SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
ธาตุกัมมันตรังสี

         ครู ธิดารัตน์ แสงฮวด
โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
กัมมันตรังสี (radioactivity) คือ ปรากฏการณ์ที่
 ธาตุสามารถแผ่รงสีได้เองอย่างต่อเนื่อง ปรากฏการณ์
                  ั
 นี้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึนภายในนิวเคลียส ของ
                               ้
 ไอโซโทปที่ไม่เสถียร

ธาตุกัมมันตรังสี
คือ ธาตุที่มีสมบัติในการแผ่รงสี สามารถแผ่รงสีและ
                            ั             ั
กลายเป็นอะตอมของธาตุอื่นได้
อองตวน อองรี แบ็กเคอแรล เป็นคนแรกทีคนพบว่า
                                          ่ ้
ธาตุบางชนิดโดยเฉพาะธาตุที่มีมวลอะตอมมาก สามารถ
ปล่อยรังสีบางชนิดออกมา เมื่อเขานาฟิลมถ่ายรูปไว้ใกล้ๆ
                                     ์
เกลือโพแทสเซียมยูเรนิลซัลเฟต และมีกระดาษดาหุ้มปรากฎ
ว่าเกิดรอยดาบนแผ่นฟิลมเหมือนถูกแสง
                      ์
รัทเทอร์ฟอร์ดได้ศกษาเพิ่มเติมและแสดงให้เห็นว่ารังสีที่ธาตุกมมันตรังสี
                        ึ                                         ั
ปล่อยมาอาจเป็น รังสีแอลฟา รังสีบตา รังสีแกมมา ซึ่งมีสมบัติต่างกัน
                                ี
รังสีแอลฟา ( - ray) เป็นนิวเคลียสของฮีเลียม มีโปรตอนและนิวตรอน
อย่างละ 2 อนุ มีประจุไฟฟ้า +2 มีอานาจทะลุทะลวงต่ามาก กระดาษ
               ภาค
เพียงแผ่นเดียวหรือสองแผ่นก็สามารถกันได้
                                   ้

รังสีบีตา (-ray) คือ อนุภาคทีมีสมบัตเิ หมือนอิเล็กตรอน คือ มี
                                 ่
ประจุไฟฟ้า -1 มีมวลเท่ากับอิเล็กตรอน มีอานาจทะลุทะลวงสูงกว่า
รังสีแอลฟาประมาณ 100 เท่า สามารถผ่านแผ่นโลหะบางๆ เช่น
แผ่นตะกัวหนา 1 mm มีความเร็วใกล้เคียงความเร็วแสง
         ่





    รังสีแกมมา
    เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้นมาก
    ไม่มีประจุ ไม่มีมวล มีอานาจทะลุทะลวงสูงสุด
    สามารถทะลุผ่านแผ่นไม้ โลหะและเนื้อเยื่อได้
    แต่ถูกกั้นได้โดยคอนกรีตหรือแผ่นตะกั่วหนา
ประจุและมวลของอนุภาคชนิดต่างๆ ที่เกิดจากการแผ่รงสี
                                               ั
ตารางเปรียบเทียบปฏิกรยาเคมีกบปฏิกรยานิวเคลียร์
                     ิิ      ั    ิิ

        Chemical Reaction                         Nuclear Reaction
1. เปลียนแปลงจากพันธะเคมีเดิมสลาย
         ่                               1. เปลียน isotope ของธาตุหรือเปลียน
                                                   ่                      ่
และเกิดพันธะใหม่                         ธาตุเลย
2. เกียวข้ องเฉพาะอิเล็กตรอนในพันธะ
       ่                                 2. เกียวข้ องกับ p , n , e-
                                               ่
3. มีการดูดกลืน / คายพลังงานปริมาณ       3. เกียวข้ องพลังงานปริมาณมาก
                                                 ่
เล็กน้ อย
4. อัตราเร็วของปฏิกริยา ขึนกับอุณหภูมิ
                     ิ    ้              4. อัตราเร็วไม่ ขึนกับอุณหภูมิ ความดัน
                                                           ้
ความดัน ความเข้ มข้ น catalyst           catalyst
การดุลสมการนิวเคลียร์ (Balancing Nuclear Equations)
   - จานวน p, n ซ้าย = ขวา
( atomic number และ mass number )
ครึ่งชีวิตของธาตุ
     ครึ่งชีวต (Half life) หมายถึง ระยะเวลาทีปริมาณของสาร
             ิ                                 ่
     กัมมันตรังสีสลายตัวจนเหลือครึงหนึ่งของปริมาณเริมต้น
                                  ่                 ่

       Na-24 มีครึ่งชีวต 15 ชั่วโมง
                       ิ




ครึ่งชีวตเป็นสมบัติเฉพาะตัวของแต่ละไอโซโทป และสามารถใช้เปรียบเทียบอัตราการสลายตัวของธาตุ
        ิ
กัมมันตรังสีแต่ละชนิดได้
ตัวอย่าง ธาตุกัมมันตรังสีมครึงชีวิต 30 วัน จะใช้เวลานานเท่าใด
                          ี ่
สาหรับการสลายไปร้อยละ 75 ของปริมาณตอนทีเ่ ริมต้น  ่
ถ้าเริมต้นมีธาตุกมมันตรังสีอยู่ 100 g
      ่          ั                           สลายตัวไป 75 g
  ดังนั้นต้องการให้เหลือธาตุนี้ 25 g
   เนื่องจากธาตุนมครึงชีวิต 30 วัน
                 ี้ ี ่
                              30 วัน         30 วัน 25 g
    ธาตุกัมมันตรังสี 100 g              50 g

            ดังนั้นต้องใช้เวลา 30 x 2 เท่ากับ 60 วัน
          สาหรับการสลายไปร้อยละ 75 ของปริมาณเริ่มต้น
14C   มีครึ่งชีวต 5,730 ปี ถ้ามี 14C 10 กรัม จะต้อง
                ิ
ใช้เวลานานเท่าไรจึงจะเหลือไอโซโทปนี้อยู่ 1.25 กรัม
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
เป็นปฏิกรยาที่เกิดการเปลียนแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอม แล้วได้
         ิิ              ่
นิวเคลียสของธาตุใหม่เกิดขึน และให้พลังงานจานวนมหาศาล
                           ้
แบ่งออกได้ 2 ประเภท ดังนี้
           1. ปฏิกิริยาฟิชชัน (Fission reaction)
           2. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Fussion reaction)
1. ปฏิกิรยาฟิชชัน (Fission reaction)
         ิ
        คือ ปฏิกิรยานิวเคลียร์ที่เกิดขึน เนื่องจากการยิง
                   ิ                   ้
อนุภาคนิวตรอนเข้าไปยังนิวเคลียสของธาตุหนัก แล้วทาให้
นิวเคลียร์แตกออกเป็นนิวเคลียร์ที่เล็กลงสองส่วน กับให้
อนุภาคนิวตรอน 2-3 อนุภาค และคายพลังงานมหาศาล
ออกมา
นิวตรอนที่เกิดขึน 2-3 ตัวซึ่งมีพลังงานสูงจะวิงไปชนนิวเคลียสของอะตอมที่อยู่
                ้                            ่
ใกล้เคียง ทาให้เกิดปฏิกรยาต่อเนืองไปเป็นลูกโซ่ ซึ่งเรียกว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่ ซึ่งทาให้
                       ิิ       ่
ได้พลังงานมหาศาล
2. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Fussion reaction)
           คือ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียสของธาตุเบาหลอม
รวมกันเข้าเป็นนิวเคลียสทีหนักกว่า และมีการปล่อยพลังงาน
                         ่
นิวเคลียร์ออกมา
พลังงานจากปฏิกรยานิวเคลียร์ฟวชันมีคามากกว่าพลังงานจาก
                              ิิ           ิ     ่
 ปฏิกิรยานิวเคลียร์ฟชชัน เมื่อเปรียบเทียบจากมวลส่วนที่เข้าทาปฏิกรยา
         ิ              ิ                                       ิิ
 ปฏิกิรยาฟิวชันที่รจกกันในนาม ลูกระเบิดไฮโดรเจน (Hydrogen bomb)
       ิ           ู้ ั

         2H    + 31H                4 He    + 10n + พลังงาน
        1                            2


        ปฏิกรยานิวเคลียร์ฟวชัน จะเกิดขึ้นได้ต้องใช้ความร้อนเริมต้นสูงมาก
            ิิ            ิ                                   ่
เพื่อเอาชนะแรงผลักระหว่างนิวเคลียสที่จะเข้ารวมตัวกัน เช่น ระเบิดไฮโดรเจน
จะต้องใช้ความร้อนจากระเบิดปรมาณูเป็นตัวจุดชนวน
ประโยชน์ของธาตุกมมันตรังสี
                             ั
           (Application of Isotopes)
1.   อุตสาหกรรม - ลดการสึกหรอวงแหวนลูกสูบ
2.   การแพทย์ : I – 131 ติดตามดูภาพสมองในทางการแพทย์
     ใช้ศึกษาความผิดปกติของต่อมไทรอยด์

3.   Co – 60 ใช้ในการถนอมอาหารให้มีอายุยาวนานขึน
                                               ้
      เพราะรังสีแกมมาช่วยในการทาลายแบคทีเรีย
      รักษาโรคมะเร็งทางการแพทย์
4.   Ra-226 รักษาโรคมะเร็งทางการแพทย์
5.   C-14 ตรวจหาอายุของวัตถุโบราณ
6.   รังสีแกมมา ตกแต่งอัญมณีให้สสนสวยงาม
                                 ีั
7.   รังสีนวตรอน ใช้ในการปรับปรุงพันธุกรรมพืช
           ิ

More Related Content

What's hot

ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลายyaowaluk
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงvanida juntapoon
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สPhysciences Physciences
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรตJariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfบทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfKatewaree Yosyingyong
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 

What's hot (20)

ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอมแบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
 
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรต
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfบทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 

Viewers also liked

บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
P57176810959
P57176810959P57176810959
P57176810959mamka
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม AtomsBELL N JOYE
 
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอมBELL N JOYE
 
พันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsพันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsBELL N JOYE
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...Sircom Smarnbua
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)BELL N JOYE
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีjirat266
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsBELL N JOYE
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1Sircom Smarnbua
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์thanakit553
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมWijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมChakkrawut Mueangkhon
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
P57176810959
P57176810959P57176810959
P57176810959
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
 
พันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsพันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bonds
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applications
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 

Similar to Ch 03 nuclear chemistry

summer 2010 (student preso)
summer 2010 (student preso)summer 2010 (student preso)
summer 2010 (student preso)Roppon Picha
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์girapong
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาyaowaluk
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลbuabun
 
สารกัมมันตรังสี
สารกัมมันตรังสีสารกัมมันตรังสี
สารกัมมันตรังสีWiriyachayon Wesirisan
 
9789740327752
97897403277529789740327752
9789740327752CUPress
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าwongteamjan
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาบทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาoraneehussem
 

Similar to Ch 03 nuclear chemistry (20)

summer 2010 (student preso)
summer 2010 (student preso)summer 2010 (student preso)
summer 2010 (student preso)
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
 
Nuclear
NuclearNuclear
Nuclear
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
 
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
 
Sheet rate
Sheet rateSheet rate
Sheet rate
 
สารกัมมันตรังสี
สารกัมมันตรังสีสารกัมมันตรังสี
สารกัมมันตรังสี
 
9789740327752
97897403277529789740327752
9789740327752
 
Rate
RateRate
Rate
 
Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาบทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
 

More from kruannchem

Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก kruannchem
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 

More from kruannchem (6)

Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 

Ch 03 nuclear chemistry

  • 1. ธาตุกัมมันตรังสี ครู ธิดารัตน์ แสงฮวด โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 2. กัมมันตรังสี (radioactivity) คือ ปรากฏการณ์ที่ ธาตุสามารถแผ่รงสีได้เองอย่างต่อเนื่อง ปรากฏการณ์ ั นี้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึนภายในนิวเคลียส ของ ้ ไอโซโทปที่ไม่เสถียร ธาตุกัมมันตรังสี คือ ธาตุที่มีสมบัติในการแผ่รงสี สามารถแผ่รงสีและ ั ั กลายเป็นอะตอมของธาตุอื่นได้
  • 3. อองตวน อองรี แบ็กเคอแรล เป็นคนแรกทีคนพบว่า ่ ้ ธาตุบางชนิดโดยเฉพาะธาตุที่มีมวลอะตอมมาก สามารถ ปล่อยรังสีบางชนิดออกมา เมื่อเขานาฟิลมถ่ายรูปไว้ใกล้ๆ ์ เกลือโพแทสเซียมยูเรนิลซัลเฟต และมีกระดาษดาหุ้มปรากฎ ว่าเกิดรอยดาบนแผ่นฟิลมเหมือนถูกแสง ์
  • 4. รัทเทอร์ฟอร์ดได้ศกษาเพิ่มเติมและแสดงให้เห็นว่ารังสีที่ธาตุกมมันตรังสี ึ ั ปล่อยมาอาจเป็น รังสีแอลฟา รังสีบตา รังสีแกมมา ซึ่งมีสมบัติต่างกัน ี รังสีแอลฟา ( - ray) เป็นนิวเคลียสของฮีเลียม มีโปรตอนและนิวตรอน อย่างละ 2 อนุ มีประจุไฟฟ้า +2 มีอานาจทะลุทะลวงต่ามาก กระดาษ ภาค เพียงแผ่นเดียวหรือสองแผ่นก็สามารถกันได้ ้ รังสีบีตา (-ray) คือ อนุภาคทีมีสมบัตเิ หมือนอิเล็กตรอน คือ มี ่ ประจุไฟฟ้า -1 มีมวลเท่ากับอิเล็กตรอน มีอานาจทะลุทะลวงสูงกว่า รังสีแอลฟาประมาณ 100 เท่า สามารถผ่านแผ่นโลหะบางๆ เช่น แผ่นตะกัวหนา 1 mm มีความเร็วใกล้เคียงความเร็วแสง ่
  • 5. รังสีแกมมา เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้นมาก ไม่มีประจุ ไม่มีมวล มีอานาจทะลุทะลวงสูงสุด สามารถทะลุผ่านแผ่นไม้ โลหะและเนื้อเยื่อได้ แต่ถูกกั้นได้โดยคอนกรีตหรือแผ่นตะกั่วหนา
  • 7. ตารางเปรียบเทียบปฏิกรยาเคมีกบปฏิกรยานิวเคลียร์ ิิ ั ิิ Chemical Reaction Nuclear Reaction 1. เปลียนแปลงจากพันธะเคมีเดิมสลาย ่ 1. เปลียน isotope ของธาตุหรือเปลียน ่ ่ และเกิดพันธะใหม่ ธาตุเลย 2. เกียวข้ องเฉพาะอิเล็กตรอนในพันธะ ่ 2. เกียวข้ องกับ p , n , e- ่ 3. มีการดูดกลืน / คายพลังงานปริมาณ 3. เกียวข้ องพลังงานปริมาณมาก ่ เล็กน้ อย 4. อัตราเร็วของปฏิกริยา ขึนกับอุณหภูมิ ิ ้ 4. อัตราเร็วไม่ ขึนกับอุณหภูมิ ความดัน ้ ความดัน ความเข้ มข้ น catalyst catalyst
  • 8. การดุลสมการนิวเคลียร์ (Balancing Nuclear Equations) - จานวน p, n ซ้าย = ขวา ( atomic number และ mass number )
  • 9. ครึ่งชีวิตของธาตุ ครึ่งชีวต (Half life) หมายถึง ระยะเวลาทีปริมาณของสาร ิ ่ กัมมันตรังสีสลายตัวจนเหลือครึงหนึ่งของปริมาณเริมต้น ่ ่ Na-24 มีครึ่งชีวต 15 ชั่วโมง ิ ครึ่งชีวตเป็นสมบัติเฉพาะตัวของแต่ละไอโซโทป และสามารถใช้เปรียบเทียบอัตราการสลายตัวของธาตุ ิ กัมมันตรังสีแต่ละชนิดได้
  • 10. ตัวอย่าง ธาตุกัมมันตรังสีมครึงชีวิต 30 วัน จะใช้เวลานานเท่าใด ี ่ สาหรับการสลายไปร้อยละ 75 ของปริมาณตอนทีเ่ ริมต้น ่ ถ้าเริมต้นมีธาตุกมมันตรังสีอยู่ 100 g ่ ั สลายตัวไป 75 g ดังนั้นต้องการให้เหลือธาตุนี้ 25 g เนื่องจากธาตุนมครึงชีวิต 30 วัน ี้ ี ่ 30 วัน 30 วัน 25 g ธาตุกัมมันตรังสี 100 g 50 g ดังนั้นต้องใช้เวลา 30 x 2 เท่ากับ 60 วัน สาหรับการสลายไปร้อยละ 75 ของปริมาณเริ่มต้น
  • 11. 14C มีครึ่งชีวต 5,730 ปี ถ้ามี 14C 10 กรัม จะต้อง ิ ใช้เวลานานเท่าไรจึงจะเหลือไอโซโทปนี้อยู่ 1.25 กรัม
  • 12. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ เป็นปฏิกรยาที่เกิดการเปลียนแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอม แล้วได้ ิิ ่ นิวเคลียสของธาตุใหม่เกิดขึน และให้พลังงานจานวนมหาศาล ้ แบ่งออกได้ 2 ประเภท ดังนี้ 1. ปฏิกิริยาฟิชชัน (Fission reaction) 2. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Fussion reaction)
  • 13. 1. ปฏิกิรยาฟิชชัน (Fission reaction) ิ คือ ปฏิกิรยานิวเคลียร์ที่เกิดขึน เนื่องจากการยิง ิ ้ อนุภาคนิวตรอนเข้าไปยังนิวเคลียสของธาตุหนัก แล้วทาให้ นิวเคลียร์แตกออกเป็นนิวเคลียร์ที่เล็กลงสองส่วน กับให้ อนุภาคนิวตรอน 2-3 อนุภาค และคายพลังงานมหาศาล ออกมา
  • 14. นิวตรอนที่เกิดขึน 2-3 ตัวซึ่งมีพลังงานสูงจะวิงไปชนนิวเคลียสของอะตอมที่อยู่ ้ ่ ใกล้เคียง ทาให้เกิดปฏิกรยาต่อเนืองไปเป็นลูกโซ่ ซึ่งเรียกว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่ ซึ่งทาให้ ิิ ่ ได้พลังงานมหาศาล
  • 15. 2. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Fussion reaction) คือ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียสของธาตุเบาหลอม รวมกันเข้าเป็นนิวเคลียสทีหนักกว่า และมีการปล่อยพลังงาน ่ นิวเคลียร์ออกมา
  • 16. พลังงานจากปฏิกรยานิวเคลียร์ฟวชันมีคามากกว่าพลังงานจาก ิิ ิ ่ ปฏิกิรยานิวเคลียร์ฟชชัน เมื่อเปรียบเทียบจากมวลส่วนที่เข้าทาปฏิกรยา ิ ิ ิิ ปฏิกิรยาฟิวชันที่รจกกันในนาม ลูกระเบิดไฮโดรเจน (Hydrogen bomb) ิ ู้ ั 2H + 31H 4 He + 10n + พลังงาน 1 2 ปฏิกรยานิวเคลียร์ฟวชัน จะเกิดขึ้นได้ต้องใช้ความร้อนเริมต้นสูงมาก ิิ ิ ่ เพื่อเอาชนะแรงผลักระหว่างนิวเคลียสที่จะเข้ารวมตัวกัน เช่น ระเบิดไฮโดรเจน จะต้องใช้ความร้อนจากระเบิดปรมาณูเป็นตัวจุดชนวน
  • 17. ประโยชน์ของธาตุกมมันตรังสี ั (Application of Isotopes) 1. อุตสาหกรรม - ลดการสึกหรอวงแหวนลูกสูบ 2. การแพทย์ : I – 131 ติดตามดูภาพสมองในทางการแพทย์ ใช้ศึกษาความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ 3. Co – 60 ใช้ในการถนอมอาหารให้มีอายุยาวนานขึน ้ เพราะรังสีแกมมาช่วยในการทาลายแบคทีเรีย รักษาโรคมะเร็งทางการแพทย์ 4. Ra-226 รักษาโรคมะเร็งทางการแพทย์ 5. C-14 ตรวจหาอายุของวัตถุโบราณ 6. รังสีแกมมา ตกแต่งอัญมณีให้สสนสวยงาม ีั 7. รังสีนวตรอน ใช้ในการปรับปรุงพันธุกรรมพืช ิ