SlideShare a Scribd company logo
1 of 231
การปฏิรูประบบการพยาบาลตามนโยบายหลักประกัน
สุขภาพถ้วนหน้าและการพัฒนาคุณภาพบริการ
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
1
พัฒนาการของพยาบาลเวชปฏิบัติในประเทศไทย
พยาบาลและพนักงานชุมชนที่ปฏิบัติงานใน
ท้องถิ่นที่ห่างไกลและขาดแคลนแพทย์นั้น
จาเป็ นต้องทาหน้าที่ในการตรวจวินิจฉัย ให้การ
รักษาโรคเบื้องต้นและดูแลรักษาผู้ป่ วยในยาม
ฉุกเฉินมาโดยตลอด หรือ กล่าวได้ว่าเป็ นการ
กระทาเกินบทบาทหน้าที่และยังไม่มีกฎหมาย
รองรับ โดยไม่ได้รับการฝึกหัดอบรม อย่าง
ถูกต้องมาก่อน
3
การพยาบาล เป็ นวิชาชีพที่กระทาโดยตรงต่อมนุษย์
ซึ่งมีผลต่อความเป็ นความตายของชีวิต สามารถแยก
ความรับผิดตามลักษณะหรือบทบาทการทางานออกได้ 2
ลักษณะ คือ
บทบาทอิสระ และ บทบาทไม่อิสระ
ความไม่ยั่งยืนของการผลิตพยาบาลเวชปฏิบัติ:
บทเรียน
1. เป้ าหมายของการผลิตพยาบาลเวชปฏิบัติ คือ
ทดแทนการขาดแคลนแพทย์ ดังนั้นการปฏิบัติงาน
คือ “การทาแทนในบทบาทของแพทย์” มิใช่เป็ น
การขยายบทบาทของพยาบาลเพื่อตอบสนองความ
ต้องการด้านสุขภาพของประชาชน
2. การขาดการสนับสนุนจากองค์กรวิชาชีพ ผู้นา
และนักการศึกษาพยาบาล เนื่องจากกฎหมาย
มิได้เอื้อให้พยาบาลรักษาโรคเบื้องต้นได้อย่าง
อิสระ
3. ขาดงานวิจัยสนับสนุนผลลัพธ์ของงานของ
พยาบาลเวชปฏิบัติต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต
ของประชาชน เนื่องจากเป็ นการทาแทนแพทย์
ผลลัพธ์จึงเป็ นของแพทย์
4. ได้รับการสนับสนุนน้อยมากจาก
สถาบันการศึกษา สถาบันการศึกษาผลิตผู้
ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงในประเภท
ผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งเป็ นการปฏิบัติกับผู้ป่ วย
ผู้ใช้บริการในโรงพยาบาล แม้ว่าจะมีการ
พยาบาลชุมชน แต่ขอบเขตการปฏิบัติงานไม่
ชัดเจน
5. ไม่มีระบบรองรับตาแหน่ง เป็ นตาแหน่ง
พยาบาลทั่วไป
การขับเคลื่อนของสภาการพยาบาล
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง
ครรภ์ พ.ศ. 2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง
ครรภ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540
มาตรา 4 (3) การกระทาการตามวิธีที่กาหนดไว้
ในการรักษาโรคเบื้องต้น การให้ภูมิคุ้มกันโรค
และการวางแผนครอบครัว
สภาการพยาบาลกับยุทธศาสตร์
การขับเคลื่อน
1. การมีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้
2. การมีส่วนร่วมในการพัฒนานโยบาย ด้านสุขภาพ
ของประเทศ
3. การมีส่วนร่วมในการปรับระบบบริการสุขภาพ
4. การดาเนินการให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
และการผดุงครรภ์ สามารถบริการวิชาชีพได้อย่าง
อิสระ และมีกฎหมายคุ้มครอง
5. การกากับคุณภาพงานบริการ
6. การพัฒนาศักยภาพพยาบาลชุมชน
(Capacity Building)
การดาเนินการให้ผู้ประกอบวิชาชีพ
การพยาบาล/ผดุงครรภ์ สามารถบริการ
วิชาชีพได้อย่างอิสระและมีกฎหมาย
คุ้มครอง
การดาเนินการให้ผู้ประกอบวิชาชีพการ
พยาบาล/ผดุงครรภ์ สามารถบริการวิชาชีพได้
อย่างอิสระและมีกฎหมายคุ้มครอง
เส้นทางอาชีพพยาบาล
• พยาบาลปฏิบัติการ มุ่งสู่ความชานาญและ
เชี่ยวชาญ ใน ระดับทุติยภูมิ ตติยภูมิศูนย์ความ
เป็ นเลิศ (APN)
• การพยาบาลเวชปฏิบัติในชุมชน (NP)
• ผู้บริหารการพยาบาลมืออาชีพ
(Nurse manager)
• พยาบาลทั่วไป
• ผู้ช่วยพยาบาล
• ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง หรือผู้เชี่ยวชาญใน
ระดับทุติยภูมิ และตติยภูมิ
• พยาบาลเวชปฏิบัติในปฐมภูมิ
• ผู้บริหารจัดการทางการพยาบาลมืออาชีพ
•อาจารย์พยาบาล/นักวิจัย
การพัฒนาศักยภาพของทีมการพยาบาล
พยาบาลชุมชน
พยาบาลเวชปฏิบัติ
พยาบาลใน
โรงพยาบาล
16
ต้องรับผิดชอบในผลของการกระทานั้นโดยตรงด้วย
ตนเอง เช่น การตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคเบื้องต้น การ
พยาบาลเพื่อบรรเทาความเจ็บป่ วย การทาคลอด การ
ปฐมพยาบาล การให้วัคซีนป้ องกันโรค
บทบาทอิสระ
17
การกระทาไปตามแผนการรักษาหรือคาสั่งการรักษาของแพทย์ เช่น
การให้ยาแก่ผู้ป่ วยตามคาสั่งการรักษาของแพทย์ การช่วยแพทย์
กระทาการรักษาโรคด้วยการผ่าตัด ซึ่งแยกได้ 2กรณี คือ
 ไม่ต้องรับผิด หากกระทาโดยมีแพทย์ซึ่งเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพ
เวชกรรมเป็ นผู้ควบคุม
บทบาทไม่อิสระ
18
 ต้องรับผิดหากผลที่เกิดขึ้นนั้นอยู่ในระดับความรับผิดชอบตามระดับความ
ระมัดระวัง ตามภาวะ วิสัยและพฤติการณ์ที่พยาบาลควรจะต้องมี เช่น แพทย์
สั่งยาเพื่อรักษาผู้ป่ วย แต่พยาบาลได้นายาที่แพทย์สั่งไว้นั้นไปให้แก่ผู้ป่ วยเกิน
ขนาด หรือ ผิดทางที่ต้องให้ หรือให้ผิดคน หรือให้ผิดเวลา หรือให้ผิดวิธี แล้วเป็ น
ผลให้ผู้ป่ วยได้รับความเสียหายจากการกระทานั้น
บทบาทไม่อิสระ (ต่อ)
กฎหมายที่มีผลต่อการพยาบาล
• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
มาตรา 80 (2)
• พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
มาตรา 47
• พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พ.ศ. 2545 มาตรา 5
• พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง
ครรภ์ พ.ศ. 2528 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2540
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าคืออะไร
“หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า” หมายถึง สิทธิของประชาชน
ไทยทุกคนที่จะได้รับบริการสุขภาพที่มีมาตรฐานอย่างเสมอหน้า
ด้วยเกียรติ ศักดิ์ศรีที่เท่าเทียมกัน โดยที่ภาระด้านค่าใช้จ่ายไม่เป็น
อุปสรรคที่เขาจะได้รับสิทธินั้น
ความท้าทายจากระบบ
หลักประกันสุขภาพ
CHANGE
นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
9 ตุลาคม 2555
“วิกฤต สธ” ขณะนี้ คืออะไร
1. หน่วยบริการกว่า 50% ประสบปัญหา
ขาดสภาพคล่องทางการเงิน
2. พฤติกรรมการใช้บริการ การส่งต่อ
เปลี่ยนไป
3. ข้อมูลการเฝ้ าระวัง การส่งเสริมป้ องกัน
โรค ในประชาชน ไม่ได้ตามเกณฑ์
WARNING SIGNS
1. งบ UC เหมาจ่ายรายหัวไม่เพิ่มขึ้นในปี 2555,2556
2. การจัดสรรเงิน pre paid ให้หน่วยบริการลดลง
3. เงินค้างท่อ เริ่มลดลง เหลือน้อย....ไม่มี
4. รายจ่ายเพิ่มขึ้น(ค่าครองชีพ,เงินเดือนค่าตอบแทน)
5. จานวน รพ. ที่ FAI Risk score = 7 มากขึ้น
6. เงินบารุงของหน่วยบริการ(หลังหักภาระหนี้สิน)
ลดลง
เปรียบเทียบกรอบวงเงินรายการย่อยของงบอัตราเหมาจ่ายรายหัวปี
2556-ที่จะได้รับกับปี2555
หมายเหตุ: งบอัตราเหมาจ่ายรายหัว ไม่รวมค่าแรงส่วนเพิ่มจากนโยบายรัฐบาล และค่าตอบแทนส่วนเพิ่มตามประกาศของ สป.สธ.
ประเภทบริการ
ปี 2555
[ได ้รับมติ กก.หลัก
ฯ]
ปี 2556
[เสนอขาลง]
+/- ขาลง56
กับ 55
1. บริการผู้ป่ วยนอกทั่วไป 971.51 983.49 11.98
2. บริการผู้ป่ วยในทั่วไป 972.17 975.85 3.68
3. เพิ่มสาหรับหน่วยบริการที่มีต ้นทุนคงที่สูง 60.99 60.99 -
4. บริการที่มีค่าใช ้จ่ายสูง/อุบัติเหตุ เจ็บป่ วยฉุกเฉิน/
บริการกลุ่มโรคที่มีปัญหาการเข ้าถึง
269.04 262.10 (6.94)
5. บริการสร้างเสริมป้องกัน (P&P) 313.70 313.70 -
6. บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ 12.88 12.88 -
7. บริการแพทย์แผนไทย 7.20 7.20 -
8. งบค่าเสื่อม 141.50 128.69 (12.81)
9. งบส่งเสริมคุณภาพผลงานบริการ 4.76 4.76 -
10. เงินช่วยเหลือเบื้องต ้นตามมาตรา 41 1.10 5.19 -
11. เงินช่วยเหลือเบื้องต ้นผู้ให ้บริการ 0.75 0.75 -
รวม 2,755.60 2,755.60 -
แสดงผลประกอบการปี 2551-2555 Q3
4,609
-1,246
-1,705 -1,887
-3,096
-4,692
2,983
5,188 5,066
7,837
1,534
4,090
733
-6,000
-4,000
-2,000
0
2,000
4,000
6,000
8,000
10,000
2551/Q4
2552/Q4
2553/Q1
2553/Q2
2553/Q3
2553/Q4
2554/Q1
2554/Q2
2554/Q3
2554/Q4
2555/Q1
2555/Q2
2555/Q3
กาไร(รพ.)
, 336,
40%
5,239ล ้านขาดทุน
(รพ.),
496, 60%
4,506ล ้าน
แสดงให้เห็นในปี 2553 ปัญหาการจัดสรรงบหลักประกันล่าช้าจากการที่มี
หมวดย่อยหลากหลายทาให้มีเงินเหลือค้างท่อจานวนมาก เมื่อมีการเร่งรัด
จัดสรรทาให้ผลประกอบการภาพรวมของหน่วยบริการสังกัดสป.สธ.มีกาไร
จนไตรมาส 3 ปี 2555 แต่พบว่ามีรพ.ที่ขาดทุนมีมากกว่า(60%)เข้าลักษณะ
รวยกระจุกจนกระจาย
แสดงงบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าทั้งหมดเทียบสัดส่วนกับ
ค่าแรงประเภทต่างๆที่แยกสัดส่วนเฉพาะบริการUC
25,385 27,467 28,584 28,223 31,328 31,767
3,807 4,423 5,344 6,268 6,905 7,3197,919 10,213 13,562 13,164 13,763 14,589
39,488
38,495
41,895
53,402
81,190 79,820
76,599 80,598
89,385
101,058
133,186 133,495
0
20,000
40,000
60,000
80,000
100,000
120,000
140,000
160,000
2551 2552 2553 2554 2555 2556
ส่วนดาเนินการ ส่วนค่าตอบแทน
ส่วนจ ้างชั่วคราว ส่วนเงินเดือน
รวมเหมาจ่ายรายหัว
เมื่อสะท ้อนภาพงบหลักประกันสุขภาพที่มากขึ้นมาตลอดสอดคล ้องกับการมีผู้มารับบริการ
มากขึ้นทุกปีอย่างรวดเร็ว(ผป.นอกเพิ่มจากปี2545จานวน80 ล ้านครั้ง เป็น150 ล ้านครั้งใน
ปี 2554) แต่อัตราเงินเดือนเพิ่มน้อยมาก อันแสดงถึงจานวนขรก.สธ.ไม่ได ้เพิ่มตามอย่าง
เป็นสัดส่วน ทาให ้มีภาระต ้องจ ้างลูกจ ้างและจัดสรรOT มากขึ้นเพื่อชดเชยอัตรากาลังที่ขาด
หน่วย:ล้านบาท ปี 56 เป็นค่าประมาณการ
จานวนโรงพยาบาลที่มีวิกฤตระดับ 7
ตั้งแต่ปี 2552-2555 Q3
ประเมินประสิทธิภาพจากต้นทุนปี 55Q3 จานวนรพ.ในระดับ7
กลุ่มต้นทุนผป.นอกและผป.ในต่ากว่าค่าเฉลี่ย 42
กลุ่มต้นทุนผป.นอกและผป.ในสูงกว่าค่าเฉลี่ย 89
1
142
170
108
89
95
131
0
20
40
60
80
100
120
140
160
180
52Q4 53Q2 53Q4 54Q2 54Q4 55Q2 55Q3
รพศ.NoTrain
รพศ.&Train
รพท. 400+
รพท. 300 - 400
รพท. -300
รพช. 90+
รพช. 90
รพช. 60
รพช. 30
รวม
การและเร่งรัดจัดสรรงบหลักประกันสุขภาพไม่สามารถแก้ปัญหาการเงินในส่วน
ใหญ่ที่เป็ นกลุ่มโรงพยาบาลระดับรพช. ซึ่งปรากฏแม้ภาพรวมมีกาไรแต่รพช.ใน
กลุ่มวิกฤตระดับ7 กลับมีมากขึ้น ถึงแม้ในกลุ่มนี้จะมี 42 รพ.ซึ่งมีประสิทธิภาพ
บริหารต้นทุนต่าก็ยังประสบภาวะวิกฤตระดับ7
0.00 5.00 10.00 15.00 20.00 25.00 30.00 35.00 40.00
ปีงบประมาณ 2550
ปีงบประมาณ 2551
ปีงบประมาณ 2552
ปีงบประมาณ 2553
ไตรมาส1/2554
ไตรมาส2/2554
ไตรมาส3/2554
ไตรมาส4/2554
ไตรมาส1/2555
ไตรมาส2/2555
ไตรมาส3/2555
15.06
18.67
11.99
7.15
15.06
35.85
14.17
12.78
13.84
16.53
9.37
เงินบารุงคงเหลือ (หักภาระหนี้สิน)
ของหน่วยบริการ สังกัด สป สธ.
พันล้านบาท
ไตรมาส1/2554
ไตรมาส4/2554
ปีงบ2555
จ่ายเงินค้างท่อ
1. การจัดสรรตามรายหัวโดยรวมเงินเดือน เป็ นสาเหตุให้เกิด
ความแตกต่างงบบริการและสถานบริการประสบปัญหาค่าใช้จ่าย
2. กลไกการชดเชยมีความไม่เพียงพอ ทาให้มองไม่เห็นปัญหา
การเงินแต่ได้สะสมและขยายตัวรุนแรง
3. การจัดสรรเหมาจ่ายปลายปิด และมีการกันเงินจานวนมากที่
กองกลาง เป็ นกองทุนย่อย ทาให้งบบริการพื้นฐานของหน่วย
บริการไม่เพียงพอ
4. การทุ่มงบไปในงบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทาให้งบโครงสร้าง
พื้นฐานลดน้อยลงอย่างมากและทาให้งบในการส่งเสริมสุขภาพ
และป้ องกันโรคไม่เพิ่ม
5. ผู้ป่ วยในระบบหลักประกันสุขภาพเพิ่มขึ้นอย่างมาก ทาให้
เกิดการขาดแคลนบุคลากร และโครงสร้างพื้นฐาน และงบประมาณ
บริการ
ข้อมูลจาก นพ.บัญชา ค้าของ
ปลดชนวนระเบิด
ภายใต้แผนพัฒนาดังกล่าวข้างต้น ประกอบด้วย
โครงการ ดังนี้
1. โครงการทบทวนการกากับดูแล (Regulator)
การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติ
2. โครงการพัฒนากระบวนการทางานร่วมกัน
อย่างสร้างสรรค์ กับองค์กรด้านสุขภาพ/ภาคี
ทุกภาคส่วน เพื่อนาไปสู่ความเป็ นเจ้าของระบบ
ร่วมกัน (ownership)
(เริ่มต้นโครงการย่อย “กองทุนบูรณาการ
สร้างเสริมสุขภาพและบริบาลประชาชน”
P&P ตามนโยบายท่านปลัดฯ)
3. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
(Service Plan)
4. โครงการบูรณาการระบบบริการ 3 กองทุน
เพื่อพัฒนาศักยภาพการจัดเก็บรายได้ให้มี
ประสิทธิภาพ
5. โครงการทบทวนระบบการเงินการคลังของ
หน่วยบริการให้มีประสิทธิภาพ
6. โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางใน
ระบบบริการของสาธารณสุข ให้เชื่อมโยง
และใช้ประโยชน์ร่วมกันทุกกองทุน
(National standard programme and
data set)
Harmonized P&P Model 2013
MOPH & NHSO
นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ตุลาคม 2555
ข้อเสนอการบริหารงบหมวดขาลง
ของ สธ ต่อ สปสช.
หลักการ
1. เป็ นการเริ่มต้น ของ การบูรณาการการ
ทางาน ระหว่าง Purchaser vs Provider
2. เป็ นการบริหารงานร่วมกัน ตั้งแต่การกาหนด
เป้ าหมาย การรวบรวมข้อมูล และประเมินผล
3. สปสช. ทาหน้าที่ดูแลจัดสรรงบประมาณ
ตามที่ สธ สรุป และ External audit
4. สธ ปรับบทบาท เป็ นผู้มีส่วนร่วมในการ
กาหนดนโยบาย ควบคุมกากับ และ
Internal audit
5. การบริหารงบประมาณ เป็ นหน้าที่ของ
เครือข่ายบริการสุขภาพทั้ง 12 เขต
6. ส่งเสริมให้ Customer มีส่วนร่วม
1. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค
ทั้งหมด ยกเว้นกองทุน อปท
2. กองทุนบริการการแพทย์แผนไทย
3. กองทุนบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
4. กองทุนบริการควบคุม ป้ องกัน และรักษา
โรคเรื้อรัง
5. กองทุนบริการผู้ป่ วยในทั่วไป
6. งบ OP สนับสนุนปฐมภูมิ 37บาท
7. Cost Function การปรับเกลี่ยเงินให้รพ.
กิจกรรมที่เสนอดาเนินการร่วมกัน
ข้อสรุปจากการประชุมร่วม ระหว่าง สธ และ สปสช.
4 ตุลาคม 2555
1. ทั้ง สธ และ สปสช. ยอมรับในหลักการ
2. กิจกรรมที่เริ่มดาเนินการในปีงบฯ 2556
ได้แก่
1) กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค
ทั้งหมด ยกเว้นกองทุน อปท
2) กองทุนบริการการแพทย์แผนไทย
3) กองทุนบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้าน
การแพทย์
4) กองทุนบริการควบคุม ป้ องกัน และรักษา
โรคเรื้อรัง
5) กองทุนบริการผู้ป่ วยในทั่วไป
ข้อสรุปจากการประชุมร่วม ระหว่าง สธ และ สปสช.
4 ตุลาคม 2555
3. งบ OP สนับสนุนปฐมภูมิ 37บาท สปสช.ขอ
พิจารณาอีกครั้ง
4. Cost Function การปรับเกลี่ยเงินให้รพ.
สปสช. ขอพิจารณาข้อมูลว่า evidence มี
เท่าไร สาเหตุคืออะไร
5. จะมีการประชุมร่วมกันอย่างเป็ นทางการ
อีกครั้ง โดย สธ เตรียมทาแผนและรูปแบบ
นาเสนอ
6. สธ ทบทวนและเตรียมกาหนด strategic plan
Line up ผู้รับผิดชอบ การควบคุมกากับให้ได้
ตาม KPI ที่ตกลงกัน รวมทั้ง risk
management และ internal audit
ข้อสรุปจากการประชุมร่วม ระหว่าง สธ และ สปสช.
4 ตุลาคม 2555
7. ในเบื้องต้นที่ประชุม มีมติให้ สปสช.
ดาเนินการเรื่อง cash flow 25% ไปก่อน
8. การทา External audit ที่ประชุมเสนอให้
สปสช. ใช้วิธี outsource
9. การรายงานข้อมูลจะมีการทบทวนวิธีการ
โดย สธ จะนาเสนอทางเลือกที่ลดภาระงาน
ของหน่วยบริการให้มากที่สุด
10.สปสช. เห็นชอบในหลักการ ที่ สธ เสนอให้
ตั้งคณะทางานจาก สธ เพิ่มเติมในคณะ
อนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง
ของ สปสช. เพื่อให้กลไกการขับเคลื่อน
ต่อเนื่องทั้ง 2 ฝ่ าย
การจัดสรรเงินกองทุน UC ให้หน่วยบริการ
ภาครัฐ นอก สป สธ
+ เอกชน
ภาครัฐ ใน
สป สธ
สธ
(Strategy/Regulator)
สปสช
(จ่ายเงิน)
เขต 1
(KPI 1) เขต 2
(KPI 2)
เขต 3
(KPI 3)
เขต 4
(KPI 4)
เขต 5
(KPI 5)
เขต 6
(KPI 6)
เขต 7
(KPI 7)
เขต 8
(KPI 8)
เขต 9
(KPI 9)
เขต 10
(KPI 10)
เขต 11
(KPI 11)
เขต 12
(KPI 12)
เขต กทม
(KPI 13)
Brain
stroming
Negotiation
สวรส : Feasibility
study และ KPI
Service plan
จัดทัพขุนพล
Leadership
training program
กรม ต่างๆ : internal
audit ,สนับสนุนวิชาการ
Implement
Control &
Monitoring
National program :
ลดภาระ รายงานข้อมูล
Internal &
External audit
งบหลักประกันสุขภาพปี2556
1. งบพิจารณาโดยสานักงบประมาณ 2755
2. ควบคุมงบประมาณโดยซื้อยารวม การลดต้นทุน โดยเฉพาะกลุ่มโรค
เข้าถึงยาก สามารถลดได้ 5-6% ในกลุ่ม Dz Mx นากลับไปผป.
นอกใน แต่ ม.41 เพิ่มขึ้นตามมติบอร์ด 4 บาทที่เพิ่มกาหนดไม่ให้
exposure มาก NGO ขอมา
3. เพิ่มให้ผป.นอกใน มาก คิดว่า operation เป็ นไปได้ 6.94
ประสิทธิภาพใช้ยา ที่ลดจริงคือค่าเสื่อม
4. ชดเชยมีงบลงทุนเพิ่ม และเก็บ30 บาท
ข้อสังเกตเรื่องมูลค่าการใช้ยา
การบริโภคยาในประเทศ ระหว่างปี 2543-2551 เติบโต 111.0%
 ควรประเมินยาที่บริการโดยรพ.รัฐ สป เอกชน มหาวิทยาลัย
 จากการศึกษาของกรมบัญชีกลางโดยสวปก. จากโรงพยาบาล 31
แห่ง มีโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 16 แห่ง(จาก 880
แห่ง) แต่มีสัดส่วนการใช้ยานอกบัญชียาหลักราคาแพงเป็ นส่วนน้อย
เพียง 2,105 ล้านบาท (21%) จากทั้งหมด 10,040 ล้านบาท
โรงพยาบาลสังกัดอื่น 15 แห่ง ใช้ยาดังกล่าว 7,935ล้านบาท (79%)
ข้อเสนอแนวคิดการควบคุมค่าใช้จ่ายยา
รายการต้นทุน 2552 2553 2554
ต้นทุนค่ารักษาพยาบาล
ต ้นทุนยา -22,429.01 -25,105.97 -25,273.99
ต ้นทุนเวชภัณฑ์มิใช่ยาและวัสดุการแพทย์ -7,590.72 -9,206.17 -10,015.33
ต ้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ -4,781.54 -5,561.42 -6,194.37
รายการต้นทุน 2552 2553 2554
ค่าแรงบุคลากร
เงินเดือนและค่าจ้างประจา(รวม) -34,348.20 -37,082.06 -39,748.93
ค่าจ ้างชั่วคราว(รวม) -7,460.32 -8,907.14 -10,447.12
ค่าตอบแทน(รวม) -17,199.24 -22,603.37 -21,940.40
หมวดใช้จ่าย ร้อยละเพิ่มจากปี2551
เงินเดือนและค่าจ้างประจา(รวม) 15.72
ค่าจ ้างชั่วคราว(รวม) 40.04
ค่าตอบแทน(รวม) 27.57
ต ้นทุนยา 12.68
ต ้นทุนเวชภัณฑ์มิใช่ยาและวัสดุการแพทย์ 31.94
ต ้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ 29.55
ค่าใช้จ่ายที่เหมาะสมของรัฐ
เพื่อความเป็ นธรรมต่อคุณภาพบริการ
1. ค่าใช้จ่ายด้านยาในรพ.สังกัดสป.มีร้อยละการเพิ่มไม่มาก โดยค่าแรง
เพิ่มมากกว่า ในขณะที่มีปัญหาขาดแคลนกาลังคนจากภารกิจบริการ
ในประชาชนส่วนใหญ่ที่มากขึ้น ข้อเสนอควรทบทวนมาตรการเรื่อง
ยาในรพ.รัฐ อาจกระทบคุณภาพได้มาก
2. ค่าใช้จ่ายที่มีแนวโน้มเพิ่มอย่างมากในปัจจุบันคือค่าแรงบุคลากร การ
กาหนดนโยบายด้านบุคลากรและค่าใช้จ่ายที่เหมาะสมจะเป็ นส่วน
สาคัญในความสมดุลระหว่างคุณภาพกับค่าใช้จ่าย
3. ค่าใช้จ่ายที่เหมาะสมของรัฐเพื่อความเป็ นธรรมต่อคุณภาพบริการ
ประชาชนคือ ทางออกที่ควรพิจารณา
1) รัฐประเมินค่าใช้จ่ายที่เหมาะสมด้วยอัตราที่จะสามารถจัดเก็บภาษีได้
2) รัฐกาหนดคุณภาพบริการด้วยมาตรฐานการรักษาที่กาหนด (CPG)
3) รัฐกาหนดให้หน่วยบริการตามมาตรฐานทารายงานต้นทุนมาตรฐานเพื่อเสนอ
พิจารณา
4) พิจารณาส่วนขาดระหว่างงบที่รัฐพึงมี กับต้นทุนมาตรฐาน หากเกินให้ตัดลด
งบประมาณตามส่วน หากขาดกาหนดการระดมทุนในรูปแบบต่างๆ เช่น การร่วม
จ่าย การประกันล่วงหน้า
ข้อเสนอเชิงนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข
ด้านการควบคุมค่าใช้จ่าย
1. โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้บริการประชาชนเป็ นส่วนใหญ่ แต่อัตรา
เรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลอยู่ในเกณฑ์ต่า การปรับเกณฑ์ค่ารักษาพยาบาลใดๆ ต้อง
ระมัดระวังการกระทบผู้มารับบริการส่วนใหญ่ในเชิงคุณภาพ ซึ่งสถานบริการสังกัด
กระทรวงสาธารณสุขได้รับชดเชยค่ารักษาในเกณฑ์ต่าอยู่ก่อนแล้ว
2. สนับสนุนมาตรการการควบคุมค่าใช้จ่ายรักษาพยาบาล บนพื้นฐานของการรักษาที่มี
มาตรฐาน บริการที่มีคุณภาพ การใช้ยาสมเหตุสมผล ไม่ลดสิทธิ ดังนี้
1) ใช ้บัญชียาหลักแห่งชาติ โดยดารงไว ้ซึ่งคุณภาพและปรับปรุงให ้สอดคล ้องสภาวะปัจจุบัน
2) การควบคุมค่าใช ้จ่ายผู ้ป่ วยนอกให ้เป็นไปตามที่คณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกระทรวงการคลังกาหนด
การควบคุมให ้เริ่มจากมาตรการน้อยไปหามากเป็นลาดับ โดยควบคุมยาที่มีค่าใช ้จ่ายสูงก่อน
3) เห็นชอบกับ MEDISAVE โดยขอให ้เรียกเป็นกองทุนประกันสุขภาพบุคคล ซึ่งเป็นการนาหลักการออม
เงินเพื่อใช ้จ่ายดูแลสุขภาพเฉพาะสาหรับข ้าราชการใหม่ โดยต ้องปรับให ้เหมาะกับประเทศไทย
4) มีระบบป้องกันผลกระทบความเสี่ยงต่อความพึงพอใจการบริการของประชาชนต่อโรงพยาบาลภาครัฐ
โดยกองทุนเป็นผู ้ทาความเข ้าใจกับข ้าราชการ
5) การลดความเหลื่อมล้าระหว่างสิทธิ
6) อัตราการจ่ายค่ารักษาพยาบาลรายกลุ่มโรคควรเท่ากันในทุกระดับโรงพยาบาล
หลักการจัดบริการเพื่อควบคุมค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
(1 SUPPLY SIDE : 2 DEMAND SIDE)
1. การมุ่งเน้นควบคุมที่ตัวเงินงบประมาณภาครัฐ (1 SUPPLY SIDE) และ
กาหนดมาตรการกากับเรื่องวัสดุยามีความเสี่ยงต่อคุณภาพบริการและศรัทธา
บริการของประชาชนในโรงพยาบาลภาครัฐ (รพ.ชั้น2)
2. ใช ้หลักเกณฑ์เป้าหมายและบริการสุขภาพที่พึงประสงค์ของ WHOเป็นตัว
กาหนดการจัดระบบสุขภาพภายใต ้การสนับสนุนทางการเงินที่เหมาะสม แต่
ไม่ใช่ใช ้การเงินเพื่อนาหรือจากัดระบบสุขภาพ
3. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารงบประมาณและการบริการระบบบริการ(2
DEMAND SIDE)ก่อน
1) ประสิทธิภาพการบริหารงบประมาณโดยกองทุนต่างๆ
2) ประสิทธิภาพการจัดบริหารจัดการระบบโรงพยาบาล
ประสิทธิภาพการบริหารงบประมาณ
โดยกองทุนต่างๆ
1. การลดความซ้าซ ้อน หลากหลาย ให ้สอดคล ้องกลมกลืนทั้งสิทธิประโยชน์
และอัตราชดเชย
2. การลดบทบาทผู้จัดการระบบบริการ
1. ให ้ความสาคัญเรื่อง Basic Coverage เป็นลาดับแรกก่อน National Security
2. ใช ้กลไกทางการเงินผลักดันรูปแบบบริการเฉพาะแยกย่อยหลากหลาย รับประกัน
โรคยากราคาแพง แต่ถั่วจ่ายบริการพื้นฐาน
3. การจัดสรรเงินแยกย่อยรายโรงพยาบาล ไม่สอดคล ้องกับการจัดบริการแบบ
(Service Plan:กสธ)
ประสิทธิภาพการจัดบริหารจัดการระบบโรงพยาบาล
1. การพัฒนาระบบบริการแบบเครือข่าย Network for Regional Healthcare
Improvement
1) Optimal Scale : ก้อนงบประมาณใหญ่พอต่อการปรับเกลี่ยจัดบริการทั้งเครือข่าย
2) จัดระบบบริการที่สอดคล้องปฐมภูมิถึงตติยภูมิขั้นสูงภายใต้แนวคิด Eco Health &
Eco Service
3) สนับสนุนการจัดบริการร่วม PPP ลดการแข่งขันแย่งลูกค้ากันจนขาดทุน เป็ นเพิ่ม
การแบ่งปันบริการร่วมกันอยู่รอดด้วยกัน
2. การพัฒนาการบริหารคลังและวัสดุ
1) National CPG
2) กรอบรายการมาตรฐานบัญชียาหลัก
3) การพัฒนาระบบต่อรองราคา : มาตรฐานราคาเดียว
4) การพัฒนาระบบบริหารคลัง : มาตรฐานคลังเดียว
3. การพัฒนารูปแบบการจัดสรรค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรที่เหมาะสม P4P
หน่วย
อื่น
บริการ
ตติยภูมิ
บริการทุติยภูมิ
บริการปฐมภูมิ
สาธารณสุขมูลฐาน
SELF CARE
UNIVERSAL COVERAGE
ACCESSIBILITY
QUALITY
SECURITY
ประชาชน
ภาครัฐ
สสอ.
สสจ.
สธ.
เขต
ประกัน
อื่นๆ
กรม.
สถาน
ศึกษา
NGO
LOCALIZE
PRIMARY
CARE
SATELLITE
OUT -PATIENT
CENTRALIZED
IN-PATIENT
EXCELLENCE
CENTER
FUNCTINAL
SERVICE PLAN
การจัดโครงสร้าง
เครือข่ายบริการรองรับทุกโรค
ตอบสนองการบริการประชาชน
และมีประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร
CONTACTING UNIT
FOR REGIONAL CARE
การปรับการรับพันธะสัญญา
เป็ นเครือข่ายบริการระดับ
เขตพื้นที่สุขภาพตามผังบริการ
ผังเครือข่ายบริการเบ็ดเสร็จไร้รอยต่อ
LOCALIZE
PRIMARY
CARE
SATELLITE
OUT -PATIENT
CENTRALIZED
IN-PATIENT
EXCELLENCE
CENTER
การจัดบริการให้เกิดลักษณะ
FUNCTIONAL SERVICE PLAN
1.จัดบริการปฐมภูมิที่มี
คุณภาพในชุมชนให้
ครอบคลุมทั่วถึง
3.จัดบริการผู้ป่ วยในที่
เป็ นศุนย์กลางมี
ทรัพยากรบริการและ
บุคลากรเฉพาะที่
รวบรวมไว้อย่าง
เพียงพอต่อบริการ
2.จัดบริการแบบผู้ป่ วย
นอกแบบไม่มีเตียงผู้ป่ วย
ให้กระจายทั่วถึงเพื่อ
ป้ องกันความหนาแน่น
ของรพ.รักษาผป.ใน
4.การจัดบริการ
ระดับสูง ในโรคที่มี
ความเสี่ยงและมี
แนวโน้มสูงเพื่อความ
ปลอดภัยของผู้ป่ วย
งบขาขึ้น
• ประเมินตามบัญชีใช้จ่ายภาพรวมต่ากว่าจริง
• คานวณแยกหลายกองทุนต่อหัวเป็นเบี้ยหัวแตก
• สานักงบตัดงบโดยลดอัตราให้บริการสวนทางบริการจริงที่มากขึ้น
งบขาลง
• มีการจัดการแยกย่อยมากมาย ยิ่งทาให้เกิดเบี้ยหัวแตก
• มีการจัดสรรรายรพ.โดยตรง งบรายหัวแตกต่าง๔๐๐-๑๒๐๐บาท
หน่วย
บริการ
• งบเหมาจ่ายปลายปิดเฉลี่ยผลงาน รับภาระเสี่ยง
• กลไกชดเชยกลบความไม่เพียงพองบหลักประกัน
ประชาชน
•เข้าถึงสิทธิหลากหลาย ขาดกลไกควบคุมจนหนาแน่นรพ. ขาดคุณภาพ
•เหลื่อมล้าเข้าถึงบริการที่ไม่เท่าเทียมด้วยปัจจัยการเงินรายรพ.ที่แตกต่าง
1. รัฐมีข้อจากัดและจากัดช่องทางการเงินในระบบบริการทาให้
โรงพยาบาลมีความเสี่ยงในการจัดบริการสุขภาพ
2. การผลักภาระความเสี่ยงค่าใช้จ่ายจากกองทุนประกันสุขภาพ
ไปให้หน่วยบริการ
3. อานาจอิสระที่ขาดสมดุลจากกองทุนในการกาหนดหลักเกณฑ์
จัดสรรภายในและระหว่างกองทุนทาให้เกิดความเหลื่อมล้าใน
การจัดบริการประชาชนที่มีคุณภาพ มีปัญหาความเท่าเทียม
และเป็ นธรรม
4. ระบบสุขภาพมีความซับซ้อนมากขึ้น มีหน่วยงานในและนอก
กากับของกระทรวงสาธารณสุขที่หลากหลายเข้ามามีบทบาท
ในระบบสุขภาพแต่ขาดเอกภาพบูรณาการ
5. การดาเนินการในส่วนของผู้ซื้อบริการทั้งภาครัฐและ
ภาคเอกชนอยู่ภายใต้กากับของกฎหมายหลายฉบับ รวมทั้งมี
การดาเนินการที่ไม่ประสานกัน ในส่วนของผู้ให้บริการภาครัฐ
และเอกชนต่างมีแนวทางในการทางานของตนเอง
แสดงระบบการเงินในประกัน
สุขภาพเป็ นเพียง1ใน9ของ
องค์ประกอบระบบสุขภาพ
การพัฒนาโดยระบบประกัน
สุขภาพโดยใช้การเงินที่จากัด
เป็ นตัวนา ขับเคลื่อนระบบสุขภาพ
เป็ นหลัก นาไปสู่การขาดความ
เข้มแข็งที่ยั่งยืนของระบบสุขภาพ
ในประเทศไทย
สถานการณ์ปัญหาการเงินเชิงลึกในระบบบริการ
หลักประกันสุขภาพไทย
1. กองทุนUCจัดสรรค่ารักษาให้ต่ากว่าราคาค่ารักษาพยาบาลที่เรียก
เก็บอย่างมาก (62.13%)
2. กองทุนUC จัดสรรแบบ Cost Controlled, Close Ended, Global
Budget นาเงินส่วนหนึ่งไปจูงใจทางาน เมื่อผลงานเกินวงเงินใช้การ
ปรับเกลี่ย
3. มีการชดเชยความไม่เพียงพอกองทุน UC ด้วยเงินส่วนอื่นและการ
ปรับเกลี่ยช่วยเหลือความไม่เพียงพองบUCในระดับจังหวัด
4. รพศ./ท. มีส่วนต่างค่าใช้จ่ายเรียกเก็บกับรายรับจริง(หนี้สูญ)จาก
UC มากกว่ารพช.มาก และมีการชดเชยรายได้จริงจากnon UC ไป
ช่วยรพช.จานวนมาก กลบปัญหาเงินUC ไม่เพียงพอมาตลอด
5. รพศ/ท.หลายแห่ง จานวน 1/3 เช่นอภัยภูเบศวร์,ตรัง,พุทธเลิศหล้า,
อินทร์บุรี ฯลฯที่เคยมีรายได้มั่นคงเกิดวิกฤตการเงินอย่างต่อเนื่อง
ในช่วง10 ปี
หมายเหตุ : ข้อมูลจากบัญชีบริหารหน่วยบริการ 832 แห่งสังกัดสป.ปี 2553
UC ,
67,499
, 60%
NonUC ,
44,469 ,
40%
ARรายได้พึงได้-รายได้รับจริง=หนี้สูญ
25,563
1,424
- 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 70,000 80,000
UC
Non
UC
NetIncome I-R Different
ล้านบาท
UC ,
41,936
, 49%
NonUC,
43,045
, 51%
รายได้พึงได้เป็ นราคาเรียกเก็บตามมาตรฐานบัญชีราคา
มีการแยกเก็บตามสิทธิรักษาที่สะท้อนสัดส่วนรายสิทธิ์ได้
ดีพบว่าภาพรวมทุกรพ.มีหนี้สูญจากกองทุน UC ถึง
25,563 ล้านบาท ในขณะที่กองทุน non UC เพียง
1,424 ล้านเท่านั้น
ข ้อมูลจากบัญชีบริหารหน่วยบริการ 832 แห่ง สังกัดสป. ณ 30 กันยายน 2553
UC
non
UC
Net Income Loss
Receivable 36,630,464,244.11 33,298,478,498.77
Net Income 17,636,015,908.08 31,011,587,697.18
Loss -18,994,448,336.03 -2,286,890,801.59
% Grain 48.15 93.13
% Loss -51.85 -6.87
แสดงผลต่างรายได้พึงได้กับรายได้รับจริง: ¾ ของหนี้สูญ
ทั้งหมด ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มรพศ.รพท. มูลค่า 18,994ลบ.
รพศ/ท.,
18,994,
74.30%
รพช.,
6,569,
25.70%
ในขณะที่รายได้พึงรับซึ่งเป็ นไปตามปริมาณให้บริการมีมูลค่าใกล้เคียงระหว่างUCกับ
Non UC แต่รายได้รับจริงสุทธิส่วนใหญ่มาจาก non UC เกือบเท่าตัว
การชดเชย 6 ระบบส่วนใหญ่จากรพศ/ท.
:กลบปัญหาเงินกองทุนUCไม่เพียงพอ
Adjust Prepaid ส่วนใหญ่รพศ/ท. 1,586.82
Non UC Cross
Subsidize
ส่วนใหญ่รพศ/ท. 1,671.98
Referral Debt ส่วนใหญ่รพศ/ท. 983.93
Adjust Postpaid ส่วนใหญ่รพศ/ท. 118.73
Labor Overload Provider Staffs ?
I-R Difference ส่วนใหญ่รพศ/ท. 25,563.01
Total >29,924.47
35%
4%
4%
29%
17%
2% 1%
8%
33%
8%
3%
35
%
8%
10%
34%
4%3%
31%
12%
11%
54%
3%
14%
9%
3% 13%
65%
2%
16%
4%
2%
9%
67%
2%
14%
4%
2%
9%
72
%
11%
3% 2% 7%
UC
ตามจ่ายUC
เบิกต้นสังกัด
ขรก
ประกันสังคม
พรบ.3
รง.ต่างด้าว
อื่น ๆ
33%
5%
3%
34%
8%
3%
12%
36%
4%
3%
31%
8%
3%
13%
16,760
,MB,
40%
12,408
MB ,
29%
12,970
MB
,31%
UC
20,048
MB
48%
NON
UC
22,091
MB
52%
1.การจัดสรรตามรายหัวโดยรวมเงินเดือน เป็ นสาเหตุให้เกิดความ
แตกต่างงบบริการและสถานบริการประสบปัญหาค่าใช้จ่าย
2.กลไกการชดเชยมีความไม่เพียงพอ ทาให้มองไม่เห็นปัญหา
การเงินแต่ได้สะสมและขยายตัวรุนแรง
3.การจัดสรรเหมาจ่ายปลายปิด และมีการกันเงินจานวนมากที่
กองกลาง เป็ นกองทุนย่อย ทาให้งบบริการพื้นฐานของหน่วย
บริการไม่เพียงพอ
4.การทุ่มงบไปในงบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทาให้งบโครงสร้าง
พื้นฐานลดน้อยลงอย่างมากและทาให้งบในการส่งเสริมสุขภาพ
และป้ องกันโรคไม่เพิ่ม
5.ผู้ป่ วยในระบบหลักประกันสุขภาพเพิ่มขึ้นอย่างมาก ทาให้
เกิดการขาดแคลนบุคลากร และโครงสร้างพื้นฐาน และงบประมาณ
บริการ
4,609
-1,246
-1,887
-4,692
5,179
7,837
4,090
-6,000
-4,000
-2,000
0
2,000
4,000
6,000
8,000
10,000
12,000
2551/Q4 2552/Q4 2553/Q2 2553/Q4 2554/Q2 2554/Q4 2555/Q2
NI &DEPRECIATION(ล้าน)
UC
เหลือค้างท่อ
18,000ล้าน
UC
เหลือค้างท่อ
4,200 ล้าน
UC
เหลือค้างท่อ
260 ล้าน
โดยกลไกการจัดสรรปี 2553 มีเงินค้างท่อจานวนมากส่งผลให้รพ.ขาดทุนอย่างมาก
การปรับกลไกการจัดสรรอย่างเร่งรัดทาให้การเงินปี 2554 ดีขึ้นอย่างชัดเจน
Reference: http://www.dcp2.org/pubs/PIH
PURCHASER
บริการจัดการพิเศษ
/เฉพาะโรคยากราคาแพง
45,438ล้าน
PROVIDER
บริการพื้นฐาน
OPD IPD PP
1,289฿:53,829ล้าน
47ล้านคน
Two overarching themes:
Current resources can yield substantial
health gains if knowledge of cost-
effective interventions were applied
more fully.
Additional resources are needed in low-
income countries to minimize the glaring
inequities in health care. Increased
resources would provide highly-effective
interventions, expand research, and
extend basic health coverage to more
people
Priorities in Health
? ?
การกันเงินจานวนมากเพื่อรองรับโรคราคาแพงป้ องกันการล้มละลายในครัวเรือนแต่จากัด
ค่าใช้จ่ายพื้นฐานในหน่วยบริการจนขาดสมดุลคุณภาพบริการประชาชนส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบ
กรอบแนวคิดองค์การอนามัยโลกลดการจัดการเฉพาะโรค(OOP=objective
Oriented Programs) เพื่อเพิ่มบริการสุขภาพที่ครอบคลุม
การจัดสรรตามรายหัวล่วงหน้า
ไม่รวมเงินเดือน
ปีงบ
ประมา
ณ
อัตราต่อหัว
ประชากร
เฉลี่ยทั้ง
ประเทศ
อัตราต่อหัวประชากร
น้อยที่สุด
อัตราต่อหัวประชากร
มากที่สุด
อัตรา จังหวัด อัตรา จังหวัด
2551 946.14 444.03 สมุทรสงคราม 1,207.17 น่าน
2552 958.57 413.47 สมุทรสงคราม 1,231.36 อุบลราชธานี
2553 986.32 430.07 สมุทรสงคราม 1,232.22 อุบลราชธานี
2554 1007.97 404.41 สมุทรสงคราม 1,134,33 พิษณุโลก
แสดงความแตกต่างของการจัดสรรตามหลักเกณฑ์กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
จานวนปชก. ประเภทปชก. คุณภาพงานปริมาณงาน
ปชก.มาก/รพ.เล็ก/ ขรกในรพ..น้อย ปชก.น้อย/รพ.ใหญ่/
กลไกการจัดสรรตามรายหัวหักเงินเดือนจ่ายตรงไปยังหน่วยบริการ
แบบแยกย่อยขาดกลไกบริหารกลางเพื่อความเท่าเทียมและประสิทธิภาพ
1. เกิดความแตกต่างค่าหัวรายหน่วยบริการอย่างหลากหลายกระทบต่อความสามารถ
จัดบริการ เกิดความแตกต่างจนปรากฏเป็ นความเหลื่อมล้าในประชาชนต่างพื้นที่กัน
2. เกิดความเหลื่อมล้าในสิทธิ สวัสดิการ ในการให้บริการของผู้ให้บริการ กรณีงานหนักกว่าหรือ
เท่ากัน แต่รายได้ต่อหัวน้อยได้รับผลตอบแทนอย่างจากัด
3. การจ่ายตรงไปหน่วยบริการ ไม่สามารถบริหารภาพรวมทาให้มีข้อจากัดกีดกั้นการพัฒนา
อัตรากาลัง ค่าจ้างกรณีมีเหตุผลพร้อมในการเพิ่มอัตรากาลัง แต่ไม่มีเงินจ้าง
4. เกิดลักษณะการแข่งขันที่ไม่เป็ นธรรมลักษณะมือใครยาวสาวได้สาวเอา และการกินหัวคิว เช่น
หน่วยบริการที่มีความพร้อมสามารถแย่งบริการเพื่อรับค่าชดเชยบริการอัตราสูงพิเศษกรณี
ผ่าตัดต้อกระจก โรคไต ผ่าหัวใจ
5. การบริหารจัดการแบบแยกย่อย ทาให้ขาดประสิทธิภาพเชิงระบบบริหารร่วม จากการต่างคน
ต่างซื้อ ต่างหา ในหน่วยที่มีรายรับจากการจัดสรรดีมีอานาจการใช้จ่ายและลงทุนอิสระจนเกิน
ความเหมาะสม ในขณะที่หน่วยได้รับจัดสรรน้อยเกิดการประหยัดจนขาดแคลนคุณภาพ
ทั้งหมดเกิดจากความอคติในระบบที่ต้องการแยกหน่วยบริหารสนับสนุนออก
จากหน่วยบริการ และนาหน่วยบริการขึ้นตรงกับอานาจทางการเงินของกองทุน
การขาดบูรณาการศักยภาพบริหารและงบประมาณนาไปสู่ความอ่อนแอในระบบ
บริการสุขภาพของรัฐ ทั้งสร้างความเหลื่อมล้าระหว่างกองทุน หน่วยบริการ
และประชาชนมาอย่างต่อเนื่อง
อคคติระบบ แยกบริหารออกจากบริการ
จ่ายแยกย่อยแยกหน่วยบริการแยกกันอยู่
1. เกลียดปลาไหล(กระทรวง)กินนาแกง(สสจ.สานักงานสาขาจังหวัด)
2. บทบาทสสจ.สานักงานสาขาจังหวัดเครื่องมือสปสช.
3. บทบาทสาธารณสุขอาเภอหายไป ไปอยู่กับรพช.แทน
4. รพช.ฝืนศักยภาพและวัฒนธรรมบริการ ปีนรั้วออกไปดูแลจัดการสถานีอนามัยในฐานะ
เจ้าของเงินคู่สัญญาหลักสปสช.สร้างระบบปฐมภูมิ บนภาระทุติยภูมิซึ่งหนักมากอยู่ก่อน
ยิ่งหนักมากขึ้น
5. การจ่ายเงินตรงไปยังหน่วยบริการทาให้เกิดรัฐอิสระในรพช. แยกบริการแยกบริหาร ต่าง
คนต่างเอาตัวรอด
6. ลูกเฉยๆกับพ่อ(กสธ)ที่ไม่มีเงิน มารักแม่(สปสช.)ที่มีเงินให้ตลอด
ผลกระทบต่อหน่วยบริการ
และประชาชน
แยกส่วนบริหาร
ขาดความเป็ นเอกภาพ
อุดมการณ์ที่สูญเสียไป
เผชิญปัญหาโดดเดี่ยว
ไม่ได้มองภาพรวม
บริการแออัด
เหลื่อมล้าไม่เท่าเทียม
ถูกปฏิเสธการรักษา
ไม่แน่ใจในคุณภาพ
กสธ.
สปสช.
สังกัดอื่น
 เสถียรภาพระบบสุขภาพที่จะยั่งยืนได้ต้องมี
ความสมดุลเหมือนเก้าอี้สามขา ปัจจุบันมีขา
หนึ่งที่อ่อนแอลงจนเสี่ยงต่อการทาให้เก้าอี้
สุขภาพล้มลง
 ขา 1 ด้านประชาชนผู้รับบริการขยายใหญ่
ขึ้นด้วยการเข้าถึงบริการพร้อมมีความพึง
พอใจอย่างมาก
 ขา 2 ด้านกองทุน ผู้จัดการงบสุขภาพประสบ
ความสาเร็จด้านประสิทธิภาพการควบคุม
ค่าใช้จ่ายพร้อมขยายสิทธิประโยชน์ได้
หลากหลาย จนมีชื่อเสียงในเวทีโลก
 ขา 3 ด้านโรงพยาบาล ผู้ให้บริการภาครัฐ
ประสบปัญหาวิกฤตการเงินและกาลังคน
ต้องรองรับการขยายตัวของขาที่ 1 และ 2
มาตลอด จนอยู่ในภาวะอ่อนแอเสี่ยงที่จะหัก
FUNDs
PROVIDER CUSTOMER
FINANCIAL
STABILITY
ความมั่นคงทางการเงินเพื่อสมดุลระบบสุขภาพ
ความเหลื่อมล้าในบริการสุขภาพ
การพัฒนาคุณภาพ
ระบบหลักประกันสุขภาพ
1. PLUS UC PLUS QUALITY : การพัฒนาคุณภาพระบบ
หลักประกันสุขภาพโดยการสมทบจ่ายแบบไม่เป็ นภาระประชาชน สามารถ
สร้างความมีส่วนร่วมบนเงื่อนไขคุณภาพที่สูงขึ้น มีสมดุลพึงพอใจชดเชย
จากเดิมที่ไม่ต้องร่วมจ่าย
2. FINANCIAL STABILITY UC RENOVATION การสร้าง
ความมั่นคงทางการเงินการคลังเพื่อสนับสนุนระบบบริการสุขภาพอย่าง
ยั่งยืนและรัฐสามารถรองรับภาระด้านงบประมาณได้อย่างเหมาะสม
3. NATIONAL HEALTH EQUITY REGULATION การลด
ความเหลื่อมล้าในบริการสุขภาพจากกลไกความแตกต่างใน 3 กองทุน โดย
สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพได้อย่างทั่วถึงเป็ นธรรมและเท่าเทียม
1. สร้างกลไกการมีส่วนร่วมการดูแลสุขภาพของประชาชนในรูปแบบการ
ร่วมจ่ายเพื่อสร้างความตระหนักในคุณค่าบริการ
2. ประชาชนผู้ยากไร้ไม่ต้องร่วมจ่ายมีสิทธิได้รับความคุ้มครองตามสิทธิ
ประโยชน์หลักและสิทธิสงเคราะห์ในสิทธิประโยชน์พิเศษที่จาเป็ น
3. ร่วมจ่ายรายครั้งตามอัตราต่าสามารถร่วมจ่ายได้ตามที่รัฐกาหนด เพื่อ
เพื่อความสะดวกและพึงพอใจในบริการ
4. ประกันสมทบโดยท้องถิ่น มูลนิธิ กองทุน หรือประกันเอกชน ในอัตราต่า
ล่วงหน้าเลือกได้หลายอัตราตามสิทธิประโยชน์พิเศษเพิ่มเติมจากสิทธิ
ประโยชน์หลักแห่งชาติ
5. พัฒนาเป็ นกองทุนหลักประกันที่มีการร่วมจ่ายเป็ นกองทุนเงินออมด้าน
สุขภาพ สร้างความเป็ นเจ้าของลดการใช้บริการเกินจาเป็ นโดยกลไก
หากดูแลสุขภาพดีมีเงินกองทุนจ่ายเป็ นกองทุนสงเคราะห์ยามชราหรือ
เป็ นมรดกให้ลูกหลาน
1. การเปิดช่องร่วมจ่ายทั้งรัฐร่วม ท้องถิ่น ชุมชน และบุคคลเป็ นเจ้าของระบบ
บริการสุขภาพแบบสร้างแรงจูงใจดูแลสุขภาพเพื่อลดการใช้บริการเกิน
จาเป็ นโดย กองทุนสุขภาพดีมีบานาญสะสมคืน
2. การบริหารการจัดสรรงบกองทุนหลักประกันใหม่โดยการปรับเกลี่ยเงินเดือน
ระดับประเทศ Mean+/-SD และการบริหารจัดสรรเงินค้างท่อแบบให้หมดใน
ปีงบประมาณ
3. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลังตามกระบวนการ FAI
(Financial Administration Index) คือการควบคุมภายใน การจัดทา
บัญชี การบริหารการเงิน การบริหารประสิทธิภาพด้วยUnit Cost
4. ระบบบริการใหม่แบบเครือข่ายบริการเบ็ดเสร็จครบวงจรเขตพื้นที่สุขภาพ
พัฒนาคุณภาพในแต่ละระดับ และมีระบบรองรับบริการรอยต่อที่มีคุณภาพ
ภายใต้การบริหารจัดวางทรัพยากรสุขภาพที่คุ้มค่ามีประสิทธิภาพ เพิ่ม
คุณภาพ ลดการแย่งทรัพยากร (Functional Service Plan)
5. การบริหารการเงินโดยเครือข่ายพันธะสัญญาเขตพื้นที่เครือข่ายบริการ
สุขภาพ เพื่อให้มีวงเงินตามหัวประชากรเพียงพอ และมีการจัดสรรหรือปรับ
เกลี่ยสอดคล้องตามปัญหา ความต้องการ และภาระงานในพื้นที่
ทุนสารองสุทธิ
33,774
29,106
27,786
25,181
31,506 31,580
34,868
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
30,000
35,000
40,000
2551/Q4 2552/Q4 2553/Q2 2553/Q4 2554/Q2 2554/Q4 2555/Q2
ทุนสารองสุทธิ(ล้านบาท)
สถานการณ์เงินบารุงสุทธิ
15,058
18,673
11,992
7,146
17,770
12,778
16,531
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
2550/Q4 2551/Q4 2552/Q4 2553/Q4 2554/Q2 2554/Q4 2555/Q2
เงินบารุงสุทธิ(ล้าน)
ขาดทุน
505รพ.
(63%)
กาไร
302รพ.
(37%)
Q4/2552
ขาดทุน,
585,
71%
กาไร,
236,
29%
Q4-2553
7,388
ล้านบาท
ขาดทุน
540รพ.
(67%)
กาไร
267รพ.
(33%)
ขาดทุน
308
รพ.
37%
กาไร
518 รพ
63%
ผลประกอบการแยกกลุ่มกาไร -ขาดทุน
ขาดทุน,
303รพ,
37%
กาไร,
525รพ,
63%
Q4-2554
ขาดทุน,
432,
52%
กาไร,
393,
48%
ขาดทุน
505รพ.
(63%)
กาไร
302รพ.
(37%)
Q4/2552
ขาดทุน,
585,
71%
กาไร,
236,
29%
Q4-2553
ขาดทุน,
303รพ,
37%
กาไร,
525รพ,
63%
Q4-2554
สัดส่วนประชากรในพื้นที่มีมากเพียงพอ
ต่องบประมาณบริการสุขภาพรายหัว
เขต
ประชากร (คน) งบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (ล้านบาท)
ปชก.
ทุกสิทธิ
ปชก.
UC
ร้อยละ
UC งบทั้งหมด สปสชกัน
ยอด
จัดสรร
ส่วน
เงินเดือน
ส่วน
ดาเนินงาน
1 5,671,371 3,989,087 70.34 11,550.80 2,643.35 8,907.46 3,504.34 5,403.12
2 3,442,845 2,564,710 74.49 7,426.37 2,048.57 5,377.80 2,083.76 3,294.05
3 3,016,171 2,308,532 76.54 6,684.59 1,936.53 4,748.05 1,725.19 3,022.86
4 4,995,085 2,943,096 58.92 8,522.03 2,132.73 6,389.29 3,099.92 3,289.37
5 5,044,058 3,622,365 71.81 10,488.92 2,812.45 7,676.47 3,335.73 4,340.74
6 5,548,017 3,564,801 64.25 10,322.24 2,799.08 7,523.16 2,894.16 4,629.00
7 5,000,798 3,723,961 74.47 10,783.10 3,555.62 7,227.48 2,172.29 5,055.19
8 5,410,954 4,273,434 78.98 12,374.16 4,453.30 7,920.86 2,340.73 5,580.13
9 6,645,038 5,007,960 75.36 14,501.05 4,360.03 10,141.02 2,605.65 7,535.36
10 4,516,528 3,531,393 78.19 10,225.50 3,213.74 7,011.76 2,069.79 4,941.96
11 4,226,870 3,318,083 78.50 9,607.84 2,859.14 6,748.70 2,662.12 4,086.58
12 4,666,180 3,866,599 82.86 11,196.12 3,728.87 7,467.26 2,914.46 4,552.80
รวม 58,183,915 42,714,021 123,682.72 36,543.41 87,139.31 31,408.15 55,731.16
การกระจายงบเหมาจ่ายรายหัว
จัดสรรภาพรวมและหักเงินเดือนระดับเขต
งบดาเนินการ 2555
หักเงินเดือนรายเขต (เสนอ)
1294.94 1504.68 1117.66 387.02
งบดาเนินการ2553
หักเงินเดือนรายรพ. (สปสช.)
1,028.85 1,522.17 267.76 1,254.41
งบดาเนินการ2555
เกลี่ยเงินเดือนรายจ.(สปสช.)
1,304.75 1,653.25 869.94 783.61
Central
Reimbursement
Budget
Regional Criteria & Plan
For Expenditure Budget
งบประมาณ
หลักประกัน
สุขภาพราย
เขต
Regional Category & Criteria
For Performance Budget
HOSPITAL MIN BUDGET
HOSPITAL PERFORMANCE
ภาพรวมการบริหารงบประมาณหลักประกันสุขภาพรายเขต
งบผลงานทั้งปี
=งบใช้จ่ายขั้นต่า
+งบเพิ่มเติมปลายปี
งบเพิ่มเติมปลายปี
=ผลงานทั้งปี
-ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า
ให้จัดสรรงบบริการตามค่าใช้จ่ายพื้นฐานขั้นต้น
เพียงพอก่อน จึงจัดสรรงบส่วนที่เหลือตามผลงาน
เขต ปชก.UC
งบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปี 2555 (ล้านบาท) ค่าใช้จ่าย
ขั้นต่า(ล้าน
บาท)งบทั้งหมด สปสชกัน
งบ
ล่วงหน้า
เงิน
เดือน
ดาเนิน
งาน
1 3,989,087 11,550.80 2,643.35 8,907.46 3,504.34 5,403.12 4,899.00
2 2,564,710 7,426.37 2,048.57 5,377.80 2,083.76 3,294.05 3,350.60
3 2,308,532 6,684.59 1,936.53 4,748.05 1,725.19 3,022.86 2,327.36
4 2,943,096 8,522.03 2,132.73 6,389.29 3,099.92 3,289.37 3,627.62
5 3,622,365 10,488.92 2,812.45 7,676.47 3,335.73 4,340.74 4,794.46
6 3,564,801 10,322.24 2,799.08 7,523.16 2,894.16 4,629.00 4,431.00
7 3,723,961 10,783.10 3,555.62 7,227.48 2,172.29 5,055.19 4,427.83
8 4,273,434 12,374.16 4,453.30 7,920.86 2,340.73 5,580.13 4,562.20
9 5,007,960 14,501.05 4,360.03 10,141.02 2,605.65 7,535.36 5,885.81
10 3,531,393 10,225.50 3,213.74 7,011.76 2,069.79 4,941.96 3,600.43
11 3,318,083 9,607.84 2,859.14 6,748.70 2,662.12 4,086.58 3,769.47
12 3,866,599 11,196.12 3,728.87 7,467.26 2,914.46 4,552.80 4,066.10
รวม 42,714,021 123,682.72 36,543.41 87,139.31 31,408.15 55,731.16 49,741.89
1. กาหนดกรอบและทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ พร้อมปรับดุล
ระบบจัดสรรจากกองทุน โดยคณะกรรมการระบบบริการสุขภาพแห่งชาติ
2. บทบาทการนาด้านสุขภาพที่เป็ นกลางของประเทศ เพื่อเป็ นกลไกกากับ
นโยบายและอภิบาลระบบบริการสุขภาพซึ่งเป็ นด่านหน้า
3. กากับปรับทิศแก้ปั ญหาความเหลื่อมล้าระหว่างสิทธิ์และกาหนดสิทธิ
ประโยชน์เสริมตามกลไกการร่วมจ่ายเพิ่มโดยสมาชิกแต่ละกองทุน
4. สร้างความเป็ นธรรมโดยการกาหนดค่าบริการที่เป็ นธรรมเป็ นอัตรา
เดียวกันทุกสิทธิ์
5. สร้างความสมดุลและเป็ นธรรมทั้งประชาชนผู้มีสิทธิ์ หน่วยผู้ให้บริการ และ
กองทุนผู้ซื้อบริการ
REGULATOR
COORDINATOR
องค์กร
ต่างๆ
กรมบัญชีกลาง
สปส.
สปสช.
กรมใน
กสธ.
หน่วย
งาน ส.
AREA
HEALTH
BOARD
คานสมดุลในระบบบริการสุขภาพ
CARE RIGHT
LOCALIZE
PRIMARY
CARE
SATELLITE
OUT -PATIENT
CENTRALIZED
IN-PATIENT
EXCELLENCE
CENTER
.
.
1. การออกแบบระบบสุขภาพสาธารณะที่มีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดบน
ผลผลิตสุขภาพประชาชาติที่มากที่สุด
2. พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพป้ องกันโรคในระดับชุมชนและปฐมภูมิ
ที่ครอบคลุมมีคุณภาพเพื่อให้ประชาชนแข็งแรงไม่เจ็บป่ วย
3. ลดการป่ วย ลดความหนาแน่น ในรพศ.รพท. เพื่อรักษาโรคยาก
ซับซ้อน จัดระบบบริการผป.นอกทั่วถึงในรพ.ขนาดเล็ก
4. ให้ความสาคัญกับการวางหน่วยบริการและจัดสรรทรัพยากรใน
บริการที่เหมาะสมคุ้มค่าคุ้มทุน ลดการแข่งขันมาเป็ นแบ่งปัน
บริการเพื่อความมั่นคงทั้งเครือข่าย
“การเงินในระบบสุขภาพที่พึงประสงค์
ไม่ใช่การใช้ข้อจากัดทางการเงินจากการควบคุมงบประมาณ
มาเป็นกลไกนากากับระบบสุขภาพจนขาดคุณภาพ
และไม่ใช่การใช้การเงินขับเคลื่อนบริการสุขภาพราคาแพงๆ
แต่มีผลิตผลสุขภาพประชาชาติที่ต่า
ควรใช้การเงินเป็นกลไกสนับสนุนการสร้างระบบสุขภาพ
ที่มีรูปแบบซึ่งควบคุมค่าใช้จ่ายโดยตัวระบบเอง
แต่สร้างผลิตภาพแก่ประชาชาติอย่างคุ้มค่า”
องค์ประกอบและมิติตัวชี้วัด
การเงินการคลังในหน่วยบริการ
หน่วยประเมินผล
(Indicator
owner)
ตัวชี้วัดเชิง
ผลลัพธ์
(Out put indicator)
ตัวชี้วัดเชิงกระบวนการ
(Process indicator)
เครื่องมือ
(Indicator Tool)
กพร./รมต. Ministry FSt Ministry FAI Ministry FSu
สป.สธ. Regional FSt Regional FAI Regional FSu
สตป. Provincial FSt Provincial FAI Provincial FSu
สสจ. Hospital FSt Hospital FAI Hospital FSu
อธิบายคาย่อ FSt=Financial
Stability
FAI=Financial
Administration
Index
FSu=Financial
Surveillance
1. FAI มี 4 ระดับ ระดับกระทรวง ระดับเขต ระดับรพ. และระดับจังหวัด
2. FAI = Process Evaluation For Indicator Financial
Stability by Financial Surveillance
3. Process indicator = individual measurement for
Status evaluation for development
4. FAI : evaluated by Inspectors that training by
Hig.Moph department
5. Financial Stability = Out put indicator ,Evaluated
by Financial data from Accrual basis
6. Financial surveillance = Tool for Financial
Administration, calculated by risk ratio scoring
1. ดัชนีแสดงความมั่นคงทางการเงินของหน่วยบริการ
2. ผลลัพธ์ของกระบวนการบริหารจัดการการเงินการคลัง FAI
3. วัดกลไกการจัดสรรเงินที่เพียงพอจากทุกกองทุน การปรับเกลี่ยและบริหารงบระดับเขต /
จังหวัด และการบริหารการเงินการคลังในหน่วยบริการ
4. ที่มาคือการแก้ปั ญหาการเงินจากระบบหลักประกันสุขภาพโดยการขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงใน
ประเด็นเพื่อให้หน่วยบริการมีความมั่นคงทางการเงิน
5. ดัชนีการเงินที่ใช้คือ ผลประกอบการ NI>0 ซึ่งได้รับจัดสรรส่วนใหญ่จากกองทุนรายปี มี
ความเพียงพอในการจัดบริการในรอบปี
6. กาหนดเกณฑ์เป้ าหมาย FSt NI > 0 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจานวนรพ.ในแต่ละ
ระดับ ตั้งแต่ระดับรพ. จังหวัด เขต จนถึงระดับสป.
7. กลุ่มประกันสนับสนุนการประมวลผล FSt รายไตรมาส จากรายงานการเงินหน่วยบริการ
1. เครื่องมือในการเฝ้ าระวังความเสี่ยงทางการเงินรายหน่วยบริการ
โดยเน้นการใช้ดัชนีการเงินความไวที่สูงแต่มีความเพี้ยนต่า
2. นาผลการตรวจพบระดับความเสี่ยง 7 ระดับ วิเคราะห์กาหนด
กระบวนการ FAI ภารกิจและแผนงานการบริหารจัดการการเงิน
การคลังในแต่ละระดับ
3. กลุ่มประกันสนับสนุนข้อมูลการประมวลความเสี่ยงรายไตรมาส จากงบ
ทดรองที่ทุกหน่วยจัดส่งมา โดยโปรแกรมส่วนกลาง
ประเภทดัชนี น้าหนักความเสี่ยง
(Risk Score)
๑.กลุ่มแสดงความคล่องตามสภาพสินทรัพย์
๑)CR<๑.๕ ๑
๒)QR<๑ ๑
๓)Cash<๐.๘ ๑
๒.กลุ่มแสดงความมั่นคงทางการเงิน
๑)แสดงฐานะทางการเงิน (ทุนหมุนเวียน) NWC<๐ ๑
๒)แสดงฐานะจากผลประกอบการ(กาไรสุทธิรวมค่าเสื่อม)NI<๐ ๑
๓.กลุ่มแสดงระยะเวลาเข้าสู่ปัญหาการเงินรุนแรง
๑)NWC/ANI ระยะเวลาทุนหมุนเวียนหมด <๓ เดือน หรือ ๒
๒)NWC/ANI ระยะเวลาทุนหมุนเวียนหมด <๖ เดือน ๑
ระดับความเสี่ยงทางการเงิน
ตามดัชนีเฝ้ าระวังของกระทรวงสาธารณสุข
242
200
84
65
76
11
19
129
0 50 100 150 200 250 300
0
1
2
3
4
5
6
7
จานวนรพ.ตามระดับความเสี่ยงการเงิน
ระดับความ
เสี่ยง
จานวน
(รพ.)
7 129
6 19
5 11
4 76
3 65
2 84
1 200
0 242
826
ความเสี่ยงทางการเงิน
ตามดัชนีเฝ้ าระวังของกระทรวงสาธารณสุข
 เครื่องมือในการเฝ้ าระวังความเสี่ยงทางการเงินที่ใช้บอกความรุนแรง 7 ระดับ ประกอบด้วยดัชนีด้าน
ความคล่องทางการเงิน (CR , QR ,Cash Ratio) ดัชนีที่แสดงฐานะการเงิน ( ทุน
สารองสุทธิ,ผลประกอบการ) และระยะเวลาที่สามารถดาเนินการอยู่ได้ด้วยทุนสารองที่มี
 จานวนรพ.ที่เข้าข่ายมีความเสี่ยงจานวน 584 รพ. (ร้อยละ 70) ระดับ 7 ที่เป็นความเสี่ยงสูงสุดมีถึง
129 รพ. (ร้อยละ 16)
สูงสุด
ตามดัชนีเฝ้ าระวังของกระทรวงสาธารณสุข
ลาดับ รพ. ประเภทรพ. จังหวัด CR QR Cash NWC NI+Depreciation
Risk
Scoring
1
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
,รพท.
รพท. 300 -
400 ตาก 0.79 0.69 0.30 -37,033,692.17 -63,919,616.11 7
2๕๐ พรรษามหาวชิราลงกรณ,รพช. รพช. 90 อุบลราชธานี 0.61 0.43 -0.07 -50,254,840.10 -35,883,683.26 7
3ยะลา,รพศ. รพศ.&Train ยะลา 0.98 0.88 0.48 -4,976,949.65 -57,041,380.21 7
4ยี่งอเฉลิมพระเกียรติ80พรรษา รพช. 30 นราธิวาส 0.69 0.66 -0.87 -17,225,417.39 -40,834,828.80 7
5อินทร์บุรี,รพท. รพท. -300 สิงห์บุรี 0.62 0.53 0.21 -35,755,818.19 -14,850,128.21 7
6ไพรบึง,รพช. รพช. 30 ศรีสะเกษ 0.44 0.32 -0.51 -27,087,589.64 -12,767,501.80 7
7เพ็ญ,รพช. รพช. 60 อุดรธานี 0.62 0.51 0.25 -23,704,109.27 -15,464,112.87 7
8ท่าโรงช้าง,รพช. รพช. 30 สุราษฎร์ธานี 0.52 0.42 -0.75 -29,086,355.75 -9,852,494.26 7
9วังสามหมอ,รพช. รพช. 30 อุดรธานี 0.54 0.46 -0.39 -22,237,187.85 -15,269,076.41 7
10พระอาจารย์ฝั้นอาจาโร,รพช. รพช. 90 สกลนคร 0.50 0.37 -0.12 -27,747,456.69 -9,649,486.89 7
11จอมทอง,รพช. รพช. 90 เชียงใหม่ 0.79 0.53 0.09 -20,002,515.63 -17,022,300.03 7
12เสาไห้,รพช. รพช. 30 สระบุรี 0.36 0.32 -0.01 -26,152,485.57 -4,772,623.75 7
13ปากพะยูน,รพช. รพช. 30 พัทลุง 0.38 0.30 -0.65 -26,462,093.71 -2,384,351.87 7
14สนม,รพช. รพช. 30 สุรินทร์ 0.46 0.35 -1.41 -20,000,154.69 -8,295,537.88 7
15คีรีรัฐนิคม,รพช. รพช. 30 สุราษฎร์ธานี 0.68 0.61 -0.16 -16,427,672.88 -10,324,670.50 7
16สันป่ าตอง,รพช. รพช. 60 เชียงใหม่ 0.79 0.56 -0.11 -20,503,699.73 -4,158,813.55 7
17ตรอน,รพช. รพช. 30 อุตรดิตถ์ 0.62 0.53 0.28 -15,066,456.33 -8,015,804.08 7
18บางพลี,รพช. รพช. 60 สมุทรปราการ 0.94 0.87 0.40 -8,428,895.57 -14,345,518.12 7
19บ้านม่วง,รพช. รพช. 30 สกลนคร 0.69 0.59 -1.19 -14,805,988.93 -7,213,029.29 7
20ลี้,รพช. รพช. 60 ลาพูน 0.70 0.62 0.18 -13,222,402.56 -8,794,399.87 7
กลุ่มโรงพยาบาล
ที่มีความมั่นคงทางการเงินสูงสุด
ID Org CapacityGroup Province CR QR Cash NWC NI
Risk
Score
1หาดใหญ่,รพศ. รพศ.&Train สงขลา 4.45 4.22 5.95 927,442,741.31 245,139,334.46 0
2สรรพสิทธิประสงค์,รพศ. รพศ.&Train อุบลราชธานี 2.65 2.40 3.59 1,105,617,929.80 31,026,401.01 0
3บุรีรัมย์,รพศ. รพศ.&Train บุรีรัมย์ 6.67 6.43 9.79 1,094,214,526.30 31,215,691.61 0
4พระนครศรีอยุธยา,รพศ. รพศ.&Train พระนครศรีอยุธยา 5.77 5.66 11.48 888,498,444.67 106,038,256.71 0
5ลาปาง,รพศ. รพศ.&Train ลาปาง 4.87 4.36 5.35 825,006,183.66 156,090,611.52 0
6อุดรธานี,รพศ. รพศ.&Train อุดรธานี 3.49 3.24 4.35 725,947,815.62 133,598,932.93 0
7
เชียงรายประชานุเคราะห์
,รพศ. รพศ.&Train เชียงราย 2.85 2.58 2.67 602,630,907.73 225,633,259.82 0
8สุรินทร์,รพศ. รพศ.&Train สุรินทร์ 3.37 3.13 5.15 576,872,792.42 121,043,703.57 0
9พุทธชินราช,รพศ. รพศ.&Train พิษณุโลก 2.67 2.45 2.50 637,176,797.10 26,435,283.27 0
10ขอนแก่น,รพศ. รพศ.&Train ขอนแก่น 2.07 1.96 0.86 483,049,218.57 157,343,596.34 0
11สระบุรี,รพศ. รพศ.&Train สระบุรี 2.27 2.15 0.88 496,338,756.16 106,745,171.02 0
12พหลพลพยุหเสนา,รพท. รพท. 300 - 400 กาญจนบุรี 4.37 4.05 3.47 373,976,944.54 220,548,986.60 0
13ศรีสะเกษ,รพท. รพท. 400+ ศรีสะเกษ 3.33 3.14 4.33 519,274,075.10 10,234,233.24 0
14สวรรค์ประชารักษ์,รพศ. รพศ.&Train นครสวรรค์ 1.96 1.89 2.29 377,410,553.40 146,038,705.25 0
15ปทุมธานี,รพท. รพท. 300 - 400 ปทุมธานี 2.56 2.49 3.46 448,794,246.76 44,687,114.34 0
16วชิระภูเก็ต,รพท. รพท. 400+ ภูเก็ต 2.00 1.89 1.09 439,932,085.19 30,716,894.28 0
17มหาสารคาม,รพท. รพท. 300 - 400 มหาสารคาม 2.94 2.65 2.74 373,564,553.48 71,409,884.97 0
18บางละมุง,รพช. รพช. 90+ ชลบุรี 4.33 4.18 6.36 398,096,384.82 34,123,278.92 0
19ลพบุรี,รพท. รพท. 300 - 400 ลพบุรี 1.94 1.90 2.68 282,092,763.09 147,825,071.32 0
20พระปกเกล้า,รพศ. รพศ.&Train จันทบุรี 1.98 1.80 1.40 285,263,992.07 131,271,500.37 0
ข้อสรุปสถานการณ์ไตรมาส ๒ ปี ๒๕๕๕1. แนวโน้มทางการเงินของหน่วยบริการถดถอยลงเกือบทุกดัชนี
การเงิน ทั้งผลประกอบการ ทุนสารอง ระดับความเสี่ยงทาง
การเงิน
2. ทุนสารองที่มียอดยกมาจากปีก่อน(บุญเก่า)จะสามารถรองรับ
การขาดทุนในปี 2555 ในหลายโรงพยาบาล พอจะทาให ้ส่วน
ใหญ่ยังดาเนินการอยู่ได ้จนถึงสิ้นปีงบประมาณ 2555
3. มีปัจจัยลบหลายประการที่จะทาให ้ความเสี่ยงทางการเงิน
รุนแรงขึ้น ได ้แก่
1) เงินค ้างท่อเหลือน้อยมาก 260 ล ้าน
2) ผลกระทบการลดค่าหัวลงจากกรณีอุทกภัย 5% 167,173,300 บาท
3) กรณีงบ AE HC ไหลไปเอกชนจากบริการฉุกเฉิน 3 กองทุน
4) อัตราค่าจ ้างใหม่
5) งบบัญชี 4-7 ที่ยังไม่ชัดเจนว่าจะมีงบประมาณ
6) เงินเฟ้อของแพง
7) ระบบควบคุมภายในที่ยังไม่สมบูรณ์
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖

More Related Content

What's hot

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016some163
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2กันย์ สมรักษ์
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยSurasak Tumthong
 
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษ
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษบริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษ
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษsoftganz
 
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองการพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองThira Woratanarat
 
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...Dr.Suradet Chawadet
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพChuchai Sornchumni
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขChuchai Sornchumni
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลอนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
 
Fullreport uk
Fullreport ukFullreport uk
Fullreport uk
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
 
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษ
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษบริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษ
บริการสาธารณสุขปฐมภูมิประเทศอังกฤษ
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองการพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพ
 
Quntity sulin
Quntity sulinQuntity sulin
Quntity sulin
 
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการเหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
 
ความเข้มแข็ง
ความเข้มแข็งความเข้มแข็ง
ความเข้มแข็ง
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลอนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
 
Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่
 

Similar to วพบ นครราชสีมา๕๖

แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)Sakarin Habusaya
 
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...Neung Arnat
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมีUtai Sukviwatsirikul
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCChuchai Sornchumni
 
Introduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of EpidemiologyIntroduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of EpidemiologyUltraman Taro
 
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรมAecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรมUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to วพบ นครราชสีมา๕๖ (20)

Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.
Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.
Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
 
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...
 
Qa nus-dansaihospital
Qa nus-dansaihospitalQa nus-dansaihospital
Qa nus-dansaihospital
 
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
QaพยาบาลเสนอจังหวัดQaพยาบาลเสนอจังหวัด
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
Introduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of EpidemiologyIntroduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of Epidemiology
 
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53) Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
 
รับ สสจ14ธค54
รับ สสจ14ธค54รับ สสจ14ธค54
รับ สสจ14ธค54
 
Hiv3 ending aids 2018
Hiv3 ending aids 2018Hiv3 ending aids 2018
Hiv3 ending aids 2018
 
Financing for Emergency patients
Financing for Emergency patientsFinancing for Emergency patients
Financing for Emergency patients
 
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรมAecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
 

More from กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์

ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยกรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 

More from กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ (20)

พระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptxพระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptx
 
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์
 
เทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรีเทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรี
 
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวนการพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
วันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิวันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิ
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
เทคนิค
เทคนิคเทคนิค
เทคนิค
 
สรุปงานชมรม
สรุปงานชมรมสรุปงานชมรม
สรุปงานชมรม
 
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
 
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
 
Sup kan 57
Sup kan 57Sup kan 57
Sup kan 57
 
Intro kan57
Intro kan57Intro kan57
Intro kan57
 
Fte kan57
Fte kan57Fte kan57
Fte kan57
 
Hrd kan57
Hrd kan57Hrd kan57
Hrd kan57
 
บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์
 

วพบ นครราชสีมา๕๖

Editor's Notes

  1. Delivering efficacious and inexpensive health interventions leads to dramatic reductions in mortality and disability at modest cost. Globalization has been diffusing the knowledge about what these interventions are and how to deliver them. The pace of this diffusion into a country–more than its level of income–determines the tempo of health improvement in that country.