ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
4. ช่วยสร้างความพร้อมและความมั่นใจแก่ผู้สอน เพราะชุดการสอนผลิตไว้เป็นหมวดหมู่
สามารถหยิบมาใช้ได้ทันที
5. ทาให้การเรียนของผู้เรียนเป็นอิสระจากอารมณ์ของผู้สอน ชุดการสอนสามารถทาให้ผู้เรียน
เรียนได้ตลอดเวลา ไม่ว่าผู้สอนจะมีสภาพหรือมีความคับข้องทางอารมณ์มากน้อยเพียงใด
6. ช่วยให้การเรียนเป็นอิสระจากบุคลิกภาพของผู้สอน เนื่องจากชุดการสอนทาหน้าที่ถ่ายทอด
ความรู้แทนครู แม้ครูจะพูดหรือสอนไม่เก่ง ผู้เรียนก็สามารถเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
7. กรณีที่ครูขาด ครูคนอื่นก็สามารถสอนแทนโดยใช้ชุดการสอนได้เพราะเนื้อหาอยู่ในชุดการ
สอนเรียบร้อยแล้ว ครูผู้สอนไม่ต้องเตรียมตัวมาก
8. สาหรับชุดการสอนรายบุคคลและชุดการสอนทางไกล จะช่วยให้การศึกษามวลชนดาเนินไป
อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะผู้เรียนสามารถเรียนได้เองที่บ้าน ไต้องเสียเวลาและประหยัดค่าใช้จ่าย
จากคุณค่าของชุดการสอนดังกล่าว จะเห็นได้ว่า ชุดการอสนเป็นเทคโนโลยีการศึกษาที่มีความ
เหมาะสม สามารถนาไปใช้ในการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการอานวยความสะดวกให้แก่ผู้สอน และ
เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน จึงเหมาะสมที่จะนาไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งสอดคล้อง
กับการศึกษาในปัจจุบัน
ประเภทของชุดการสอน
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2539) และประหยัด จิระวรพงศ์ (2525) ได้จาแนกชุดการสอนออกเป็น 4
ประเภทดังนี้
1. ชุดการสอนแบบประกอบคาบรรยาย เป็นชุดการสอนที่มุ่งขายเนื้อหาสาระการสอนแบบ
บรรยายให้ชัดเจนขึ้น ช่วยให้ผู้สอนพูดน้อยลง และให้สื่อการสอนทาหน้าที่แทน ชุดการสอนแบบบรรยายนี้
นิยมใช้กับการฝึกอบรม การและสอนในระดับอุดมศึกษา การสอนแบบบรรยายยังมีบทบาทสาคัญในการ
ถ่ายทอดความรู้แก่ผู้เรียนที่เป็นกลุ่มใหญ่อีกด้วย
2. ชุดการสอนแบบกลุ่มกิจกรรม เป็นชุดการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนได้ประกอบกิจกรรมกลุ่ม คือ
การสอนแบบศูนย์การเรียน การสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์เป็นต้น
3. ชุดการสอนแบบเอกัตภาพหรือชุดการสอนรายบุคคล เป็นชุดการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนสามารถ
ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง บางทีเรียกว่าชุดการเรียน อาจเป็นการเรียนในโรงเรียนหรือที่บ้านก็ได้ เพื่อให้
ผู้เรียนก้าวไปข้างหน้าตามความสามารถ ความสนใจ และความพร้อมของผู้เรียน ชุดการสอนรายบุคคลอาจจะ
ออกมาในรูปแบบหน่วยการสอนย่อย หรือโมดุล
4. ชุดการสอนทางไกล เป็นชุดการสอนที่ผู้สอนกับผู้เรียนอยู่ต่างถิ่นต่างเวลากัน มุ่งสอนให้
ผู้เรียนศึกษาได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องมาเข้าชั้นเรียน ประกอบด้วยสื่อประเภทสิ่งพิมพ์ รายการ
วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรศัพท์ ภาพยนตร์ และการสอนเสริมตามศูนย์บริการการศึกษา เช่น ชุดการสอน
ทางไกลของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นต้น
องค์ประกอบของชุดการสอน
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2537) ได้จาแนกองค์ประกอบของชุดการสอนไว้เป็น 4 ส่วน ดังนี้
1. คู่มือครู เป็นคู่มือและแผนการสอนตามชนิดของชุดการสอน ภายในคู่มือจะชี้แจงถึงวิธีการใช้
ชุดการสอนไว้อย่างละเอียด อาจจะทาเป็นเล่มหรือแผ่นพับก็ได้
2. คาสั่ง หรือการมอบหมายงาน เพื่อกาหนดแนวทางการเรียนให้นักเรียน
3. เนื้อหาสาระและสื่อ โดยจัดให้อยู่ในรูปแบบของสื่อการสอนแบบประสมและกิจกรรมการ
เรียนการสอนแบบกลุ่มและรายบุคคลตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
4. การประเมินผล เป็นการประเมินผลของกระบวนการ ได้แก่ แบบฝึกหัด รายงานการค้นคว้า
และผลของการเรียนรู้ในรูปแบบสอบถามต่างๆ
5.
ขั้นตอนการผลิตชุดการสอน
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2539) ได้แบ่งขั้นตอนในการผลิตชุดการสอนออกเป็น 10 ขั้นตอน
1. กาหนดหมวดหมู่เนื้อหาและประสบการณ์ อาจจะกาหนดเป็นหมวดหมู่วิชาหรือบูรณาการ
เป็นแบบสหวิทยาการตามที่เห็นเหมาะสม
2. กาหนดหน่วยการสอน แบ่งเนื้อหาวิชาออกเป็นหมวดการสอนโดยประมาน เนื้อหาวิชาที่จะ
ให้ครูสามารถถ่ายทอดความรู้แก่นักเรียนได้ในหนึ่งสัปดาห์ หรือหนึ่งครั้ง
3. กาหนดหัวเรื่อง ผู้สอนจะต้องถามตัวเองว่าในการสอนแต่ละหน่วยควรจะให้ประสบการณ์
อะไรแก่ผู้เรียนบ้าง แล้วกาหนดออกมาเป็น 4-6 หัวเรื่อง
4. กาหนดมโนทัศน์และหลักการ มโนทัศน์และหลักการที่กาหนดขึ้นจะต้องสอดคล้องกับหน่วย
และหัวเรื่อง โดยสรุปรวมแนวคิด สาระ และหลักเกณฑ์ที่สาคัญไว้เพื่อเป็นแนวทางการจัดเนื้อหามาสอนให้
สอดคล้องกัน
5. กาหนดวัตถุประสงค์ให้สอดคล้องกับหัวเรื่อง เป็นจุดประสงค์ทั่วไปก่อน แล้วเปลี่ยนเป็น
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ต้องมีเงื่อนไขและเกณฑ์การเปลี่ยนพฤติกรรมไว้ทุกครั้ง
6. กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมซึ่งเป็นแนว
ทางการเลือกผลิตสื่อการสอน “กิจกรรมการเรียน” หมายถึง กิจกรรมทุกอย่างที่ผู้เรียนปฏิบัติ เช่น การอ่าน
บัตรคาสั่ง ตอบคาถาม เขียนภาพ ทาการทดลองวิทยาศาสตร์ เล่นเกม
7. กาหนดแบบประเมินผล ต้องประเมินให้ตรงกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม โดยใช้
แบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ เพื่อให้ผู้สอนทราบว่าหลังจากผ่านกิจกรรมการเรียนมาเรียบร้อยแล้ว นักเรียนได้
เปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่
8. เลือกและผลิตสื่อการสอน วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการที่ครูใช้ ถือเป็นสื่อการสอนทั้งสิ้น เมื่อ
ผลิตสื่อการสอนแต่ละหัวเรื่องเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็จัดสื่อการสอนนั้นไว้เป็นหมวดหมู่ในกล่องที่เตรียมไว้ก่อน
นาไปทดลองหาประสิทธิภาพ เรียกว่า “ชุดการสอ”
9. หาประสิทธิภาพชุดการสอน เพื่อเป็นการประกันว่าชุดการสอนที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพใน
การสอน ผู้สร้างจาต้องกาหนดเกณฑ์ขึ้นไว้ล่วงหน้าโดยคานึงถึงหลักเกณฑ์ที่ว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการเพื่อ
ช่วยให้เกิดกรเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมของผู้เรียนบรรลุผล
10.การใช้ชุดการสอน ชุดการสอนที่ได้ปรับปรุงและมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้สามารถ
นาไปสอนผู้เรียนได้ตามประเภทของชุดการสอน และตามระดับการศึกษา โดยกาหนดเป็นขั้นตอนการใช้ ดังนี้
10.1 ทาแบบทดสอบก่อนเรียน
10.2 ขั้นนาสู่บทเรียน
10.3 ขั้นประกอบกิจกรรม (ขั้นสอน)
10.4 ขั้นสรุปผลการสอน
10.5 ทาแบบทดสอบหลังเรียน
2. ชุดการสอนแบบรายบุคคล
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และวาสนา ทวีกุลทรัพย์ (2540) กล่าวว่า ชุดการสอนรายบุคคลเป็นชุดสื่อประสม
ที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ในสื่อรูปแบบต่างๆในสถานการณ์และ
สภาพแวดล้อมที่จัดไว้ให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้และใคร่ครวญทีละน้อยตามลาดับขั้น ได้ร่วมกิจกรรมอย่าง
กระฉับกระเฉง ได้รับคาติชมทันท้วงที และได้รับประสบการณ์ที่เป็นความสาเร็จและเกิดความภาคภูมิใจ
ประเภทของชุดการสอนแบบรายบุคคล
ชุดการสอนรายบุคคลแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
1. ชุดการสอนรายบุคคลที่ยึดสิ่งตีพิมพ์เป็นสื่อหลัก เป็นชุดการสอนที่เสนอเนื้อหาเป็นตัวพิมพ์
อาจะมีภาพประกอบ นิยมกันมากเพราะสิ่งพิมพ์เป็นสื่อที่ผลิตง่ายและราคาถูกกว่าสื่อประเภทอื่น
2. ชุดการสอนรายบุคคลที่ยึดสื่อโสตทัศน์เป็นสื่อหลัก เป็นชุดการสอนที่เนื้อหาสาระบรรจุไว้ใน
รูปสื่อโสตทัศน์ที่ไม่ใช่สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น เทปบันทึกเสียง เทปบันทึกภาพ หรือผสมผสานกัน
3. ชุดการสอนรายบุคคลที่ยึดคอมพิวเตอร์เป็นสื่อหลัก เป็นชุดการสอนที่เนื้อหาสาระบรรจุไว้ใน
รูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ ที่สามารถเสนอได้ทั้งอักษร ภาพ และเสียง
องค์ประกอบของชุดการสอนรายบุคคล
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และ วาสนา ทวีกุลทรัพย์ (2540) ได้อธิบายองค์ประกอบเชิงรูปธรรมของชุดการ
สอนรายบุคคลไว้ ดังนี้
1. แผนการสอน เป็นการประยุกต์หลักการใช้สิ่งจัดแนวคิดล่วงหน้า เพื่อให้ผู้เรียนทราบความ
จาเป็นที่ต้องเรียน หัวเรื่อง แนวคิดรวบยอด วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียน สื่อการสอน และการประเมินผล
2. เนื้อหาสาระในชุดการสอน เป็นความรู้และประสบการณ์ที่ได้วิเคราะห์มาแล้วปรุงแต่งให้
เหมาะสมกับการศึกษาด้วยตนเอง ด้วยการใช้สื่อระหว่างเรียน เนื้อหาในชุดการสอนรายบุคคลจาแนกออกเป็น
หัวข้อย่อยและหัวข้อตามลาดับยากง่ายและความเหมาะสมอื่นๆ
3. สื่อที่ใช้ถ่ายทอดเนื้อหาสาระในชุดการสอนรายบุคคล เป็นเครื่องมือบรรจุเนื้อหาที่เหมาะสม
จะถ่ายทอดไปให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เอง เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ วัสดุบันทึก ข้อมูลคอมพิวเตอร์
4. สิ่งอานวยความสะดวกสาหรับการใช้ชุดการสอนรายบุคคล หมายถึง วัสดุ อุปการณ์ และ
โครงสร้างพื้นฐานสาหรับการใช้ชุดการสอน ได้แก่ โต๊ะ เก้าอี้ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น
5. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ หมายถึง สถานที่เรียน อุณหภูมิ และแสงสว่าง
6. เครื่องมือประเมินในชุดการสอนรายบุคคล หมายถึง แบบทดสอบ แบบสังเกต เพื่อให้ผู้เรียน
ทราบสถานภาพการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดขึ้น จากการเยนด้วยชุดการสอนรายบุคคลของตนเอง
7. คู่มือการใช้ชุดการสอนรายบุคคล เป็นเอกสารที่แนะนาวิธีการเรียนจากชุดการสอนรายบุคคล
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
8. แบบฝึกปฏิบัติในชุดการสอนรายบุคคล เป็นเอกสารที่ใช้บันทึกสรุปประเด็นสาคัญของเนื้อหา
สาระที่เขียน และบันทึกผลของการประกอบกิจกรรมตามที่กาหนดไว้ในชุดการสอนรายบุคคล
3. ตารางวิเคราะห์การสอนเรื่อง อิศรญาณภาษิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง อิศรญาณภาษิต
มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
จานวน
ชั่วโมง
มาตรฐาน ท 1.1
ใช้กระบวนการอ่านสร้าง
ความรู้และความคิด เพื่อ
นาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาใน
การดาเนินชีวิต และมีนิสัยรัก
การอ่าน
1. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
และเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน
การอ่านออกเสียง
ประกอบด้วย
- บทร้อยแก้วที่เป็นบทความทั่วไป
และบทความปกิณกะ
- บทร้อยกรอง เช่น
กลอนบทละคร กลอนเสภา
กาพย์ยานี 11
กาพย์ฉบัง 16 และโคลงสี่สุภาพ
การอ่านเรื่องราวต่าง ๆ จาก
แหล่งความรู้ในท้องถิ่น ทั้ง
บทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง
4
9. ตีความและประเมินคุณค่า
และแนวคิดที่ได้จากงานเขียน
อย่างหลากหลายเพื่อนาไปใช้
แก้ปัญหาในชีวิต
10. มีมารยาทในการอ่าน
การอ่านตามความสนใจ เช่น
- หนังสืออ่านนอกเวลา
- หนังสืออ่านตามความสนใจและ
ตามวัยของนักเรียน
- หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียน
ร่วมกันกาหนด
การอ่านชีวประวัติบุคคล
สาคัญในท้องถิ่นเพื่อเป็นตัวอย่าง
ในการดาเนินชีวิต
มารยาทในการอ่าน
4
มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
จานวน
ชั่วโมง
มาตรฐาน ท 2.1
ใช้กระบวนการเขียนเขียน
สื่อสาร เขียนเรียงความ
ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงาน
ข้อมูลสารสนเทศและรายงาน
การศึกษาค้นคว้าอย่างมี
ประสิทธิภาพ
4. เขียนย่อความ
3. พูดรายงานเรื่องหรือ
ประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจาก
การฟัง การดู และ
การสนทนา
การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ
เช่น นิทาน ตานาน สารคดีทาง
วิชาการ พระราชดารัส
พระบรมราโชวาท จดหมาย
ราชการ
การเขียนจดหมายกิจธุระติดต่อ
กับหน่วยงานราชการ
และบุคคลสาคัญ ในท้องถิ่น
3
มาตรฐาน ท 3.1
สามารถเลือกฟังและดูอย่างมี
วิจารณญาณ และพูดแสดง
ความรู้ ความคิด แลความรู้สึก
ในโอกาสต่างๆ อย่างมี
วิจารณญาณและสร้างสรรค์
2. วิเคราะห์โครงสร้าง
ประโยคซับซ้อน
การพูดรายงานการศึกษา
ค้นคว้าเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
การพูดรายงานจากเรื่องที่
ศึกษาค้นคว้ามาจากท้องถิ่น
4
มาตรฐาน ท 4.1
เข้าใจธรรมชาติของภาษา
และหลักภาษาไทย
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
และพลังของภาษา ภูมิปัญญา
ทางภาษา และรักษาภาษาไทย
ไว้เป็นสมบัติของชาติ
ประโยคซับซ้อน 6
มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
จานวน
ชั่วโมง
มาตรฐาน ท 5.1
เข้าใจและแสดงความคิดเห็น
วิจารณ์วรรณคดี
และวรรณกรรมไทย
อย่างเห็นคุณค่าและนามา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
1. สรุปเนื้อหาวรรณคดี
วรรณกรรมและวรรณกรรม
ท้องถิ่นในระดับที่ยากยิ่งขึ้น
วรรณคดี วรรณกรรม และ
วรรณกรรมท้องถิ่นเกี่ยวกับ
- ศาสนา
- ประเพณี
- พิธีกรรม
- สุภาษิตคาสอน
- เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์
- บันเทิงคดี
ศึกษาวรรณคดี วรรณกรรม
ที่มีในท้องถิ่น
3
4. อิศรญาณภาษิต
อิศรญาณภาษิต เรียกอีกอย่างว่า “เพลงยาวอิศรญาณ” หม่อมเจ้าอิศรญาณนิพนธ์เพลงยาวฉบับนี้ขึ้น
เพื่อสะท้อนความคิดเห็นที่มีต่อสังคมในยุคนั้น พร้อมเสนอแนะแนวทางปฏิบัติตนแต่ไม่ถึงขั้นสอน อิศรญาณ
ภาษิตแต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทกลอนยาว ซึ่งมีลักษณะบังคับ เหมือนกลอนสุภาพ แต่จะขึ้นบทแรกด้วย
วรรครับและจบด้วยคาว่าเอย
อิศรญาณาษิตมีเนื้อหาเชิงสั่งสอนแบบเตือนสติ และแนะนาเกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นที่
พอใจของผู้อื่น โดยเฉพาะผู้ที่มีอานาจมากกว่า สอนว่าควรจะปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะอยู่ในสังคมได้อย่างสงบสุข
ทาอย่างไรจึงจะประสบความสาเร็จสมหวัง บางตอนเน้นเรื่องการเห็นคุณค่าและความสาคัญของผู้อื่นโดยไม่สบ
ประมาทหรือดูแคลนผู้อื่น โดยทั้งนี้กรสอนบางครั้งอาจเป็นการกล่าวตรงๆ หรือใช้ถ้อยคาเชิงประชดประชัน
คุณค่าด้านเนื้อหา
อิศรญาณภาษิตมุ่งให้ข้อคิดคติสอนใจในสมัยก่อน โดยคาสอนเหล่านี้แสดงให้เห็นความจัดเจนโลกของ
กวี การถ่ายทอดความคิด ความเชื่อและวิถีการปฏิบัติที่ดีงามเพื่อให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างปกติสุข ซึ่ง
คาสอนดังกล่าวยังคงนามาใช้ในสังคมไทยปัจจุบันได้เป็นอย่างดี โดยวรรณกรรมคาสอนจะมีคุณค่าด้านเนื้อหา
ที่มุ่งเน้นไปในทิศทางเดียวกัน คือมุ่งเน้นการสอนบุคคลในเรื่องต่างๆ ซึ่งกวีจะมีวัตถุประสงค์ในการสอว่าจะ
สอนบุคคลประเภทใด จะเน้นสอนในสิ่งที่ทาให้ผู้อ่านได้รับประโยชน์และเกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตประจาวัน
ในด้านต่างๆ เช่น การสอนเด็กจะเน้นให้เห็นความสาคัญของการศึกษา
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
จากเรื่องอิศรญาณภาษิตจะปรากฏการใช้สานวนไทยหลายสานวน ทาให้บทประพันธ์มีความโดดเด่น
กวีสามารถใช้สารวนได้คมคาย การนาสานวนมาใช้มีความเหมาะสมอย่างยิ่ง ทั้งการใช้โวหารเปรียบเทียบ
เพื่อให้เห็นภาพเป็นนามธรรม การเล่นเสียง และการใช้สานวนไทยเข้ามาประกอบ เช่น
ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า น้้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย
เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ
คุณค่าด้านสังคมและสะท้อนวิถีไทย
อิศรญาณภาษิตเป็นวรรณกรรมประเภทคาสอนที่สันนิษฐานว่าเกิดขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในช่วงระยะเวลานั้นสังคมไทยเริ่มมีการผสมผสานระหว่างโครงสร้างของสังคมไทย
กับการรับอิทธิพลตะวันตก นอกจากอิศรญาณภาษิตจะสะท้อนให้เห็นสภาพสังคมในช่วงเวลานั้นได้อย่าง
ชัดเจนแล้ว คุณค่าจากเรื่องยังคงสืบทอดมาเป็นคาสอนในปัจจุบัน เช่น
1. การให้ความสาคัญแก่ผู้อาวุโส
2. การสารวจจิตใจของตนเองอยู่เสมอ
3. การรู้จักประมาณตน
4. ความขยันหมั่นเพียร
5. การอยู่ร่วมกันของคนในสังคม
6. การทาบุญตามกาลังทรัพย์ของตน

More Related Content

What's hot

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)Asmataa
 
คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3sripayom
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามAon Narinchoti
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬาไชยยา มะณี
 
1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่ม1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่มTaweep Saechin
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอรรถกร ใจชาย
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)jaacllassic
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยNetchanOk Maneechai
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558Sircom Smarnbua
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558Sircom Smarnbua
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558Sircom Smarnbua
 

What's hot (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)
 
คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3
 
มคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศมคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนาม
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
 
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
 
1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่ม1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่ม
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
 
Thesis oral presentaton
Thesis oral presentatonThesis oral presentaton
Thesis oral presentaton
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 

Similar to Unit2

5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้าkai kk
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องBenny BC
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรTawatchai Bunchuay
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
teaching
teachingteaching
teachingsangkom
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการphonon701
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2Paranee Srikhampaen
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Pateemoh254
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingintprisana2
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingintkorakate
 
Teahingint[1]
Teahingint[1]Teahingint[1]
Teahingint[1]numpueng
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 

Similar to Unit2 (20)

5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
teaching
teachingteaching
teaching
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingint
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingint
 
Teahingint[1]
Teahingint[1]Teahingint[1]
Teahingint[1]
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 

More from Inhyung Park

คำศัพท์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์ที่น่าสนใจคำศัพท์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์ที่น่าสนใจInhyung Park
 
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจบทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจInhyung Park
 
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯงานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯInhyung Park
 
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯงานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯInhyung Park
 

More from Inhyung Park (10)

Appendix
AppendixAppendix
Appendix
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
unit3
unit3unit3
unit3
 
คำศัพท์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์ที่น่าสนใจคำศัพท์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์ที่น่าสนใจ
 
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจบทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
 
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯงานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
 
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯงานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
 

Unit2

  • 1. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง โครงงานเรื่องการพัฒนาชุดการสอนแบบรายบุคคลวิชาภาษาไทย เรื่องอิศรญาณภาษิต สาหรับ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่3 ผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสารในหัวข้อดังต่อไปนี้ 1. ชุดการสอน 2. ชุดการสอนแบบรายบุคคล 3. ตารางวิเคราะห์การสอนเรื่อง อิศรญาณภาษิต 4. อิศรญาณภาษิต 1. ชุดการสอน ชุดการสอน (Instructional Package) เป็นชุดของสื่อประสมซึ่งมีจุดมุ่งหมายเฉพาะเรื่อง ทาให้ผู้เรียน ได้รับประสบการณ์เรียนอย่างมี โดยชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2537) ได้ให้ความหมายของชุดการสอนไว้ว่า เป็นสื่อ ประสมที่เป็นระบบ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเฉพาะเรื่องที่จะสอน สอดคล้องกับเนื้อหาวิชา หน่วยหัวเรื่องและ วัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้มีการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น คุณค่าของชุดการสอน ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2537) ได้สรุปคุณค่าของชุดการสอนไว้ ดังนี้ 1. ช่วยให้ผู้สอนถ่ายทอดเนื้อหาและประสบการณ์ที่สลับซับซ้อนและมีลักษณะเป็นนามธรรม ซึ่ง ผู้สอนไม่สามารถ่ายทอดด้วยการบรรยายได้ดี ให้เข้าใจชัดเจนและง่ายยิ่งขึ้น 2. เร้าความสนใจของผู้เรียนต่อสิ่งที่กาลังศึกษา เพราะชุดการสอนจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วมในการเรียนของตัวเองและสังคม 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น ฝึกการตัดสินใจ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองและมี ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 4. ช่วยสร้างความพร้อมและความมั่นใจแก่ผู้สอน เพราะชุดการสอนผลิตไว้เป็นหมวดหมู่ สามารถหยิบมาใช้ได้ทันที
  • 2. 5. ทาให้การเรียนของผู้เรียนเป็นอิสระจากอารมณ์ของผู้สอน ชุดการสอนสามารถทาให้ผู้เรียน เรียนได้ตลอดเวลา ไม่ว่าผู้สอนจะมีสภาพหรือมีความคับข้องทางอารมณ์มากน้อยเพียงใด 6. ช่วยให้การเรียนเป็นอิสระจากบุคลิกภาพของผู้สอน เนื่องจากชุดการสอนทาหน้าที่ถ่ายทอด ความรู้แทนครู แม้ครูจะพูดหรือสอนไม่เก่ง ผู้เรียนก็สามารถเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7. กรณีที่ครูขาด ครูคนอื่นก็สามารถสอนแทนโดยใช้ชุดการสอนได้เพราะเนื้อหาอยู่ในชุดการ สอนเรียบร้อยแล้ว ครูผู้สอนไม่ต้องเตรียมตัวมาก 8. สาหรับชุดการสอนรายบุคคลและชุดการสอนทางไกล จะช่วยให้การศึกษามวลชนดาเนินไป อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะผู้เรียนสามารถเรียนได้เองที่บ้าน ไต้องเสียเวลาและประหยัดค่าใช้จ่าย จากคุณค่าของชุดการสอนดังกล่าว จะเห็นได้ว่า ชุดการอสนเป็นเทคโนโลยีการศึกษาที่มีความ เหมาะสม สามารถนาไปใช้ในการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการอานวยความสะดวกให้แก่ผู้สอน และ เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน จึงเหมาะสมที่จะนาไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งสอดคล้อง กับการศึกษาในปัจจุบัน ประเภทของชุดการสอน ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2539) และประหยัด จิระวรพงศ์ (2525) ได้จาแนกชุดการสอนออกเป็น 4 ประเภทดังนี้ 1. ชุดการสอนแบบประกอบคาบรรยาย เป็นชุดการสอนที่มุ่งขายเนื้อหาสาระการสอนแบบ บรรยายให้ชัดเจนขึ้น ช่วยให้ผู้สอนพูดน้อยลง และให้สื่อการสอนทาหน้าที่แทน ชุดการสอนแบบบรรยายนี้ นิยมใช้กับการฝึกอบรม การและสอนในระดับอุดมศึกษา การสอนแบบบรรยายยังมีบทบาทสาคัญในการ ถ่ายทอดความรู้แก่ผู้เรียนที่เป็นกลุ่มใหญ่อีกด้วย 2. ชุดการสอนแบบกลุ่มกิจกรรม เป็นชุดการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนได้ประกอบกิจกรรมกลุ่ม คือ การสอนแบบศูนย์การเรียน การสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์เป็นต้น 3. ชุดการสอนแบบเอกัตภาพหรือชุดการสอนรายบุคคล เป็นชุดการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนสามารถ ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง บางทีเรียกว่าชุดการเรียน อาจเป็นการเรียนในโรงเรียนหรือที่บ้านก็ได้ เพื่อให้ ผู้เรียนก้าวไปข้างหน้าตามความสามารถ ความสนใจ และความพร้อมของผู้เรียน ชุดการสอนรายบุคคลอาจจะ ออกมาในรูปแบบหน่วยการสอนย่อย หรือโมดุล
  • 3. 4. ชุดการสอนทางไกล เป็นชุดการสอนที่ผู้สอนกับผู้เรียนอยู่ต่างถิ่นต่างเวลากัน มุ่งสอนให้ ผู้เรียนศึกษาได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องมาเข้าชั้นเรียน ประกอบด้วยสื่อประเภทสิ่งพิมพ์ รายการ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรศัพท์ ภาพยนตร์ และการสอนเสริมตามศูนย์บริการการศึกษา เช่น ชุดการสอน ทางไกลของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นต้น องค์ประกอบของชุดการสอน ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2537) ได้จาแนกองค์ประกอบของชุดการสอนไว้เป็น 4 ส่วน ดังนี้ 1. คู่มือครู เป็นคู่มือและแผนการสอนตามชนิดของชุดการสอน ภายในคู่มือจะชี้แจงถึงวิธีการใช้ ชุดการสอนไว้อย่างละเอียด อาจจะทาเป็นเล่มหรือแผ่นพับก็ได้ 2. คาสั่ง หรือการมอบหมายงาน เพื่อกาหนดแนวทางการเรียนให้นักเรียน 3. เนื้อหาสาระและสื่อ โดยจัดให้อยู่ในรูปแบบของสื่อการสอนแบบประสมและกิจกรรมการ เรียนการสอนแบบกลุ่มและรายบุคคลตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 4. การประเมินผล เป็นการประเมินผลของกระบวนการ ได้แก่ แบบฝึกหัด รายงานการค้นคว้า และผลของการเรียนรู้ในรูปแบบสอบถามต่างๆ 5. ขั้นตอนการผลิตชุดการสอน ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2539) ได้แบ่งขั้นตอนในการผลิตชุดการสอนออกเป็น 10 ขั้นตอน 1. กาหนดหมวดหมู่เนื้อหาและประสบการณ์ อาจจะกาหนดเป็นหมวดหมู่วิชาหรือบูรณาการ เป็นแบบสหวิทยาการตามที่เห็นเหมาะสม 2. กาหนดหน่วยการสอน แบ่งเนื้อหาวิชาออกเป็นหมวดการสอนโดยประมาน เนื้อหาวิชาที่จะ ให้ครูสามารถถ่ายทอดความรู้แก่นักเรียนได้ในหนึ่งสัปดาห์ หรือหนึ่งครั้ง 3. กาหนดหัวเรื่อง ผู้สอนจะต้องถามตัวเองว่าในการสอนแต่ละหน่วยควรจะให้ประสบการณ์ อะไรแก่ผู้เรียนบ้าง แล้วกาหนดออกมาเป็น 4-6 หัวเรื่อง 4. กาหนดมโนทัศน์และหลักการ มโนทัศน์และหลักการที่กาหนดขึ้นจะต้องสอดคล้องกับหน่วย และหัวเรื่อง โดยสรุปรวมแนวคิด สาระ และหลักเกณฑ์ที่สาคัญไว้เพื่อเป็นแนวทางการจัดเนื้อหามาสอนให้ สอดคล้องกัน
  • 4. 5. กาหนดวัตถุประสงค์ให้สอดคล้องกับหัวเรื่อง เป็นจุดประสงค์ทั่วไปก่อน แล้วเปลี่ยนเป็น จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ต้องมีเงื่อนไขและเกณฑ์การเปลี่ยนพฤติกรรมไว้ทุกครั้ง 6. กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมซึ่งเป็นแนว ทางการเลือกผลิตสื่อการสอน “กิจกรรมการเรียน” หมายถึง กิจกรรมทุกอย่างที่ผู้เรียนปฏิบัติ เช่น การอ่าน บัตรคาสั่ง ตอบคาถาม เขียนภาพ ทาการทดลองวิทยาศาสตร์ เล่นเกม 7. กาหนดแบบประเมินผล ต้องประเมินให้ตรงกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม โดยใช้ แบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ เพื่อให้ผู้สอนทราบว่าหลังจากผ่านกิจกรรมการเรียนมาเรียบร้อยแล้ว นักเรียนได้ เปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ 8. เลือกและผลิตสื่อการสอน วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการที่ครูใช้ ถือเป็นสื่อการสอนทั้งสิ้น เมื่อ ผลิตสื่อการสอนแต่ละหัวเรื่องเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็จัดสื่อการสอนนั้นไว้เป็นหมวดหมู่ในกล่องที่เตรียมไว้ก่อน นาไปทดลองหาประสิทธิภาพ เรียกว่า “ชุดการสอ” 9. หาประสิทธิภาพชุดการสอน เพื่อเป็นการประกันว่าชุดการสอนที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพใน การสอน ผู้สร้างจาต้องกาหนดเกณฑ์ขึ้นไว้ล่วงหน้าโดยคานึงถึงหลักเกณฑ์ที่ว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการเพื่อ ช่วยให้เกิดกรเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมของผู้เรียนบรรลุผล 10.การใช้ชุดการสอน ชุดการสอนที่ได้ปรับปรุงและมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้สามารถ นาไปสอนผู้เรียนได้ตามประเภทของชุดการสอน และตามระดับการศึกษา โดยกาหนดเป็นขั้นตอนการใช้ ดังนี้ 10.1 ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 10.2 ขั้นนาสู่บทเรียน 10.3 ขั้นประกอบกิจกรรม (ขั้นสอน) 10.4 ขั้นสรุปผลการสอน 10.5 ทาแบบทดสอบหลังเรียน 2. ชุดการสอนแบบรายบุคคล ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และวาสนา ทวีกุลทรัพย์ (2540) กล่าวว่า ชุดการสอนรายบุคคลเป็นชุดสื่อประสม ที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ในสื่อรูปแบบต่างๆในสถานการณ์และ สภาพแวดล้อมที่จัดไว้ให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้และใคร่ครวญทีละน้อยตามลาดับขั้น ได้ร่วมกิจกรรมอย่าง กระฉับกระเฉง ได้รับคาติชมทันท้วงที และได้รับประสบการณ์ที่เป็นความสาเร็จและเกิดความภาคภูมิใจ
  • 5. ประเภทของชุดการสอนแบบรายบุคคล ชุดการสอนรายบุคคลแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. ชุดการสอนรายบุคคลที่ยึดสิ่งตีพิมพ์เป็นสื่อหลัก เป็นชุดการสอนที่เสนอเนื้อหาเป็นตัวพิมพ์ อาจะมีภาพประกอบ นิยมกันมากเพราะสิ่งพิมพ์เป็นสื่อที่ผลิตง่ายและราคาถูกกว่าสื่อประเภทอื่น 2. ชุดการสอนรายบุคคลที่ยึดสื่อโสตทัศน์เป็นสื่อหลัก เป็นชุดการสอนที่เนื้อหาสาระบรรจุไว้ใน รูปสื่อโสตทัศน์ที่ไม่ใช่สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น เทปบันทึกเสียง เทปบันทึกภาพ หรือผสมผสานกัน 3. ชุดการสอนรายบุคคลที่ยึดคอมพิวเตอร์เป็นสื่อหลัก เป็นชุดการสอนที่เนื้อหาสาระบรรจุไว้ใน รูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ ที่สามารถเสนอได้ทั้งอักษร ภาพ และเสียง องค์ประกอบของชุดการสอนรายบุคคล ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และ วาสนา ทวีกุลทรัพย์ (2540) ได้อธิบายองค์ประกอบเชิงรูปธรรมของชุดการ สอนรายบุคคลไว้ ดังนี้ 1. แผนการสอน เป็นการประยุกต์หลักการใช้สิ่งจัดแนวคิดล่วงหน้า เพื่อให้ผู้เรียนทราบความ จาเป็นที่ต้องเรียน หัวเรื่อง แนวคิดรวบยอด วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียน สื่อการสอน และการประเมินผล 2. เนื้อหาสาระในชุดการสอน เป็นความรู้และประสบการณ์ที่ได้วิเคราะห์มาแล้วปรุงแต่งให้ เหมาะสมกับการศึกษาด้วยตนเอง ด้วยการใช้สื่อระหว่างเรียน เนื้อหาในชุดการสอนรายบุคคลจาแนกออกเป็น หัวข้อย่อยและหัวข้อตามลาดับยากง่ายและความเหมาะสมอื่นๆ 3. สื่อที่ใช้ถ่ายทอดเนื้อหาสาระในชุดการสอนรายบุคคล เป็นเครื่องมือบรรจุเนื้อหาที่เหมาะสม จะถ่ายทอดไปให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เอง เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ วัสดุบันทึก ข้อมูลคอมพิวเตอร์ 4. สิ่งอานวยความสะดวกสาหรับการใช้ชุดการสอนรายบุคคล หมายถึง วัสดุ อุปการณ์ และ โครงสร้างพื้นฐานสาหรับการใช้ชุดการสอน ได้แก่ โต๊ะ เก้าอี้ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น 5. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ หมายถึง สถานที่เรียน อุณหภูมิ และแสงสว่าง 6. เครื่องมือประเมินในชุดการสอนรายบุคคล หมายถึง แบบทดสอบ แบบสังเกต เพื่อให้ผู้เรียน ทราบสถานภาพการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดขึ้น จากการเยนด้วยชุดการสอนรายบุคคลของตนเอง 7. คู่มือการใช้ชุดการสอนรายบุคคล เป็นเอกสารที่แนะนาวิธีการเรียนจากชุดการสอนรายบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ 8. แบบฝึกปฏิบัติในชุดการสอนรายบุคคล เป็นเอกสารที่ใช้บันทึกสรุปประเด็นสาคัญของเนื้อหา สาระที่เขียน และบันทึกผลของการประกอบกิจกรรมตามที่กาหนดไว้ในชุดการสอนรายบุคคล
  • 6. 3. ตารางวิเคราะห์การสอนเรื่อง อิศรญาณภาษิต หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง อิศรญาณภาษิต มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น จานวน ชั่วโมง มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้าง ความรู้และความคิด เพื่อ นาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาใน การดาเนินชีวิต และมีนิสัยรัก การอ่าน 1. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง และเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย - บทร้อยแก้วที่เป็นบทความทั่วไป และบทความปกิณกะ - บทร้อยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอนเสภา กาพย์ยานี 11 กาพย์ฉบัง 16 และโคลงสี่สุภาพ การอ่านเรื่องราวต่าง ๆ จาก แหล่งความรู้ในท้องถิ่น ทั้ง บทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง 4 9. ตีความและประเมินคุณค่า และแนวคิดที่ได้จากงานเขียน อย่างหลากหลายเพื่อนาไปใช้ แก้ปัญหาในชีวิต 10. มีมารยาทในการอ่าน การอ่านตามความสนใจ เช่น - หนังสืออ่านนอกเวลา - หนังสืออ่านตามความสนใจและ ตามวัยของนักเรียน - หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียน ร่วมกันกาหนด การอ่านชีวประวัติบุคคล สาคัญในท้องถิ่นเพื่อเป็นตัวอย่าง ในการดาเนินชีวิต มารยาทในการอ่าน 4
  • 7. มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น จานวน ชั่วโมง มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียน สื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงาน ข้อมูลสารสนเทศและรายงาน การศึกษาค้นคว้าอย่างมี ประสิทธิภาพ 4. เขียนย่อความ 3. พูดรายงานเรื่องหรือ ประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจาก การฟัง การดู และ การสนทนา การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน ตานาน สารคดีทาง วิชาการ พระราชดารัส พระบรมราโชวาท จดหมาย ราชการ การเขียนจดหมายกิจธุระติดต่อ กับหน่วยงานราชการ และบุคคลสาคัญ ในท้องถิ่น 3 มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมี วิจารณญาณ และพูดแสดง ความรู้ ความคิด แลความรู้สึก ในโอกาสต่างๆ อย่างมี วิจารณญาณและสร้างสรรค์ 2. วิเคราะห์โครงสร้าง ประโยคซับซ้อน การพูดรายงานการศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น การพูดรายงานจากเรื่องที่ ศึกษาค้นคว้ามาจากท้องถิ่น 4 มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษา และหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปัญญา ทางภาษา และรักษาภาษาไทย ไว้เป็นสมบัติของชาติ ประโยคซับซ้อน 6
  • 8. มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น จานวน ชั่วโมง มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทย อย่างเห็นคุณค่าและนามา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง 1. สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรม ท้องถิ่นในระดับที่ยากยิ่งขึ้น วรรณคดี วรรณกรรม และ วรรณกรรมท้องถิ่นเกี่ยวกับ - ศาสนา - ประเพณี - พิธีกรรม - สุภาษิตคาสอน - เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ - บันเทิงคดี ศึกษาวรรณคดี วรรณกรรม ที่มีในท้องถิ่น 3 4. อิศรญาณภาษิต อิศรญาณภาษิต เรียกอีกอย่างว่า “เพลงยาวอิศรญาณ” หม่อมเจ้าอิศรญาณนิพนธ์เพลงยาวฉบับนี้ขึ้น เพื่อสะท้อนความคิดเห็นที่มีต่อสังคมในยุคนั้น พร้อมเสนอแนะแนวทางปฏิบัติตนแต่ไม่ถึงขั้นสอน อิศรญาณ ภาษิตแต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทกลอนยาว ซึ่งมีลักษณะบังคับ เหมือนกลอนสุภาพ แต่จะขึ้นบทแรกด้วย วรรครับและจบด้วยคาว่าเอย อิศรญาณาษิตมีเนื้อหาเชิงสั่งสอนแบบเตือนสติ และแนะนาเกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นที่ พอใจของผู้อื่น โดยเฉพาะผู้ที่มีอานาจมากกว่า สอนว่าควรจะปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะอยู่ในสังคมได้อย่างสงบสุข ทาอย่างไรจึงจะประสบความสาเร็จสมหวัง บางตอนเน้นเรื่องการเห็นคุณค่าและความสาคัญของผู้อื่นโดยไม่สบ ประมาทหรือดูแคลนผู้อื่น โดยทั้งนี้กรสอนบางครั้งอาจเป็นการกล่าวตรงๆ หรือใช้ถ้อยคาเชิงประชดประชัน
  • 9. คุณค่าด้านเนื้อหา อิศรญาณภาษิตมุ่งให้ข้อคิดคติสอนใจในสมัยก่อน โดยคาสอนเหล่านี้แสดงให้เห็นความจัดเจนโลกของ กวี การถ่ายทอดความคิด ความเชื่อและวิถีการปฏิบัติที่ดีงามเพื่อให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างปกติสุข ซึ่ง คาสอนดังกล่าวยังคงนามาใช้ในสังคมไทยปัจจุบันได้เป็นอย่างดี โดยวรรณกรรมคาสอนจะมีคุณค่าด้านเนื้อหา ที่มุ่งเน้นไปในทิศทางเดียวกัน คือมุ่งเน้นการสอนบุคคลในเรื่องต่างๆ ซึ่งกวีจะมีวัตถุประสงค์ในการสอว่าจะ สอนบุคคลประเภทใด จะเน้นสอนในสิ่งที่ทาให้ผู้อ่านได้รับประโยชน์และเกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตประจาวัน ในด้านต่างๆ เช่น การสอนเด็กจะเน้นให้เห็นความสาคัญของการศึกษา คุณค่าด้านวรรณศิลป์ จากเรื่องอิศรญาณภาษิตจะปรากฏการใช้สานวนไทยหลายสานวน ทาให้บทประพันธ์มีความโดดเด่น กวีสามารถใช้สารวนได้คมคาย การนาสานวนมาใช้มีความเหมาะสมอย่างยิ่ง ทั้งการใช้โวหารเปรียบเทียบ เพื่อให้เห็นภาพเป็นนามธรรม การเล่นเสียง และการใช้สานวนไทยเข้ามาประกอบ เช่น ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า น้้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ คุณค่าด้านสังคมและสะท้อนวิถีไทย อิศรญาณภาษิตเป็นวรรณกรรมประเภทคาสอนที่สันนิษฐานว่าเกิดขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในช่วงระยะเวลานั้นสังคมไทยเริ่มมีการผสมผสานระหว่างโครงสร้างของสังคมไทย กับการรับอิทธิพลตะวันตก นอกจากอิศรญาณภาษิตจะสะท้อนให้เห็นสภาพสังคมในช่วงเวลานั้นได้อย่าง ชัดเจนแล้ว คุณค่าจากเรื่องยังคงสืบทอดมาเป็นคาสอนในปัจจุบัน เช่น 1. การให้ความสาคัญแก่ผู้อาวุโส 2. การสารวจจิตใจของตนเองอยู่เสมอ 3. การรู้จักประมาณตน 4. ความขยันหมั่นเพียร 5. การอยู่ร่วมกันของคนในสังคม 6. การทาบุญตามกาลังทรัพย์ของตน