SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 1
คำชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 15 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวเท่านั้นแล้วทาเครื่องหมาย X
ลงในกระดาษคาตอบ
*************************************************************************************************
1. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง
ก. ฟังก์ชันเชิงเส้นเขียนในรูป f(x) = ax + b
ข. ฟังก์ชันเชิงเส้นมีกราฟอยู่ในรูปเส้นตรง
ค. ฟังก์ชัน y = ax + b เรียก b ว่าความชัน
ง. ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = b เรียกว่า ฟังก์ชันคงตัว
2. จุด (1, 2) อยู่บนกราฟของฟังก์ชันในข้อใด
ก. y = x – 1 ข. y = x + 1
ค. y = x – 2 ง. y = x + 2
3. ข้อใดคือจุดตัดแกน Y ของฟังก์ชัน y = 2x +9
ก. จุด (0, 9) ข. จุด (9, 0)
ค. จุด (0, –9) ง. จุด (–9, 0)
4. ฟังก์ชันในข้อใดขนานกัน
ก. y1 = 2 กับ y2 = x ข. y1 = –x + 1 กับ y2 = x + 1
ค. y1 = 5x + 2 กับ y2 = 5x – 2 ง. y1 = 3 – x กับ y2 = –3 + x
5. จากกราฟที่กาหนดให้ คือกราฟของฟังก์ชันในข้อใด
ก. y = 2x + 6
ข. y = 6x – 3
ค. y = 3x – 6
ง. y = –3x + 6
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ฟังก์ชันเชิงเส้น
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 2
6. ฟังก์ชันเชิงเส้นที่กาหนดให้ไว้ในข้อใดที่เมื่อนาไปเขียนกราฟแล้ว กราฟจะตัดแกน X ที่จุด (–2, 0)
และตัดแกน Y ที่จุด (0, 3)
ก. 2y = 3x – 6 ข. 2y = –3x – 6
ค. –2y = –3x + 6 ง. 2y = 3x + 6
7. จากฟังก์ชัน y = 6 …….(l1)
x + 3y = 17 …….(l2)
เขียนกราฟได้ตามข้อใด
ก. ข.
ค. ง.
8. ร้านค้าขายเสื้อบาติกชิ้นละ 200 บาท โดยมีต้นทุนผลิตคงที่ 5,000 บาท ถ้าขายสินค้าได้ 45 ชิ้น
จะได้กาไรกี่บาท
ก. 2,000 บาท ข. 2,500 บาท
ค. 4,000 บาท ง. 4,500 บาท
Y
X
0
(0,3)
(6,0)
(6,1)
X
Y
0
(17,0)
(0,6)(-1,6)
Y
X 0
(0,3)
(-6,0)
(-6,1)
X
Y
0 (17,0)
(0,-6) (-6,1)
l1
l2
l2
l1
l2
l1
l2
l1
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 3
9. ยอดขายสินค้าใหม่ของบริษัทอยู่ที่ 15,000 ชิ้น/ปี ในปีแรก ถ้าบริษัทต้องการยอดขาย
สินค้าเพิ่มขึ้นปีละ 20% ของยอดขายในปีแรก ข้อใดคือสมการแทนยอดขายสินค้าของแต่ละปี
ก. f(x) = 15,000 + 20x ข. f(x) = 15,000 + 0.8
ค. f(x) = 15,000x + 0.2 ง. f(x) = 15,000x + 3,000x
10. บริษัทเดินรถแห่งหนึ่งจ่ายค่าแรงให้พนักงานเก็บเงิน ดังนี้ จ่ายค่าแรงวันละ 300 บาท และจะ
จ่ายเพิ่มให้อีก 0.05 ของรายได้ที่เก็บได้จากค่าโดยสาร ถ้าวันนี้พนักงานเก็บเงินค่าโดยสารได้ 4,500
บาท พนักงานผู้นี้จะมีรายได้วันนี้กี่บาท
ก. 475 บาท ข. 525 บาท
ค. 575 บาท ง. 625 บาท
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 4
ชื่อ..................................................................................... ชั้น....................... เลขที่...................
คาชี้แจง ให้เลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ
ข้อที่ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
10
กระดำษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 5
ฟังก์ชันเชิงเส้น คือ ฟังก์ชันซึ่งเขียนในรูป y = ax + b เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง ฟังก์ชัน
เชิงเส้นเมื่อนามาเขียนกราฟจะได้กราฟเป็นเส้นตรง สามารถแบ่งฟังก์ชันเชิงเส้นเป็น 2 ประเภท คือ
1. ฟังก์ชันเชิงเส้น ซึ่ง a 0 เมื่อเขียนกรำฟจะได้กรำฟเป็นเส้นตรงซึ่งไม่ขนำนกับแกน X
เช่น
(1) y = x
(2) y = 2x + 1
y = x
y = 2x + 1
ใบควำมรู้ที่ 1
ฟังก์ชันเชิงเส้น (Linear function)
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 6
(3) y = –3x
2. ฟังก์ชันเชิงเส้น ซึ่ง เมื่อ a = 0 จะได้ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = b ซึ่งมีชื่อเรียกว่ำ ฟังก์ชันคงตัว
(Constant function) กรำฟของฟังก์ชันคงตัวจะเป็นเส้นตรงที่ขนำนกับแกน X
เช่น y1 = 5 , y2 = –5
y = –3x
y1 = 5
y2 = –5
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 7
ตัวอย่ำงที่ 1 จงเขียนกราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นต่อไปนี้บนระนาบเดียวกัน
1) y1 = x, y2 = 2x, y3 = 5x
2) y1 = x, y2 =
1
x2 , y3 =
1
x5
3) y1 = x, y2 = –x
วิธีทำ 1) y1 = x, y2 = 2x, y3 = 5x
2) y1 = x, y2 =
1
x2 , y3 =
1
x5
3y
2y
1y
3y
2y
1y
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 8
3) y1 = x, y2 = –x
จากกราฟข้างต้น จะเห็นว่า
1) เมื่อ a หรือ สัมประสิทธ์ของ x มีค่ามากขึ้น กราฟจะเบนเข้าหาแกน Y
2) เมื่อ a หรือ สัมประสิทธ์ของ x มีค่าน้อยลง กราฟจะเบนเข้าหาแกน X
3) y1 = x และ y2 = –x มีแกน Y และแกน X เป็นแกนสมมาตร
- กาหนดค่า x
- แก้สมการหาค่า y
- พิกัดของจุดที่กราฟผ่าน คือ จุด (x, y)
ตัวอย่ำงที่ 2 จงหาพิกัดของจุดที่กราฟของ y = –x + 5 ผ่าน 3 จุด
วิธีทำ หาพิกัดของจุดที่กราฟของ y = –x + 5 ผ่าน 3 จุด ดังนี้
จุดที่ 1 ให้ x = 0 จะได้ y = –x + 5
y = –0 + 5
y = 5
จะได้พิกัด (0, 5)
2y 1y
ข้อสังเกต
กำรหำพิกัดของจุดที่กรำฟผ่ำน
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 9
จุดที่ 2 ให้ x = –2 จะได้ y = –x + 5
y = –(–2) + 5
y = 7
จะได้พิกัด (–2, 7)
จุดที่ 3 ให้ x = 2 จะได้ y = –x + 5
y = –2 + 5
y = 3
จะได้พิกัด (2, 3)
ดังนั้น พิกัดของจุดที่กราฟผ่าน คือ (0, 5), (–2, 7), (2, 3)
ตัวอย่ำงที่ 3 จงหาว่าจุด (1, 5) ผ่านกราฟของฟังก์ชัน y = 2x + 3 หรือไม่
วิธีทำ จาก y = 2x + 3
หาค่า y เมื่อ x = 2 จะได้ y = 2(2) + 3
y = 7
แสดงว่า จุด (2, 7) ผ่านกราฟของ y
นายทาได้ไหม? ทาได้สิง่ายนิดเดียว
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 10
1. จงเขียนกรำฟของฟังก์ชันเชิงเส้นต่อไปนี้บนระนำบเดียวกัน
1.1 y1 = 2x, y2 = 2x + 2, y3 = 2x – 2
1.2 y1 = 3, y2 = –x + 1, y3 = –4 + x
X
Y
X
Y
แบบฝึกทักษะที่ 1
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 11
2. จงหำพิกัดของจุด 2 จุดซึ่งกรำฟต่อไปนี้ผ่ำน
2.1 y = –x – 3 2.2 y = 5x
2.3 y = 4x – 7 2.4 y = 9
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 12
3. จงพิสูจน์ว่ำจุดที่กำหนดให้ต่อไปนี้เป็นจุดที่กรำฟของฟังก์ชันเชิงเส้นผ่ำนหรือไม่
3.1 จุด (0, 3) และ y = x – 3
3.2 จุด (5, 30) และ y = 6x
3.3 จุด (–2, –2) และ y =
1
x 32 
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 13
กำรหำจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y
พิจารณากราฟต่อไปนี้
จุดตัดแกน X ของฟังก์ชันเชิงเส้นใดๆ คือ จุด (x, 0) ส่วนจุดตัดแกน Y ของฟังก์ชันเชิงเส้นใดๆ คือ
จุด (0, y)
การหาจุดตัดแกน X มีขั้นตอนดังนี้
1. กาหนดให้ y = 0
2. แก้สมการหาค่า x
3. จุดตัดแกน X คือ จุด (x, 0)
การหาจุดตัดแกน Y มีขั้นตอนดังนี้
1. กาหนดให้ x = 0
2. แก้สมการหาค่า y
3. จุดตัดแกน Y คือ จุด (0, y)
y = x + 3
(0, 3)
(-3, 0)
ใบควำมรู้ที่ 2
กำรหำจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 14
ตัวอย่ำงที่ 4 จงหาจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y ของฟังก์ชันที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1) y = 2x + 6
2) y = 7 – x
วิธีทำ
1) y = 2x + 6
หาจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y ได้ดังนี้
- หาจุดตัดแกน X ให้ y = 0
y = 2x + 6
0 = 2x + 6
x = –3
- หาจุดตัดแกน Y ให้ x = 0
y = 2x + 6
y = 2(0) + 6
y = 6
ดังนั้น จุดตัดแกน X คือจุด (–3, 0) และจุดตัดแกน Y คือจุด (0, 6)
2) y = 7 – x
หาจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y ได้ดังนี้
- หาจุดตัดแกน X ให้ y = 0
y = 7 – x
0 = 7 – x
x = 7
- หาจุดตัดแกน Y ให้ x = 0
y = 7 – x
y = 7 – 0
y = 7
ดังนั้น จุดตัดแกน X คือจุด (7, 0) และจุดตัดแกน Y คือจุด (0, 7)
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 15
ตัวอย่ำงที่ 5 จงเขียนกราฟของฟังก์ชันที่กาหนดให้ต่อไปนี้บนระนาบเดียวกัน
1) y1 = 2x + 2
2) y2 = –2x + 2
3) y3 = 3x + 3
4) y4 = –2x + 4
วิธีทำ จาก y1 = 2x + 2, y2 = – 2x + 2, y3 = 3x + 3 และ y4 = –2x + 4 จะได้
เขียนกราฟของ y1 = 2x + 2 , y2 = –2x + 2 , y3 = 3x + 3 และ y4 = –2x + 4 ได้ดังนี้
x 0 – 1
y1 2 0
และ
x 0 – 1
y3 3 0
x 0 1
y2 2 0
x 0 2
y4 4 0
1 2– 1 3 4– 2– 4 – 3
1
2
3
4
5
6
7
0
– 1
– 2
y1
y2
y3
y4
Y
X
ไม่ยากเลยใช่มั้ยคะเด็กๆ
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 16
ฟังก์ชันเชิงเส้นสำมำรถนำไปใช้ในกำรแก้โจทย์ปัญหำสมกำร 2 ตัวแปรได้
ตัวอย่ำงที่ 6 ค่าขนส่งสินค้าจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดหรืออยู่เขตชายแดนภาคใต้เท่ากับค่าขนส่งเบื้องต้น
200 บาท บวกด้วยค่าขนส่งที่คิดตามน้าหนักสินค้ากิโลกรัมละ 7 บาท
(1) จงเขียนฟังก์ชันแทนค่าขนส่งสินค้าจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดที่อยู่เขตชายแดนภาคใต้
(2) ถ้าส่งสินค้าที่มีน้าหนัก 7.5 กิโลกรัม จะต้องจ่ายเงินกี่บาท
วิธีทำ (1) กาหนดให้ x แทนน้าหนักของสินค้า
f(x) แทนค่าขนส่งสินค้าจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดที่อยู่เขตชายแดนภาคใต้
จะได้ f(x) = 200 + 7x
(2) ถ้าส่งสินค้าที่มีน้าหนัก 7.5 กิโลกรัม จะต้องจ่ายเงินเท่ากับ f(7.5)
จาก f(x) = 200 + 7x
f(7.5) = 200 + 7(7.5)
= 252.50
ดังนั้น ถ้าส่งสินค้าที่มีน้าหนัก 7.5 กิโลกรัม จะต้องจ่ายเงินเท่ากับ 252.50 บาท
ตัวอย่ำงที่ 7 ครูให้นักเรียนทาแปลงเกษตร โดยกาหนดให้ด้านยาวยาวกว่า 80% ของด้านกว้างอยู่ 1.2 เมตร
ตอบคาถามต่อไปนี้
(1) จงเขียนฟังก์ชันเชิงเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างด้านยาวและด้านกว้าง
(2) ถ้าแปลงเกษตรกว้าง 0.6 เมตร จะมีความยาวเท่าไร
วิธีทำ (1) กาหนดให้ x แทนด้านกว้าง
y แทนด้านยาว
จะได้ y =
80
x100 + 1.2
(2) แปลงเกษตรกว้าง 0.6 เมตร แทน x = 0.6 จะได้
y =
80
100 (0.6) + 1.2
= 1.68
ดังนั้น ถ้าแปลงเกษตรกว้าง 0.6 เมตร จะมีความยาว 1.68 เมตร
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 17
1. จงหำจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y ของฟังก์ชันเชิงเส้นต่อไปนี้
1.1 y = 4 + 3x
1.2 y = –x – 3
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………
……………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบฝึกทักษะที่ 2
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 18
1.3 y =
2
3 x + 1
2.1 จงเขียนฟังก์ชันเชิงเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกาไรและจานวนสินค้า
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………
……………………………………………………………
2. ร้ำนค้ำขำยสินค้ำชิ้นละ 100 บำทโดยมีต้นทุนกำรผลิตคงที่คือ 1,500 ตอบคำถำมต่อไปนี้
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 19
2.2 ถ้าร้านค้าขายสินค้า 20 ชิ้นได้กาไรเท่าไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.3 ถ้าร้านค้าได้กาไร 1,500 บาท เมื่อขายสินค้ากี่ชิ้น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 20
3.1 จงเขียนฟังก์ชันเชิงเส้นแสดงรายได้ของพนักงานในแต่ละเดือน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.2 ถ้าพนักงานมีรายได้ 12,500 บาท พนักงานคนนี้มียอดขายสินค้ากี่บาท
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.3 ถ้าพนักงานขายสินค้าได้ 35,000 บาท พนักงานคนนี้มีรายได้กี่บาท
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ห้ำงสรรพสินค้ำแห่งหนึ่งจ่ำยเงินค่ำจ้ำงให้พนักงำนขำยเดือนละ 5,000 บำท รวมกับ 5%
ของยอดขำยสินค้ำ ตอบคำถำมต่อไปนี้
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 21
คำชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 15 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวเท่านั้นแล้วทาเครื่องหมาย X
ลงในกระดาษคาตอบ
**************************************************************************************************
1. จุด (1, 2) อยู่บนกราฟของฟังก์ชันในข้อใด
ก. y = x – 2 ข. y = x + 2
ค. y = x – 1 ง. y = x + 1
2. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง
ก. ฟังก์ชันเชิงเส้นมีกราฟอยู่ในรูปเส้นตรง
ข. ฟังก์ชัน y = ax + b เรียก b ว่าความชัน
ค. ฟังก์ชันเชิงเส้นเขียนในรูป f(x) = ax + b
ง. ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = b เรียกว่า ฟังก์ชันคงตัว
3. ฟังก์ชันในข้อใดขนานกัน
ก. y1 = 5x + 2 กับ y2 = 5x – 2 ข. y1 = 3 – x กับ y2 = –3 + x
ค. y1 = –x + 1 กับ y2 = x + 1 ง. y1 = 2 กับ y2 = x
4. จากกราฟที่กาหนดให้ คือกราฟของฟังก์ชันในข้อใด
ก. y = 3x – 6
ข. y = 2x + 6
ค. y = –3x + 6
ง. y = 6x – 3
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ฟังก์ชันเชิงเส้น
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 22
5. ข้อใดคือจุดตัดแกน Y ของฟังก์ชัน y = 2x + 9
ก. จุด (0, –9) ข. จุด (–9, 0)
ค. จุด (0, 9) ง. จุด (9, 0)
6. จากฟังก์ชัน y = 6 ……. (l1)
x + 3y = 17 ……. (l2)
เขียนกราฟได้ตามข้อใด
ก. ข.
ค. ง.
7. ฟังก์ชันเชิงเส้นที่กาหนดให้ไว้ในข้อใดที่เมื่อนาไปเขียนกราฟแล้ว กราฟจะตัดแกน X ที่จุด (–2, 0)
และตัดแกน Y ที่จุด (0, 3)
ก. 2y = –3x – 6 ข. 2y = 3x – 6
ค. 2y = –3x + 6 ง. 2y = 3x + 6
Y
X0
(0,3)
(6,0)
(6,1)
X
Y
0
(17,0)
(0,6)(-1,6)
Y
X 0
(0,3)
(-6,0)
(-6,1)X
Y
0 (17,0)
(0,-6) (-6,1)
l1
l2
l2
l1
l2
l1
l2
l1
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 23
8. ยอดขายสินค้าใหม่ของบริษัทอยู่ที่ 15,000 ชิ้น/ปี ในปีแรก ถ้าบริษัทต้องการยอดขาย
สินค้าเพิ่มขึ้นปีละ 20% ของยอดขายในปีแรก ข้อใดคือสมการแทนยอดขายสินค้าของแต่ละปี
ก. f(x) = 15,000x + 3,000x ข. f(x) = 15,000x + 0.2
ค. f(x) = 15,000 + 20x ง. f(x) = 15,000 + 0.8
9. บริษัทเดินรถแห่งหนึ่งจ่ายค่าแรงให้พนักงานเก็บเงิน ดังนี้ จ่ายค่าแรงวันละ 300 บาท และจะจ่าย
เพิ่มให้อีก 0.05 ของรายได้ที่เก็บได้จากค่าโดยสาร ถ้าวันนี้พนักงานเก็บเงินค่าโดยสารได้ 4,500 บาท
พนักงานผู้นี้จะมีรายได้วันนี้กี่บาท
ก. 625 บาท ข. 575 บาท
ค. 525 บาท ง. 475 บาท
10. ร้านค้าขายเสื้อบาติกชิ้นละ 200 บาท โดยมีต้นทุนผลิตคงที่ 5,000 บาท ถ้าขายสินค้าได้
45 ชิ้น จะได้กาไรกี่บาท
ก. 2,500 บาท ข. 2,000 บาท
ค. 4,500 บาท ง. 4,000 บาท
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 24
ชื่อ..................................................................................... ชั้น....................... เลขที่...................
คาชี้แจง ให้เลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ
ข้อที่ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
10
กระดำษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 25
ข้อที่
ก ข ค ง
1 X
2 X
3 X
4 X
5 X
6 X
7 X
8 X
9 X
10 X
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
ไม่ยากอย่างที่คิดใช่ไหมล่ะ?
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 26
1. จงเขียนกรำฟของฟังก์ชันเชิงเส้นต่อไปนี้บนระนำบเดียวกัน
1.1 y1 = 2x, y2 = 2x + 2, y3 = 2x – 2
1.2 y1 = 3, y2 = –x + 1, y3 = –4 + x
X
Y
X
Y
0 1 2-2 -1
-2
-4
2
4
y2
y1
y3
0 1 2 3 4 5-5 -4 -3 -2 -1
1
4
3
2
-1
-2
-3
-4
y2
y1
y3
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 27
2. จงหำพิกัดของจุด 2 จุดซึ่งกรำฟต่อไปนี้ผ่ำน
2.1 y = –x – 3 2.2 y = 5x
2.3 y = 4x – 7 2.4 y = 9
จุดที่ 1 ให้ x = 0 จะได้
y = –x – 3
= –0 – 3
= –3
จุดที่ 2 ให้ x = 1 จะได้
y = –x – 3
y = –1 + 5
y = 4
ดังนั้น พิกัดของจุดที่กราฟผ่าน คือ
(0, –3), (1, 4)
จุดที่ 1 ให้ x = 0 จะได้
y = 5x
y = 5(0)
y = 0
จุดที่ 2 ให้ x = 1 จะได้
y = 5x
y = 5(1)
y = 5
ดังนั้น พิกัดของจุดที่กราฟผ่าน คือ
(0, 0), (1, 5)
จุดที่ 1 ให้ x = 0 จะได้
y = 4x – 7
y = 4(0) – 7
y = –7
จุดที่ 2 ให้ x = 1 จะได้
y = 4x – 7
y = 4(1) – 7
y = –3
ดังนั้น พิกัดของจุดที่กราฟผ่าน คือ
(0, –7), (1, –3)
……………………………………………………………
จุดที่ 1 ให้ x = 0 จะได้
y = 9
จุดที่ 2 ให้ x = 1 จะได้
y = 9
ดังนั้น พิกัดของจุดที่กราฟผ่าน คือ
(0, 9), (1, 9)
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 28
3. จงพิสูจน์ว่ำจุดที่กำหนดให้ต่อไปนี้เป็นจุดที่กรำฟของฟังก์ชันเชิงเส้นผ่ำนหรือไม่
3.1 จุด (0, 3) และ y = x – 3
3.2 จุด (5, 30) และ y = 6x
3.3 จุด (–2, –2) และ y =
1
x2 – 3
วิธีทำ จาก y = x – 3
หาค่า y เมื่อ x = 0 จะได้ y = 0 – 3
y = –3
แสดงว่า จุด (0, –3) ไม่ผ่านกราฟของ y
วิธีทำ จาก y = 6x
หาค่า y เมื่อ x = 5 จะได้ y = 6(5)
y = 30
แสดงว่า จุด (5, 30) ผ่านกราฟของ y
วิธีทำ จาก y =
1
x2 – 3
หาค่า y เมื่อ x = –2 จะได้ y =
1
2 (–2) – 3
y = –1–3
y = –4
แสดงว่า จุด (–2, –2) ไม่ผ่านกราฟของ y
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 29
1. จงหำจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y ของฟังก์ชันเชิงเส้นต่อไปนี้
1.1 y = 4 + 3x
1.2 y = –x – 3
- หาจุดตัดแกน X ให้ y = 0
y = 4 + 3x
0 = 4 + 3x
x = –
4
3
- หาจุดตัดแกน Y ให้ x = 0
y = 4 + 3x
y = 4 + 3(0)
y = 4
ดังนั้น จุดตัดแกน X คือจุด (–
4
3 , 0) และจุดตัดแกน Y คือจุด (0, 4)
- หาจุดตัดแกน X ให้ y = 0
y = –x – 3
0 = –x – 3
x = –3
- หาจุดตัดแกน Y ให้ x = 0
y = –x – 3
y = –0 – 3
y = –3
ดังนั้น จุดตัดแกน X คือจุด (–3, 0) และจุดตัดแกน Y คือจุด (0, –3)
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 30
1.3 y =
2
3 x + 1
2.1 จงเขียนฟังก์ชันเชิงเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกาไรและจานวนสินค้า
กาหนดให้ x แทนจานวนสินค้า
f(x) แทนกาไร
จะได้ f(x) = 100x – 1,500
- หาจุดตัดแกน X ให้ y = 0
y =
2
3 x + 1
0 =
2
3 x + 1
x = –
3
2
- หาจุดตัดแกน Y ให้ x = 0
y =
2
3 x + 1
y =
2
3 (0) + 1
y = 1
ดังนั้น จุดตัดแกน X คือจุด (–
3
2 , 0) และจุดตัดแกน Y คือจุด (0, 1)
2. ร้ำนค้ำขำยสินค้ำชิ้นละ 100 บำทโดยมีต้นทุนกำรผลิตคงที่คือ 1,500 ตอบคำถำมต่อไปนี้
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 31
2.2 ถ้าร้านค้าขายสินค้า 20 ชิ้นได้กาไรเท่าไร
ถ้าร้านค้าขายสินค้า 20 ชิ้น จะได้กาไรเท่ากับ f(20)
จาก f(x) = 100x – 1,500
f(20) = 100(20) – 1,500
f(20) = 2,000 – 1,500
f(20) = 500
ดังนั้น ถ้าร้านค้าขายสินค้า 20 ชิ้น จะได้กาไร 500 บาท
2.3 ถ้าร้านค้าได้กาไร 1,500 บาท เมื่อขายสินค้ากี่ชิ้น
จาก f(x) = 100x – 1,500
1,500 = 100x – 1,500
100x = 3,000
x = 30
ดังนั้น ถ้าร้านค้าได้กาไร 1,500 บาท เมื่อขายสินค้า 30 ชิ้น
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 32
3.1 จงเขียนฟังก์ชันเชิงเส้นแสดงรายได้ของพนักงานในแต่ละเดือน
กาหนดให้ x แทนยอดขายสินค้า
f(x) แทนรายได้ที่พนักงานได้รับ
จะได้ f(x) = 5,000 + (0.05)x
3.2 ถ้าพนักงานมีรายได้ 12,500 บาท พนักงานคนนี้มียอดขายสินค้ากี่บาท
จาก f(x) = 5,000 + (0.05)x
12,500 = 5,000 + (0.05)x
(0.05)x = 7,500
(0.05) x = 150,000
ดังนั้น พนักงานคนนี้มียอดขายสินค้า 150,000 บาท
3.3 ถ้าพนักงานขายสินค้าได้ 35,000 บาท พนักงานคนนี้มีรายได้กี่บาท
ถ้าพนักงานขายสินค้าได้ 35,500 บาท พนักงานคนนี้มีรายได้เท่ากับ f(35,000)
จาก f(x) = 5,000 + (0.05)x
f(35,000) = 5,000 + (0.05)(35,000)
f(20) = 5,000 + 1,750
f(20) = 6,750
ดังนั้น พนักงานคนนี้มีรายได้ 6,750 บาท
3. ห้ำงสรรพสินค้ำแห่งหนึ่งจ่ำยเงินค่ำจ้ำงให้พนักงำนขำยเดือนละ 5,000 บำท รวมกับ 5%
ของยอดขำยสินค้ำ ตอบคำถำมต่อไปนี้
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 33
ข้อที่ ก ข ค ง
1 X
2 X
3 X
4 X
5 X
6 X
7 X
8 X
9 X
10 X
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
นัทธิณี จุฑานันท์
ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 34
กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือครูรำยวิชำเพิ่มเติม คณิตศำสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 – 6 กลุ่มสำระกำร
เรียนรู้คณิตศำสตร์ ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551. พิมพ์ครั้งที่
3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554.
. คู่มือวัดผลประเมินผลคณิตศำสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว,
2554.
. ตัวชี้วัดและสำระกำรเรียนรู้แกนกลำง กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ ตำมหลักสูตร
แกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 ก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2551 ก.
. หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2551 ข.
. หนังสือเรียนรำยวิชำเพิ่มเติม คณิตศำสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 – 6 กลุ่มสำระกำร
เรียนรู้คณิตศำสตร์ ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554.
จักรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง. Mini คณิตศำสตร์เพิ่มเติม ม.4 – 6 เล่ม 2 ตำมหลักสูตรแกนกลำง กำรศึกษำขั้น
พื้นฐำน พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ.พัฒนา จากัด, 2554.
ณรงค์ ปั้นนิ่ม. คู่มือเตรียมสอบคณิตศำสตร์พื้นฐำน ม.4 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ ภูมิบัณฑิต, 2555.
ธนวัฒน์ สนทราพรพล. คณิตศำสตร์ ช่วงชั้นที่ 4 (4–6) เล่ม 2 สำหรับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ภำคเรียนที่ 2.
กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ Science Center, ม.ป.พ.
ฝ่ายวิชาการ พีบีซี. ยอดคณิตศำสตร์ เรื่องฟังก์ชัน. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ พีบีซี จากัด, 2554.
พิพัฒน์พงศ์ ศรีวิศร. คู่มือคณิตศำสตร์พื้นฐำนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์
เดอะบุคส์ จากัด, 2553.
สมัย เหล่าวานิชย์ และพัวพรรณ เหล่าวานิชย์. Hi-ED’s Mathematics คณิตศำสตร์ ม.4-6 เล่ม 2
(รำยวิชำพื้นฐำนและเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง, 2554.
บรรณำนุกรม

More Related Content

What's hot

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงAon Narinchoti
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบMike Polsit
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนามคูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนามMath and Brain @Bangbon3
 
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfแผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfssuser639c13
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนามคูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
 
work1
work1work1
work1
 
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfแผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 

Similar to linear function

เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันkrurutsamee
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจชัชชญา ช่างเจริญ
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันkrurutsamee
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionThanuphong Ngoapm
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสkrurutsamee
 
เอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสเอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสkrurutsamee
 
ประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัสประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัสPloy Purr
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตkrurutsamee
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นkruthanapornkodnara
 
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)Jirathorn Buenglee
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรนายเค ครูกาย
 

Similar to linear function (20)

ลิมิต
ลิมิตลิมิต
ลิมิต
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
 
ปริพันธ์
ปริพันธ์ปริพันธ์
ปริพันธ์
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
Seri2
Seri2Seri2
Seri2
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
เอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสเอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัส
 
ประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัสประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัส
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิต
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
1.pdf
1.pdf1.pdf
1.pdf
 
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 

linear function

  • 1. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 1 คำชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 15 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวเท่านั้นแล้วทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ ************************************************************************************************* 1. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง ก. ฟังก์ชันเชิงเส้นเขียนในรูป f(x) = ax + b ข. ฟังก์ชันเชิงเส้นมีกราฟอยู่ในรูปเส้นตรง ค. ฟังก์ชัน y = ax + b เรียก b ว่าความชัน ง. ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = b เรียกว่า ฟังก์ชันคงตัว 2. จุด (1, 2) อยู่บนกราฟของฟังก์ชันในข้อใด ก. y = x – 1 ข. y = x + 1 ค. y = x – 2 ง. y = x + 2 3. ข้อใดคือจุดตัดแกน Y ของฟังก์ชัน y = 2x +9 ก. จุด (0, 9) ข. จุด (9, 0) ค. จุด (0, –9) ง. จุด (–9, 0) 4. ฟังก์ชันในข้อใดขนานกัน ก. y1 = 2 กับ y2 = x ข. y1 = –x + 1 กับ y2 = x + 1 ค. y1 = 5x + 2 กับ y2 = 5x – 2 ง. y1 = 3 – x กับ y2 = –3 + x 5. จากกราฟที่กาหนดให้ คือกราฟของฟังก์ชันในข้อใด ก. y = 2x + 6 ข. y = 6x – 3 ค. y = 3x – 6 ง. y = –3x + 6 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ฟังก์ชันเชิงเส้น
  • 2. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 2 6. ฟังก์ชันเชิงเส้นที่กาหนดให้ไว้ในข้อใดที่เมื่อนาไปเขียนกราฟแล้ว กราฟจะตัดแกน X ที่จุด (–2, 0) และตัดแกน Y ที่จุด (0, 3) ก. 2y = 3x – 6 ข. 2y = –3x – 6 ค. –2y = –3x + 6 ง. 2y = 3x + 6 7. จากฟังก์ชัน y = 6 …….(l1) x + 3y = 17 …….(l2) เขียนกราฟได้ตามข้อใด ก. ข. ค. ง. 8. ร้านค้าขายเสื้อบาติกชิ้นละ 200 บาท โดยมีต้นทุนผลิตคงที่ 5,000 บาท ถ้าขายสินค้าได้ 45 ชิ้น จะได้กาไรกี่บาท ก. 2,000 บาท ข. 2,500 บาท ค. 4,000 บาท ง. 4,500 บาท Y X 0 (0,3) (6,0) (6,1) X Y 0 (17,0) (0,6)(-1,6) Y X 0 (0,3) (-6,0) (-6,1) X Y 0 (17,0) (0,-6) (-6,1) l1 l2 l2 l1 l2 l1 l2 l1
  • 3. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 3 9. ยอดขายสินค้าใหม่ของบริษัทอยู่ที่ 15,000 ชิ้น/ปี ในปีแรก ถ้าบริษัทต้องการยอดขาย สินค้าเพิ่มขึ้นปีละ 20% ของยอดขายในปีแรก ข้อใดคือสมการแทนยอดขายสินค้าของแต่ละปี ก. f(x) = 15,000 + 20x ข. f(x) = 15,000 + 0.8 ค. f(x) = 15,000x + 0.2 ง. f(x) = 15,000x + 3,000x 10. บริษัทเดินรถแห่งหนึ่งจ่ายค่าแรงให้พนักงานเก็บเงิน ดังนี้ จ่ายค่าแรงวันละ 300 บาท และจะ จ่ายเพิ่มให้อีก 0.05 ของรายได้ที่เก็บได้จากค่าโดยสาร ถ้าวันนี้พนักงานเก็บเงินค่าโดยสารได้ 4,500 บาท พนักงานผู้นี้จะมีรายได้วันนี้กี่บาท ก. 475 บาท ข. 525 บาท ค. 575 บาท ง. 625 บาท
  • 4. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 4 ชื่อ..................................................................................... ชั้น....................... เลขที่................... คาชี้แจง ให้เลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ ข้อที่ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ 10 กระดำษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน
  • 5. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 5 ฟังก์ชันเชิงเส้น คือ ฟังก์ชันซึ่งเขียนในรูป y = ax + b เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง ฟังก์ชัน เชิงเส้นเมื่อนามาเขียนกราฟจะได้กราฟเป็นเส้นตรง สามารถแบ่งฟังก์ชันเชิงเส้นเป็น 2 ประเภท คือ 1. ฟังก์ชันเชิงเส้น ซึ่ง a 0 เมื่อเขียนกรำฟจะได้กรำฟเป็นเส้นตรงซึ่งไม่ขนำนกับแกน X เช่น (1) y = x (2) y = 2x + 1 y = x y = 2x + 1 ใบควำมรู้ที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น (Linear function)
  • 6. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 6 (3) y = –3x 2. ฟังก์ชันเชิงเส้น ซึ่ง เมื่อ a = 0 จะได้ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = b ซึ่งมีชื่อเรียกว่ำ ฟังก์ชันคงตัว (Constant function) กรำฟของฟังก์ชันคงตัวจะเป็นเส้นตรงที่ขนำนกับแกน X เช่น y1 = 5 , y2 = –5 y = –3x y1 = 5 y2 = –5
  • 7. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 7 ตัวอย่ำงที่ 1 จงเขียนกราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นต่อไปนี้บนระนาบเดียวกัน 1) y1 = x, y2 = 2x, y3 = 5x 2) y1 = x, y2 = 1 x2 , y3 = 1 x5 3) y1 = x, y2 = –x วิธีทำ 1) y1 = x, y2 = 2x, y3 = 5x 2) y1 = x, y2 = 1 x2 , y3 = 1 x5 3y 2y 1y 3y 2y 1y
  • 8. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 8 3) y1 = x, y2 = –x จากกราฟข้างต้น จะเห็นว่า 1) เมื่อ a หรือ สัมประสิทธ์ของ x มีค่ามากขึ้น กราฟจะเบนเข้าหาแกน Y 2) เมื่อ a หรือ สัมประสิทธ์ของ x มีค่าน้อยลง กราฟจะเบนเข้าหาแกน X 3) y1 = x และ y2 = –x มีแกน Y และแกน X เป็นแกนสมมาตร - กาหนดค่า x - แก้สมการหาค่า y - พิกัดของจุดที่กราฟผ่าน คือ จุด (x, y) ตัวอย่ำงที่ 2 จงหาพิกัดของจุดที่กราฟของ y = –x + 5 ผ่าน 3 จุด วิธีทำ หาพิกัดของจุดที่กราฟของ y = –x + 5 ผ่าน 3 จุด ดังนี้ จุดที่ 1 ให้ x = 0 จะได้ y = –x + 5 y = –0 + 5 y = 5 จะได้พิกัด (0, 5) 2y 1y ข้อสังเกต กำรหำพิกัดของจุดที่กรำฟผ่ำน
  • 9. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 9 จุดที่ 2 ให้ x = –2 จะได้ y = –x + 5 y = –(–2) + 5 y = 7 จะได้พิกัด (–2, 7) จุดที่ 3 ให้ x = 2 จะได้ y = –x + 5 y = –2 + 5 y = 3 จะได้พิกัด (2, 3) ดังนั้น พิกัดของจุดที่กราฟผ่าน คือ (0, 5), (–2, 7), (2, 3) ตัวอย่ำงที่ 3 จงหาว่าจุด (1, 5) ผ่านกราฟของฟังก์ชัน y = 2x + 3 หรือไม่ วิธีทำ จาก y = 2x + 3 หาค่า y เมื่อ x = 2 จะได้ y = 2(2) + 3 y = 7 แสดงว่า จุด (2, 7) ผ่านกราฟของ y นายทาได้ไหม? ทาได้สิง่ายนิดเดียว
  • 10. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 10 1. จงเขียนกรำฟของฟังก์ชันเชิงเส้นต่อไปนี้บนระนำบเดียวกัน 1.1 y1 = 2x, y2 = 2x + 2, y3 = 2x – 2 1.2 y1 = 3, y2 = –x + 1, y3 = –4 + x X Y X Y แบบฝึกทักษะที่ 1
  • 11. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 11 2. จงหำพิกัดของจุด 2 จุดซึ่งกรำฟต่อไปนี้ผ่ำน 2.1 y = –x – 3 2.2 y = 5x 2.3 y = 4x – 7 2.4 y = 9 …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… ……………………………………………………………
  • 12. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 12 3. จงพิสูจน์ว่ำจุดที่กำหนดให้ต่อไปนี้เป็นจุดที่กรำฟของฟังก์ชันเชิงเส้นผ่ำนหรือไม่ 3.1 จุด (0, 3) และ y = x – 3 3.2 จุด (5, 30) และ y = 6x 3.3 จุด (–2, –2) และ y = 1 x 32  …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………
  • 13. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 13 กำรหำจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y พิจารณากราฟต่อไปนี้ จุดตัดแกน X ของฟังก์ชันเชิงเส้นใดๆ คือ จุด (x, 0) ส่วนจุดตัดแกน Y ของฟังก์ชันเชิงเส้นใดๆ คือ จุด (0, y) การหาจุดตัดแกน X มีขั้นตอนดังนี้ 1. กาหนดให้ y = 0 2. แก้สมการหาค่า x 3. จุดตัดแกน X คือ จุด (x, 0) การหาจุดตัดแกน Y มีขั้นตอนดังนี้ 1. กาหนดให้ x = 0 2. แก้สมการหาค่า y 3. จุดตัดแกน Y คือ จุด (0, y) y = x + 3 (0, 3) (-3, 0) ใบควำมรู้ที่ 2 กำรหำจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y
  • 14. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 14 ตัวอย่ำงที่ 4 จงหาจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y ของฟังก์ชันที่กาหนดให้ต่อไปนี้ 1) y = 2x + 6 2) y = 7 – x วิธีทำ 1) y = 2x + 6 หาจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y ได้ดังนี้ - หาจุดตัดแกน X ให้ y = 0 y = 2x + 6 0 = 2x + 6 x = –3 - หาจุดตัดแกน Y ให้ x = 0 y = 2x + 6 y = 2(0) + 6 y = 6 ดังนั้น จุดตัดแกน X คือจุด (–3, 0) และจุดตัดแกน Y คือจุด (0, 6) 2) y = 7 – x หาจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y ได้ดังนี้ - หาจุดตัดแกน X ให้ y = 0 y = 7 – x 0 = 7 – x x = 7 - หาจุดตัดแกน Y ให้ x = 0 y = 7 – x y = 7 – 0 y = 7 ดังนั้น จุดตัดแกน X คือจุด (7, 0) และจุดตัดแกน Y คือจุด (0, 7)
  • 15. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 15 ตัวอย่ำงที่ 5 จงเขียนกราฟของฟังก์ชันที่กาหนดให้ต่อไปนี้บนระนาบเดียวกัน 1) y1 = 2x + 2 2) y2 = –2x + 2 3) y3 = 3x + 3 4) y4 = –2x + 4 วิธีทำ จาก y1 = 2x + 2, y2 = – 2x + 2, y3 = 3x + 3 และ y4 = –2x + 4 จะได้ เขียนกราฟของ y1 = 2x + 2 , y2 = –2x + 2 , y3 = 3x + 3 และ y4 = –2x + 4 ได้ดังนี้ x 0 – 1 y1 2 0 และ x 0 – 1 y3 3 0 x 0 1 y2 2 0 x 0 2 y4 4 0 1 2– 1 3 4– 2– 4 – 3 1 2 3 4 5 6 7 0 – 1 – 2 y1 y2 y3 y4 Y X ไม่ยากเลยใช่มั้ยคะเด็กๆ
  • 16. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 16 ฟังก์ชันเชิงเส้นสำมำรถนำไปใช้ในกำรแก้โจทย์ปัญหำสมกำร 2 ตัวแปรได้ ตัวอย่ำงที่ 6 ค่าขนส่งสินค้าจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดหรืออยู่เขตชายแดนภาคใต้เท่ากับค่าขนส่งเบื้องต้น 200 บาท บวกด้วยค่าขนส่งที่คิดตามน้าหนักสินค้ากิโลกรัมละ 7 บาท (1) จงเขียนฟังก์ชันแทนค่าขนส่งสินค้าจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดที่อยู่เขตชายแดนภาคใต้ (2) ถ้าส่งสินค้าที่มีน้าหนัก 7.5 กิโลกรัม จะต้องจ่ายเงินกี่บาท วิธีทำ (1) กาหนดให้ x แทนน้าหนักของสินค้า f(x) แทนค่าขนส่งสินค้าจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดที่อยู่เขตชายแดนภาคใต้ จะได้ f(x) = 200 + 7x (2) ถ้าส่งสินค้าที่มีน้าหนัก 7.5 กิโลกรัม จะต้องจ่ายเงินเท่ากับ f(7.5) จาก f(x) = 200 + 7x f(7.5) = 200 + 7(7.5) = 252.50 ดังนั้น ถ้าส่งสินค้าที่มีน้าหนัก 7.5 กิโลกรัม จะต้องจ่ายเงินเท่ากับ 252.50 บาท ตัวอย่ำงที่ 7 ครูให้นักเรียนทาแปลงเกษตร โดยกาหนดให้ด้านยาวยาวกว่า 80% ของด้านกว้างอยู่ 1.2 เมตร ตอบคาถามต่อไปนี้ (1) จงเขียนฟังก์ชันเชิงเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างด้านยาวและด้านกว้าง (2) ถ้าแปลงเกษตรกว้าง 0.6 เมตร จะมีความยาวเท่าไร วิธีทำ (1) กาหนดให้ x แทนด้านกว้าง y แทนด้านยาว จะได้ y = 80 x100 + 1.2 (2) แปลงเกษตรกว้าง 0.6 เมตร แทน x = 0.6 จะได้ y = 80 100 (0.6) + 1.2 = 1.68 ดังนั้น ถ้าแปลงเกษตรกว้าง 0.6 เมตร จะมีความยาว 1.68 เมตร
  • 17. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 17 1. จงหำจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y ของฟังก์ชันเชิงเส้นต่อไปนี้ 1.1 y = 4 + 3x 1.2 y = –x – 3 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แบบฝึกทักษะที่ 2
  • 18. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 18 1.3 y = 2 3 x + 1 2.1 จงเขียนฟังก์ชันเชิงเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกาไรและจานวนสินค้า ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………… …………………………………………………………… 2. ร้ำนค้ำขำยสินค้ำชิ้นละ 100 บำทโดยมีต้นทุนกำรผลิตคงที่คือ 1,500 ตอบคำถำมต่อไปนี้
  • 19. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 19 2.2 ถ้าร้านค้าขายสินค้า 20 ชิ้นได้กาไรเท่าไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.3 ถ้าร้านค้าได้กาไร 1,500 บาท เมื่อขายสินค้ากี่ชิ้น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 20. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 20 3.1 จงเขียนฟังก์ชันเชิงเส้นแสดงรายได้ของพนักงานในแต่ละเดือน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.2 ถ้าพนักงานมีรายได้ 12,500 บาท พนักงานคนนี้มียอดขายสินค้ากี่บาท ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.3 ถ้าพนักงานขายสินค้าได้ 35,000 บาท พนักงานคนนี้มีรายได้กี่บาท ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ห้ำงสรรพสินค้ำแห่งหนึ่งจ่ำยเงินค่ำจ้ำงให้พนักงำนขำยเดือนละ 5,000 บำท รวมกับ 5% ของยอดขำยสินค้ำ ตอบคำถำมต่อไปนี้
  • 21. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 21 คำชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 15 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวเท่านั้นแล้วทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ ************************************************************************************************** 1. จุด (1, 2) อยู่บนกราฟของฟังก์ชันในข้อใด ก. y = x – 2 ข. y = x + 2 ค. y = x – 1 ง. y = x + 1 2. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง ก. ฟังก์ชันเชิงเส้นมีกราฟอยู่ในรูปเส้นตรง ข. ฟังก์ชัน y = ax + b เรียก b ว่าความชัน ค. ฟังก์ชันเชิงเส้นเขียนในรูป f(x) = ax + b ง. ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = b เรียกว่า ฟังก์ชันคงตัว 3. ฟังก์ชันในข้อใดขนานกัน ก. y1 = 5x + 2 กับ y2 = 5x – 2 ข. y1 = 3 – x กับ y2 = –3 + x ค. y1 = –x + 1 กับ y2 = x + 1 ง. y1 = 2 กับ y2 = x 4. จากกราฟที่กาหนดให้ คือกราฟของฟังก์ชันในข้อใด ก. y = 3x – 6 ข. y = 2x + 6 ค. y = –3x + 6 ง. y = 6x – 3 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ฟังก์ชันเชิงเส้น
  • 22. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 22 5. ข้อใดคือจุดตัดแกน Y ของฟังก์ชัน y = 2x + 9 ก. จุด (0, –9) ข. จุด (–9, 0) ค. จุด (0, 9) ง. จุด (9, 0) 6. จากฟังก์ชัน y = 6 ……. (l1) x + 3y = 17 ……. (l2) เขียนกราฟได้ตามข้อใด ก. ข. ค. ง. 7. ฟังก์ชันเชิงเส้นที่กาหนดให้ไว้ในข้อใดที่เมื่อนาไปเขียนกราฟแล้ว กราฟจะตัดแกน X ที่จุด (–2, 0) และตัดแกน Y ที่จุด (0, 3) ก. 2y = –3x – 6 ข. 2y = 3x – 6 ค. 2y = –3x + 6 ง. 2y = 3x + 6 Y X0 (0,3) (6,0) (6,1) X Y 0 (17,0) (0,6)(-1,6) Y X 0 (0,3) (-6,0) (-6,1)X Y 0 (17,0) (0,-6) (-6,1) l1 l2 l2 l1 l2 l1 l2 l1
  • 23. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 23 8. ยอดขายสินค้าใหม่ของบริษัทอยู่ที่ 15,000 ชิ้น/ปี ในปีแรก ถ้าบริษัทต้องการยอดขาย สินค้าเพิ่มขึ้นปีละ 20% ของยอดขายในปีแรก ข้อใดคือสมการแทนยอดขายสินค้าของแต่ละปี ก. f(x) = 15,000x + 3,000x ข. f(x) = 15,000x + 0.2 ค. f(x) = 15,000 + 20x ง. f(x) = 15,000 + 0.8 9. บริษัทเดินรถแห่งหนึ่งจ่ายค่าแรงให้พนักงานเก็บเงิน ดังนี้ จ่ายค่าแรงวันละ 300 บาท และจะจ่าย เพิ่มให้อีก 0.05 ของรายได้ที่เก็บได้จากค่าโดยสาร ถ้าวันนี้พนักงานเก็บเงินค่าโดยสารได้ 4,500 บาท พนักงานผู้นี้จะมีรายได้วันนี้กี่บาท ก. 625 บาท ข. 575 บาท ค. 525 บาท ง. 475 บาท 10. ร้านค้าขายเสื้อบาติกชิ้นละ 200 บาท โดยมีต้นทุนผลิตคงที่ 5,000 บาท ถ้าขายสินค้าได้ 45 ชิ้น จะได้กาไรกี่บาท ก. 2,500 บาท ข. 2,000 บาท ค. 4,500 บาท ง. 4,000 บาท
  • 24. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 24 ชื่อ..................................................................................... ชั้น....................... เลขที่................... คาชี้แจง ให้เลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ ข้อที่ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ 10 กระดำษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน
  • 25. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 25 ข้อที่ ก ข ค ง 1 X 2 X 3 X 4 X 5 X 6 X 7 X 8 X 9 X 10 X เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ไม่ยากอย่างที่คิดใช่ไหมล่ะ?
  • 26. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 26 1. จงเขียนกรำฟของฟังก์ชันเชิงเส้นต่อไปนี้บนระนำบเดียวกัน 1.1 y1 = 2x, y2 = 2x + 2, y3 = 2x – 2 1.2 y1 = 3, y2 = –x + 1, y3 = –4 + x X Y X Y 0 1 2-2 -1 -2 -4 2 4 y2 y1 y3 0 1 2 3 4 5-5 -4 -3 -2 -1 1 4 3 2 -1 -2 -3 -4 y2 y1 y3 เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1
  • 27. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 27 2. จงหำพิกัดของจุด 2 จุดซึ่งกรำฟต่อไปนี้ผ่ำน 2.1 y = –x – 3 2.2 y = 5x 2.3 y = 4x – 7 2.4 y = 9 จุดที่ 1 ให้ x = 0 จะได้ y = –x – 3 = –0 – 3 = –3 จุดที่ 2 ให้ x = 1 จะได้ y = –x – 3 y = –1 + 5 y = 4 ดังนั้น พิกัดของจุดที่กราฟผ่าน คือ (0, –3), (1, 4) จุดที่ 1 ให้ x = 0 จะได้ y = 5x y = 5(0) y = 0 จุดที่ 2 ให้ x = 1 จะได้ y = 5x y = 5(1) y = 5 ดังนั้น พิกัดของจุดที่กราฟผ่าน คือ (0, 0), (1, 5) จุดที่ 1 ให้ x = 0 จะได้ y = 4x – 7 y = 4(0) – 7 y = –7 จุดที่ 2 ให้ x = 1 จะได้ y = 4x – 7 y = 4(1) – 7 y = –3 ดังนั้น พิกัดของจุดที่กราฟผ่าน คือ (0, –7), (1, –3) …………………………………………………………… จุดที่ 1 ให้ x = 0 จะได้ y = 9 จุดที่ 2 ให้ x = 1 จะได้ y = 9 ดังนั้น พิกัดของจุดที่กราฟผ่าน คือ (0, 9), (1, 9)
  • 28. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 28 3. จงพิสูจน์ว่ำจุดที่กำหนดให้ต่อไปนี้เป็นจุดที่กรำฟของฟังก์ชันเชิงเส้นผ่ำนหรือไม่ 3.1 จุด (0, 3) และ y = x – 3 3.2 จุด (5, 30) และ y = 6x 3.3 จุด (–2, –2) และ y = 1 x2 – 3 วิธีทำ จาก y = x – 3 หาค่า y เมื่อ x = 0 จะได้ y = 0 – 3 y = –3 แสดงว่า จุด (0, –3) ไม่ผ่านกราฟของ y วิธีทำ จาก y = 6x หาค่า y เมื่อ x = 5 จะได้ y = 6(5) y = 30 แสดงว่า จุด (5, 30) ผ่านกราฟของ y วิธีทำ จาก y = 1 x2 – 3 หาค่า y เมื่อ x = –2 จะได้ y = 1 2 (–2) – 3 y = –1–3 y = –4 แสดงว่า จุด (–2, –2) ไม่ผ่านกราฟของ y
  • 29. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 29 1. จงหำจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y ของฟังก์ชันเชิงเส้นต่อไปนี้ 1.1 y = 4 + 3x 1.2 y = –x – 3 - หาจุดตัดแกน X ให้ y = 0 y = 4 + 3x 0 = 4 + 3x x = – 4 3 - หาจุดตัดแกน Y ให้ x = 0 y = 4 + 3x y = 4 + 3(0) y = 4 ดังนั้น จุดตัดแกน X คือจุด (– 4 3 , 0) และจุดตัดแกน Y คือจุด (0, 4) - หาจุดตัดแกน X ให้ y = 0 y = –x – 3 0 = –x – 3 x = –3 - หาจุดตัดแกน Y ให้ x = 0 y = –x – 3 y = –0 – 3 y = –3 ดังนั้น จุดตัดแกน X คือจุด (–3, 0) และจุดตัดแกน Y คือจุด (0, –3) เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2
  • 30. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 30 1.3 y = 2 3 x + 1 2.1 จงเขียนฟังก์ชันเชิงเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกาไรและจานวนสินค้า กาหนดให้ x แทนจานวนสินค้า f(x) แทนกาไร จะได้ f(x) = 100x – 1,500 - หาจุดตัดแกน X ให้ y = 0 y = 2 3 x + 1 0 = 2 3 x + 1 x = – 3 2 - หาจุดตัดแกน Y ให้ x = 0 y = 2 3 x + 1 y = 2 3 (0) + 1 y = 1 ดังนั้น จุดตัดแกน X คือจุด (– 3 2 , 0) และจุดตัดแกน Y คือจุด (0, 1) 2. ร้ำนค้ำขำยสินค้ำชิ้นละ 100 บำทโดยมีต้นทุนกำรผลิตคงที่คือ 1,500 ตอบคำถำมต่อไปนี้
  • 31. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 31 2.2 ถ้าร้านค้าขายสินค้า 20 ชิ้นได้กาไรเท่าไร ถ้าร้านค้าขายสินค้า 20 ชิ้น จะได้กาไรเท่ากับ f(20) จาก f(x) = 100x – 1,500 f(20) = 100(20) – 1,500 f(20) = 2,000 – 1,500 f(20) = 500 ดังนั้น ถ้าร้านค้าขายสินค้า 20 ชิ้น จะได้กาไร 500 บาท 2.3 ถ้าร้านค้าได้กาไร 1,500 บาท เมื่อขายสินค้ากี่ชิ้น จาก f(x) = 100x – 1,500 1,500 = 100x – 1,500 100x = 3,000 x = 30 ดังนั้น ถ้าร้านค้าได้กาไร 1,500 บาท เมื่อขายสินค้า 30 ชิ้น
  • 32. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 32 3.1 จงเขียนฟังก์ชันเชิงเส้นแสดงรายได้ของพนักงานในแต่ละเดือน กาหนดให้ x แทนยอดขายสินค้า f(x) แทนรายได้ที่พนักงานได้รับ จะได้ f(x) = 5,000 + (0.05)x 3.2 ถ้าพนักงานมีรายได้ 12,500 บาท พนักงานคนนี้มียอดขายสินค้ากี่บาท จาก f(x) = 5,000 + (0.05)x 12,500 = 5,000 + (0.05)x (0.05)x = 7,500 (0.05) x = 150,000 ดังนั้น พนักงานคนนี้มียอดขายสินค้า 150,000 บาท 3.3 ถ้าพนักงานขายสินค้าได้ 35,000 บาท พนักงานคนนี้มีรายได้กี่บาท ถ้าพนักงานขายสินค้าได้ 35,500 บาท พนักงานคนนี้มีรายได้เท่ากับ f(35,000) จาก f(x) = 5,000 + (0.05)x f(35,000) = 5,000 + (0.05)(35,000) f(20) = 5,000 + 1,750 f(20) = 6,750 ดังนั้น พนักงานคนนี้มีรายได้ 6,750 บาท 3. ห้ำงสรรพสินค้ำแห่งหนึ่งจ่ำยเงินค่ำจ้ำงให้พนักงำนขำยเดือนละ 5,000 บำท รวมกับ 5% ของยอดขำยสินค้ำ ตอบคำถำมต่อไปนี้
  • 33. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 33 ข้อที่ ก ข ค ง 1 X 2 X 3 X 4 X 5 X 6 X 7 X 8 X 9 X 10 X เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
  • 34. นัทธิณี จุฑานันท์ ชุดที่ 1 ฟังก์ชันเชิงเส้น หน้า 34 กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือครูรำยวิชำเพิ่มเติม คณิตศำสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 – 6 กลุ่มสำระกำร เรียนรู้คณิตศำสตร์ ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554. . คู่มือวัดผลประเมินผลคณิตศำสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554. . ตัวชี้วัดและสำระกำรเรียนรู้แกนกลำง กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ ตำมหลักสูตร แกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 ก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2551 ก. . หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2551 ข. . หนังสือเรียนรำยวิชำเพิ่มเติม คณิตศำสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 – 6 กลุ่มสำระกำร เรียนรู้คณิตศำสตร์ ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554. จักรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง. Mini คณิตศำสตร์เพิ่มเติม ม.4 – 6 เล่ม 2 ตำมหลักสูตรแกนกลำง กำรศึกษำขั้น พื้นฐำน พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ.พัฒนา จากัด, 2554. ณรงค์ ปั้นนิ่ม. คู่มือเตรียมสอบคณิตศำสตร์พื้นฐำน ม.4 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ ภูมิบัณฑิต, 2555. ธนวัฒน์ สนทราพรพล. คณิตศำสตร์ ช่วงชั้นที่ 4 (4–6) เล่ม 2 สำหรับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ภำคเรียนที่ 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ Science Center, ม.ป.พ. ฝ่ายวิชาการ พีบีซี. ยอดคณิตศำสตร์ เรื่องฟังก์ชัน. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ พีบีซี จากัด, 2554. พิพัฒน์พงศ์ ศรีวิศร. คู่มือคณิตศำสตร์พื้นฐำนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ เดอะบุคส์ จากัด, 2553. สมัย เหล่าวานิชย์ และพัวพรรณ เหล่าวานิชย์. Hi-ED’s Mathematics คณิตศำสตร์ ม.4-6 เล่ม 2 (รำยวิชำพื้นฐำนและเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง, 2554. บรรณำนุกรม