SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยสสง
• ในปี ค.ศ. 1648 ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์
(J.B. Van Helmomt) นักวิทยาศาสตร์ชาวเบล
เยี่ยม ได้ทดลองปลูกต้นหลิวหนัก 5 ปอนด์ใน
ถังใบใหญ่ที่บรรจุดินซึ่งทาให้สห้งสนิทหนัก
200 ปอนด์ สล้วปิดฝาถัง ระหว่างทาการทดลอง
ได้รดน้าต้นหลิวที่ปลูกไว้ทุกๆวัน ด้วยน้าฝน
หรือน้ากลั่นเป็นระยะเวลา 5 ปีต้นหลิวเจริญขึ้น
หนักเป็ น 169ปอนด์ 3 ออนซ์ (ไม่ได้รวม
น้าหนักของใบซึ่งร่วงไปในสต่ละปี) สละเมื่อนา
ดินในถังมาทาให้สห้งสล้วนาไปชั่ง ปรากฏว่ามี
น้าหนักน้อยกว่าดินที่ใช้ก่อนทาการทดลองเพียง
2 ออนซ์เท่านั้น
การทดลองของ สวน เฮลมองท์
แวน เฮลมองท์ ได้ปิดกระถางที่ปลูกต้นหลิวด้วย เพื่อป้ องกันการสูญหายของดินใน
กระถาง สละจากการทดลองพบว่า น้าหนักของดินลดลงน้อยมาก เขาจึงสรุปว่า น้าเป็น
สาเหตุที่ทาให้พืชเจริญเติบโตเพียงอย่างเดียว โดยเขาลืมไปว่าพืชยังมีสิ่งสวดล้อมอื่น
นอกจากดินน้าคือ อากาศ สสง อุณหภูมิ ซึ่งมีความสาคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช
เช่นเดียวกัน การที่เขาใช้น้ากลั่นหรือน้าฝนรดต้นหลิวก็เพื่อสสดงให้เห็นว่าน้าที่ใช้นั้นไม่มี
สารต่างๆเจือปนอยู่ด้วย เพื่อป้ องกันไม่ให้น้าหนักของดินเปลี่ยนสปลง เนื่องมาจากน้าที่ใช้
รดต้นหลิวมีสารหรือพวกสร่ธาตุปนอยู่ สละเป็นการสสดงให้เห็นด้วยว่าน้าเท่านั้นที่ทาให้
พืชเจริญเติบโต
• ในปี ค.ศ. 1772โจเซฟ พริสท์ลีย์
(Joseph Priestley) นักวิทยาศาสตร์
ชาวอังกฤษกล่าวได้ว่า…“การหายใจ
การเน่าเปื่อยสละการตายของสัตว์ทา
ให้อากาศเสีย สต่พืชจะทาให้อากาศ
เสียนั้นบริสุทธิ์ขึ้นสละมีประโยชน์
ต่อการดารงชีวิต”
การทดลองที่ 1 ของ โจเซฟ พริสต์ลีย์
เขาได้ทาการทดลองโดย
1. จุดเทียนไขไว้ในครอบสก้ว สักครู่
เทียนไขก็ดับ
2. ใส่หนูเข้าไปในครอบสก้ว สักครู่หนู
ก็ตาย
3. จุดเทียนไขใส่ในครอบสก้วที่หนูตาย
พบว่าเทียนไขดับทันที
การทดลองที่ 2 ของ โจเซฟ พริสต์ลีย์
4. ใส่พืชสีเขียวเข้าไปในครอบสก้วที่เคย
จุดเทียนไขซึ่งดับสล้วสละปล่อยไว้
10 วัน พบว่าเมื่อจุดเทียนไขใหม่
เทียนไขจะลุกไหม้อยู่ได้ระยะหนึ่ง
โดยไม่ดับทันที
5. เอาหนูที่ตายออกจากครอบสก้วสล้ว
พืชสีเขียวเข้าไปในครอบสก้วปล่อย
ไว้10 วัน ใส่หนูเข้าไปใหม่พบว่าหนู
ไม่ตาย
การทดลองที่ 2 ของ โจเซฟ พริสต์ลีย์
6. สบ่งอากาศจากครอบสก้วที่จุดเทียนไขสละปล่อยให้ดับสล้วออกเป็น2 ส่วน
ส่วนที่ 1. ใส่พืชสีเขียว สละปล่อยไว้ระยะหนึ่งจุดเทียนไขใส่ใหม่พบว่าเทียนไขไม่
ดับ หรือถ้าใส่หนู หนูจะไม่ตาย
ส่วนที่ 2. ปล่อยอากาศไว้ในครอบสก้วเฉยๆ สละปล่อยไว้ระยะหนึ่งเช่นกัน เมื่อจุด
เทียนไข เทียนไขจะดับทันที หรือถ้าใส่หนู หนูจะตาย
จากการทดลองนี้ พริสต์ลีย์ สรุปว่า
1. การลุกไหม้(เทียนไข)เป็นการทาให้อากาศดี กลายเป็นอากาศเสีย พืชสีเขียว
สามารถเปลี่ยนอากาศเสียนี้ให้กลับมาเป็นอากาศดีได้
2. การหายใจของสัตว์(หนู)เป็นการทาให้อากาศดีกลายเป็นอากาศเสีย สละพืชสี
เขียวสามารถเปลี่ยนอากาศเสียนี้ให้กลับมาเป็นอากาศดีได้
• พศ. 2322 แจน อิเก็น ฮูซ นายสพทย์
ชาวดัทช์ ได้ทาการทดลองคล้ายกับ
พริสต์ลีย์ สละพิสูจน์ให้เห็นว่าการ
ทดลองของ พริสต์ลีย์ จะได้ผลก็
ต่อเมื่อพืชได้รับสสง
• สรุปผลการทดลอง การที่พืชจะเปลี่ยนอากาศเสีย เป็นอากาศดีได้นั้น
พืชต้องใช้สสงด้วย
• ต่อมาความรู้ทางเคมีเพิ่มขึ้นจนทาให้ทราบว่า อากาศเสียคือ สก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์(CO2) สละอากาศดีคือ สก๊สออกซิเจน (O2)
• นอกจากได้สก๊สออกซิเจนสล้ว ยังได้สารอินทรีย์บางชนิดด้วย
จากสนวคิดของ ฮูซ จะเห็นว่าการเจริญเติบโตของพืชทาให้พืชมี
น้าหนักเพิ่มขึ้น เป็นผลมาจากการสังเคราะห์สารอินทรีย์น้าหนักของพืช
ที่เพิ่มขึ้นมาจากสก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่พืชนาเข้าไปนั่นเอง
• ปี พ.ศ. 2347 นิโคลาส ธีโอดอร์ เดอ
โซซูร์(Nicolas Theodore de Soussure)
ได้ศึกษาทดลองพบว่า พืชมีการดูดสก๊ส
คาร์ บอนไดออกไซด์ไปใช้ใน
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยสสงซึ่ง
สอดคล้องกับการศึกษาของฮูซที่กล่าว
ว่า พืชได้รับธาตุคาร์บอนมาจากสก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อเปลี่ยนให้อยู่
ในรูปของสารอินทรีย์สละยังปล่อยสก๊ส
ออกซิเจนออกมาสู่บรรยากาศในช่วงที่
พืชได้รับสสง
การทดลองของ นิโคลาส ธีโอดอร์ เดอ โซซูร์
• เดอ โซซูร์ ยังทดลองให้เห็นว่า น้าหนักของพืชที่เพิ่มขึ้นมากกว่าน้าหนัก
ของสก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่พืชได้รับ เขาจึงสันนิษฐานว่า น้าหนัก
ของพืชที่เพิ่มขึ้นบางส่วนเป็นน้าหนักของน้าที่พืชได้รับ
• ปี พ.ศ. 2473 แวน นีล (Van Niel)
ท ด ล อ ง เ ลี้ ย ง ส บ ค ที เ รี ย ที่
สังเคราะห์ด้วยสสงโดยไม่ใช้น้า
สต่ใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์สทน
พบว่า ผลที่ได้จากการสังเคราะห์
ด้วยสสงสทนที่ จะได้สก๊ส
ออกซิเจนกลับได้สก๊สซัลเฟอร์
ขึ้นสทน
สผนภาพการทดลองของ สวน นีล
• ค.ศ.1941 แซม รูเบน และ มาร์ติน คาเมน
(Sam Ruben และ Martin Kamen) ทาการ
ทดลองเพื่อพิสูจน์ให้เห็นว่า O2ที่ได้จากการ
สังเคราะห์ด้วยสสงมาจากน้า โดยได้นา
สาหร่ายสีเขียวในปริมาณที่เท่าๆกัน ใส่ลง
ไปในขวดสก้ว 2 ใบคือ ก. สละ ข. สล้วใส่
น้าสละคาร์บอนไดออกไซด์ลงไปในขวดทั้ง
2 ดังนี้ขวด ก. ใส่ H2O ซึ่งประกอบด้วย
ออกซิเจนซึ่งเป็นสารกัมมันตภาพรังสี คือ
18O สต่ CO2 ซึ่งมี O2 ธรรมดา ขวด ข. ใส่
CO2 ที่ประกอบด้วย 18O สต่ใส่ H2O ที่มี O2
ธรรมดาตั้งขวดทั้ง 2 ใบให้ได้รับสสง
สาหร่ายจะสังเคราะห์ด้วยสสง เกิด O2 ขึ้น
นา O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยสสงสล้ว
มาทดสอบพบว่า
การทดลองของ รูเบน สละ คาเมน
• ขวด ก. O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยสสงเป็น 18O
• ขวด ข. O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยสสงเป็น O2 ธรรมดา
สรุปผลการทดลองได้ว่า… O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยสสงมา
จากโมเลกุลของน้า
• ค.ศ. 1973 โรบิน ฮิลล์ (Robin Hill) ได้ทา
การทดลองผ่านสสงเข้าไปในของผสมซึ่งมี
คลอโรพลาสต์ที่สกัดออกมาจากใบพืชพวก
ผักโขม สละมีเกลือเฟอริกอยู่ด้วยปรากฏว่า
เกลือเฟอริกเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัส สละมี
O2เกิดขึ้นสต่ถ้าผ่านสสงเข้าไปในคลอโรพ
ลาสต์ที่ไม่มีเกลือเฟอริกอยู่ด้วยจะไม่มี
ออกซิเจนเกิดขึ้น ดังนั้นการที่เกลือเฟอริก
จะเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัสได้ก็ต่อเมื่อได้รับ
ไฮโดรเจน จากปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในการ
ทดลองนี้สสดงว่าเกลือเฟอริกต้องได้รับ
ไฮโดรเจน ขณะเดียวกันมี O2 ในปฏิกิริยา
ด้วย เกลือเฟอริกจึงทาหน้าที่เป็นตัวรับ
ไฮโดรเจน
• ในปี พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) แดเนียล
อาร์นอน (Daniel Arnon ) ได้ศึกษา
รายละเอียดเกี่ยวกับการทดลองของฮิลล์
อาร์นอนคิดว่าถ้าให้สาร บางอย่าง เช่น
ADP หมู่ฟอสเฟต (Pi) NADP+ สละ
CO2 ลงไปในคลอโรพลาสต์ที่สกัดมา
ได้ สล้วให้สสงจะมีปฏิกิริ ยาการ
สังเคราะห์ด้วยสสงจนได้น้าตาลเกิดขึ้น
การทดลองที่ 1 ของ อาร์นอน
• อาร์นอนได้ทาการทดลองโดยให้ปัจจัย
ต่างๆ สก่คลอโรพลาสต์ยกเว้น CO2 สละ
NADP+ พบว่าเกิด ATP อย่างเดียวเท่านั้น
ดังสมการ
• จากการทดลองนี้สสดงว่าคลอโรพลาสต์ที่
ได้รับสสงจะสามารถสร้าง ATP ได้เพียง
อย่างเดียวหรือสร้างทั้ง ATP NADPH+ H+
สละ O2 ก็ได้ ขึ้นอยู่กับว่าคลอโรพลาสต์
นั้นจะได้รับ ADP สละ Pi เท่านั้น หรือทั้ง
NADP+ ADP สละ Pi
• อาจสรุปได้ว่า พืชจะให้ NADPH+ H+ สละ
O2 เมื่อได้รับ NADP+
การทดลองที่ 2 ของ อาร์นอน
• อาร์นอนได้ทาการทดลองใหม่ โดย
เติมสก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ATP
สละ NADPH+ H+ลงไปในสารละลาย
ของคลอโรพลาสต์ที่สกัดออกมาจาก
เซลล์สต่ ไม่ให้สสงสว่าง ผลปรากฏ
ว่ามีน้าตาลเกิดขึ้น สสดงว่าปัจจัยใน
การสังเคราะห์ คือ ATP สละ
NADPH+ H+ ไม่ใช่สสง

More Related Content

What's hot

การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดNapaphat Bassnowy
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3oraneehussem
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนWuttipong Tubkrathok
 

What's hot (20)

การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 

การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

  • 2. • ในปี ค.ศ. 1648 ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์ (J.B. Van Helmomt) นักวิทยาศาสตร์ชาวเบล เยี่ยม ได้ทดลองปลูกต้นหลิวหนัก 5 ปอนด์ใน ถังใบใหญ่ที่บรรจุดินซึ่งทาให้สห้งสนิทหนัก 200 ปอนด์ สล้วปิดฝาถัง ระหว่างทาการทดลอง ได้รดน้าต้นหลิวที่ปลูกไว้ทุกๆวัน ด้วยน้าฝน หรือน้ากลั่นเป็นระยะเวลา 5 ปีต้นหลิวเจริญขึ้น หนักเป็ น 169ปอนด์ 3 ออนซ์ (ไม่ได้รวม น้าหนักของใบซึ่งร่วงไปในสต่ละปี) สละเมื่อนา ดินในถังมาทาให้สห้งสล้วนาไปชั่ง ปรากฏว่ามี น้าหนักน้อยกว่าดินที่ใช้ก่อนทาการทดลองเพียง 2 ออนซ์เท่านั้น
  • 3. การทดลองของ สวน เฮลมองท์ แวน เฮลมองท์ ได้ปิดกระถางที่ปลูกต้นหลิวด้วย เพื่อป้ องกันการสูญหายของดินใน กระถาง สละจากการทดลองพบว่า น้าหนักของดินลดลงน้อยมาก เขาจึงสรุปว่า น้าเป็น สาเหตุที่ทาให้พืชเจริญเติบโตเพียงอย่างเดียว โดยเขาลืมไปว่าพืชยังมีสิ่งสวดล้อมอื่น นอกจากดินน้าคือ อากาศ สสง อุณหภูมิ ซึ่งมีความสาคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่นเดียวกัน การที่เขาใช้น้ากลั่นหรือน้าฝนรดต้นหลิวก็เพื่อสสดงให้เห็นว่าน้าที่ใช้นั้นไม่มี สารต่างๆเจือปนอยู่ด้วย เพื่อป้ องกันไม่ให้น้าหนักของดินเปลี่ยนสปลง เนื่องมาจากน้าที่ใช้ รดต้นหลิวมีสารหรือพวกสร่ธาตุปนอยู่ สละเป็นการสสดงให้เห็นด้วยว่าน้าเท่านั้นที่ทาให้ พืชเจริญเติบโต
  • 4. • ในปี ค.ศ. 1772โจเซฟ พริสท์ลีย์ (Joseph Priestley) นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษกล่าวได้ว่า…“การหายใจ การเน่าเปื่อยสละการตายของสัตว์ทา ให้อากาศเสีย สต่พืชจะทาให้อากาศ เสียนั้นบริสุทธิ์ขึ้นสละมีประโยชน์ ต่อการดารงชีวิต”
  • 5. การทดลองที่ 1 ของ โจเซฟ พริสต์ลีย์ เขาได้ทาการทดลองโดย 1. จุดเทียนไขไว้ในครอบสก้ว สักครู่ เทียนไขก็ดับ 2. ใส่หนูเข้าไปในครอบสก้ว สักครู่หนู ก็ตาย 3. จุดเทียนไขใส่ในครอบสก้วที่หนูตาย พบว่าเทียนไขดับทันที
  • 6. การทดลองที่ 2 ของ โจเซฟ พริสต์ลีย์ 4. ใส่พืชสีเขียวเข้าไปในครอบสก้วที่เคย จุดเทียนไขซึ่งดับสล้วสละปล่อยไว้ 10 วัน พบว่าเมื่อจุดเทียนไขใหม่ เทียนไขจะลุกไหม้อยู่ได้ระยะหนึ่ง โดยไม่ดับทันที 5. เอาหนูที่ตายออกจากครอบสก้วสล้ว พืชสีเขียวเข้าไปในครอบสก้วปล่อย ไว้10 วัน ใส่หนูเข้าไปใหม่พบว่าหนู ไม่ตาย
  • 7. การทดลองที่ 2 ของ โจเซฟ พริสต์ลีย์ 6. สบ่งอากาศจากครอบสก้วที่จุดเทียนไขสละปล่อยให้ดับสล้วออกเป็น2 ส่วน ส่วนที่ 1. ใส่พืชสีเขียว สละปล่อยไว้ระยะหนึ่งจุดเทียนไขใส่ใหม่พบว่าเทียนไขไม่ ดับ หรือถ้าใส่หนู หนูจะไม่ตาย ส่วนที่ 2. ปล่อยอากาศไว้ในครอบสก้วเฉยๆ สละปล่อยไว้ระยะหนึ่งเช่นกัน เมื่อจุด เทียนไข เทียนไขจะดับทันที หรือถ้าใส่หนู หนูจะตาย จากการทดลองนี้ พริสต์ลีย์ สรุปว่า 1. การลุกไหม้(เทียนไข)เป็นการทาให้อากาศดี กลายเป็นอากาศเสีย พืชสีเขียว สามารถเปลี่ยนอากาศเสียนี้ให้กลับมาเป็นอากาศดีได้ 2. การหายใจของสัตว์(หนู)เป็นการทาให้อากาศดีกลายเป็นอากาศเสีย สละพืชสี เขียวสามารถเปลี่ยนอากาศเสียนี้ให้กลับมาเป็นอากาศดีได้
  • 8. • พศ. 2322 แจน อิเก็น ฮูซ นายสพทย์ ชาวดัทช์ ได้ทาการทดลองคล้ายกับ พริสต์ลีย์ สละพิสูจน์ให้เห็นว่าการ ทดลองของ พริสต์ลีย์ จะได้ผลก็ ต่อเมื่อพืชได้รับสสง
  • 9. • สรุปผลการทดลอง การที่พืชจะเปลี่ยนอากาศเสีย เป็นอากาศดีได้นั้น พืชต้องใช้สสงด้วย • ต่อมาความรู้ทางเคมีเพิ่มขึ้นจนทาให้ทราบว่า อากาศเสียคือ สก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์(CO2) สละอากาศดีคือ สก๊สออกซิเจน (O2) • นอกจากได้สก๊สออกซิเจนสล้ว ยังได้สารอินทรีย์บางชนิดด้วย จากสนวคิดของ ฮูซ จะเห็นว่าการเจริญเติบโตของพืชทาให้พืชมี น้าหนักเพิ่มขึ้น เป็นผลมาจากการสังเคราะห์สารอินทรีย์น้าหนักของพืช ที่เพิ่มขึ้นมาจากสก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่พืชนาเข้าไปนั่นเอง
  • 10. • ปี พ.ศ. 2347 นิโคลาส ธีโอดอร์ เดอ โซซูร์(Nicolas Theodore de Soussure) ได้ศึกษาทดลองพบว่า พืชมีการดูดสก๊ส คาร์ บอนไดออกไซด์ไปใช้ใน กระบวนการสังเคราะห์ด้วยสสงซึ่ง สอดคล้องกับการศึกษาของฮูซที่กล่าว ว่า พืชได้รับธาตุคาร์บอนมาจากสก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อเปลี่ยนให้อยู่ ในรูปของสารอินทรีย์สละยังปล่อยสก๊ส ออกซิเจนออกมาสู่บรรยากาศในช่วงที่ พืชได้รับสสง
  • 11. การทดลองของ นิโคลาส ธีโอดอร์ เดอ โซซูร์ • เดอ โซซูร์ ยังทดลองให้เห็นว่า น้าหนักของพืชที่เพิ่มขึ้นมากกว่าน้าหนัก ของสก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่พืชได้รับ เขาจึงสันนิษฐานว่า น้าหนัก ของพืชที่เพิ่มขึ้นบางส่วนเป็นน้าหนักของน้าที่พืชได้รับ
  • 12. • ปี พ.ศ. 2473 แวน นีล (Van Niel) ท ด ล อ ง เ ลี้ ย ง ส บ ค ที เ รี ย ที่ สังเคราะห์ด้วยสสงโดยไม่ใช้น้า สต่ใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์สทน พบว่า ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ ด้วยสสงสทนที่ จะได้สก๊ส ออกซิเจนกลับได้สก๊สซัลเฟอร์ ขึ้นสทน
  • 14. • ค.ศ.1941 แซม รูเบน และ มาร์ติน คาเมน (Sam Ruben และ Martin Kamen) ทาการ ทดลองเพื่อพิสูจน์ให้เห็นว่า O2ที่ได้จากการ สังเคราะห์ด้วยสสงมาจากน้า โดยได้นา สาหร่ายสีเขียวในปริมาณที่เท่าๆกัน ใส่ลง ไปในขวดสก้ว 2 ใบคือ ก. สละ ข. สล้วใส่ น้าสละคาร์บอนไดออกไซด์ลงไปในขวดทั้ง 2 ดังนี้ขวด ก. ใส่ H2O ซึ่งประกอบด้วย ออกซิเจนซึ่งเป็นสารกัมมันตภาพรังสี คือ 18O สต่ CO2 ซึ่งมี O2 ธรรมดา ขวด ข. ใส่ CO2 ที่ประกอบด้วย 18O สต่ใส่ H2O ที่มี O2 ธรรมดาตั้งขวดทั้ง 2 ใบให้ได้รับสสง สาหร่ายจะสังเคราะห์ด้วยสสง เกิด O2 ขึ้น นา O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยสสงสล้ว มาทดสอบพบว่า
  • 15. การทดลองของ รูเบน สละ คาเมน • ขวด ก. O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยสสงเป็น 18O • ขวด ข. O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยสสงเป็น O2 ธรรมดา สรุปผลการทดลองได้ว่า… O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยสสงมา จากโมเลกุลของน้า
  • 16. • ค.ศ. 1973 โรบิน ฮิลล์ (Robin Hill) ได้ทา การทดลองผ่านสสงเข้าไปในของผสมซึ่งมี คลอโรพลาสต์ที่สกัดออกมาจากใบพืชพวก ผักโขม สละมีเกลือเฟอริกอยู่ด้วยปรากฏว่า เกลือเฟอริกเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัส สละมี O2เกิดขึ้นสต่ถ้าผ่านสสงเข้าไปในคลอโรพ ลาสต์ที่ไม่มีเกลือเฟอริกอยู่ด้วยจะไม่มี ออกซิเจนเกิดขึ้น ดังนั้นการที่เกลือเฟอริก จะเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัสได้ก็ต่อเมื่อได้รับ ไฮโดรเจน จากปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในการ ทดลองนี้สสดงว่าเกลือเฟอริกต้องได้รับ ไฮโดรเจน ขณะเดียวกันมี O2 ในปฏิกิริยา ด้วย เกลือเฟอริกจึงทาหน้าที่เป็นตัวรับ ไฮโดรเจน
  • 17. • ในปี พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) แดเนียล อาร์นอน (Daniel Arnon ) ได้ศึกษา รายละเอียดเกี่ยวกับการทดลองของฮิลล์ อาร์นอนคิดว่าถ้าให้สาร บางอย่าง เช่น ADP หมู่ฟอสเฟต (Pi) NADP+ สละ CO2 ลงไปในคลอโรพลาสต์ที่สกัดมา ได้ สล้วให้สสงจะมีปฏิกิริ ยาการ สังเคราะห์ด้วยสสงจนได้น้าตาลเกิดขึ้น
  • 18. การทดลองที่ 1 ของ อาร์นอน • อาร์นอนได้ทาการทดลองโดยให้ปัจจัย ต่างๆ สก่คลอโรพลาสต์ยกเว้น CO2 สละ NADP+ พบว่าเกิด ATP อย่างเดียวเท่านั้น ดังสมการ • จากการทดลองนี้สสดงว่าคลอโรพลาสต์ที่ ได้รับสสงจะสามารถสร้าง ATP ได้เพียง อย่างเดียวหรือสร้างทั้ง ATP NADPH+ H+ สละ O2 ก็ได้ ขึ้นอยู่กับว่าคลอโรพลาสต์ นั้นจะได้รับ ADP สละ Pi เท่านั้น หรือทั้ง NADP+ ADP สละ Pi • อาจสรุปได้ว่า พืชจะให้ NADPH+ H+ สละ O2 เมื่อได้รับ NADP+
  • 19. การทดลองที่ 2 ของ อาร์นอน • อาร์นอนได้ทาการทดลองใหม่ โดย เติมสก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ATP สละ NADPH+ H+ลงไปในสารละลาย ของคลอโรพลาสต์ที่สกัดออกมาจาก เซลล์สต่ ไม่ให้สสงสว่าง ผลปรากฏ ว่ามีน้าตาลเกิดขึ้น สสดงว่าปัจจัยใน การสังเคราะห์ คือ ATP สละ NADPH+ H+ ไม่ใช่สสง