SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
หนา ๑๐
เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง                         ราชกิจจานุเบกษา                            ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐

                 ระเบียบคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ
                                          วาดวยกิจการวิทยุสมัครเลน
                                                 พ.ศ. ๒๕๕๐

           โดยที่ เป น การสมควรปรั บปรุ ง ระเบี ย บว า ด วยกิ จ การวิ ท ยุส มั ค รเล น เพื่ อ ให กิ จ การวิ ท ยุ
สมัครเลน เกิดประโยชนตอสังคมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการสงเสริมเยาวชนและ
ประชาชนทั่วไปใหมความสนใจและเขารวมในกิจการวิทยุสมัครเลน สนับสนุนพนักงานวิทยุสมัครเลน
                        ี
ใหมีบทบาทในการคนควา ทดลอง ดานวิชาการสื่อสารดวยคลื่น วิทยุสามารถวิจัยพัฒนาเทคโนโลยี
ที่เป น ประโยชนต อการติด ตอสื่ อสารและการพัฒ นากิ จการวิท ยุสมั ครเลน ใหเป น สากล ตลอดจน
สามารถพัฒนาตนเองใหเขมแข็งและดูแลกันเองได อีกทั้งยังใชเปนขายสื่อสารสํารองในกรณีเกิดเหตุ
ฉุกเฉินหรือเกิดภัยพิบัติ
           อาศั ย อํ า นาจตามความในมาตรา ๕๑ (๓) (๒๑) วรรคสอง และมาตรา ๗๘ แห ง
พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการ
โทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ ประกอบมาตรา ๑๑ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติวิ ทยุคมนาคม
พ.ศ. ๒๔๙๘ ซึ่ ง แก ไขเพิ่ม เติม โดยพระราชบั ญญั ติ วิท ยุ คมนาคม (ฉบั บที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕
คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ จึงกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับกิจการวิทยุสมัครเลน ไว
ดังตอไปนี้
                                                     หมวด ๑
                                                     บททั่วไป

         ขอ     ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ วาดวยกิจการ
วิทยุสมัครเลน   พ.ศ. ๒๕๕๐”
         ขอ     ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
         ขอ     ๓ ใหยกเลิก
         (๑)     ระเบียบคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ วาดวยกิจการ
วิทยุสมัครเลน   พ.ศ. ๒๕๓๐
หนา ๑๑
เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง               ราชกิจจานุเบกษา                   ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐
          (๒) ระเบียบคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ วาดวยกิจการ
วิทยุสมัครเลน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๒
          (๓) ระเบียบคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ วาดวยกิจการ
วิทยุสมัครเลน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๓
          (๔) ระเบียบคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ วาดวยกิจการ
วิทยุสมัครเลน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๔
          (๕) ระเบียบคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ วาดวยกิจการ
วิทยุสมัครเลน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๔
          (๖) ระเบียบกรมไปรษณียโทรเลข วาดวยการขยายขายวิทยุสมัครเลนทั่วประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๒
          (๗) ระเบียบกรมไปรษณียโทรเลข วาดวยการขยายขายวิทยุสมัครเลนทั่วประเทศ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๓
          (๘) ระเบียบกรมไปรษณียโทรเลข วาดวยการขยายขายวิทยุสมัครเลนทั่วประเทศ (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๔๕
          (๙) ประกาศกรมไปรษณียโทรเลข เรื่อง กําหนดความถี่วิทยุและหลักเกณฑการใชความถี่
วิทยุยาน VHF และ UHF สําหรับกิจการวิทยุสมัครเลนและกิจการวิทยุสมัครเลนผานดาวเทียม
         (๑๐) ประกาศกรมไปรษณียโทรเลข เรื่อง หลักเกณฑการอนุญาตใหตั้งสถานีวิทยุคมนาคม
ประเภทสถานีทวนสัญญาณ (Repeater) ในกิจการวิทยุสมัครเลน
          ขอ ๔ ในระเบียบนี้
          “กิจการวิทยุสมัครเลน” หมายความวา กิจการวิทยุคมนาคมที่ดําเนินการโดยพนักงานวิทยุ
สมัครเลน ซึ่ งไดรั บอนุญ าตจากคณะกรรมการกิ จการโทรคมนาคมแหง ชาติ เพื่อ การฝ กฝนตนเอง
การติดตอระหวางกัน และการทดลองตรวจสอบทางวิช าการวิทยุคมนาคมตาง ๆ เพื่อจุดประสงค
ในการเพิ่มพูนความรูและวิชาการโดยไมเกี่ยวของกับผลประโยชนทางดานธุรกิจหรือการเมือง
          “สถานีวิทยุสมัครเลน ” หมายความวา สถานีวิทยุคมนาคมตามนัยแหงพระราชบัญญัติ
วิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ ที่ตั้งขึ้นเพื่อกิจการวิทยุสมัครเลนซึ่งไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการกิจการ
โทรคมนาคมแหงชาติแลว และใชกําลังสงตามที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติกําหนด
          “พนักงานวิทยุสมัครเลน” หมายความวา พนักงานวิทยุคมนาคมประจําสถานีวิทยุคมนาคม
สมัครเลนตามพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘
หนา ๑๒
เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง                     ราชกิจจานุเบกษา                         ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐
         “ใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเลน ” หมายความวา ใบอนุญาตพนักงานวิทยุคมนาคม
ซึ่งคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติออกใหตามพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘
         “สถานีวิทยุสมัครเลนควบคุมขาย” หมายความวา สถานีวิทยุสมัครเลนซึ่งทําหนาที่ควบคุม
การใชวิทยุสมัครเลนตั้งขึ้นในพื้นที่ท่วราชอาณาจักร
                                             ั
         “ข า ยวิ ท ยุ ส มั ค รเล น ทั่ ว ประเทศ” หมายความว า ข า ยวิ ท ยุ ส มั ค รเล น ที่ ข ยายออกไป
ทั่วราชอาณาจักร
         “สถานีกิจกรรมพิเศษ” หมายความวา การตั้งสถานีวิทยุคมนาคมเพื่อการทดลอง การสาธิต
การแขงขัน เพื่อการศึกษาหรือกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน
         “สมาคม” หมายความวา สมาคมวิทยุสมัครเลนที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ
รับรองใหทําหนาที่บริหารสถานีวิทยุสมัครเลนควบคุมขาย
         “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ
         “สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ
         ขอ ๕ การใดที่มิไดกําหนดหรือมิอาจปฏิบัติไดตามระเบียบนี้ ใหเสนอคณะกรรมการ
พิจารณา
         ขอ ๖ ใหประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติเปนผูรักษาการตามระเบียบนี้
                                                หมวด ๒
                                              วัตถุประสงค

       ขอ     ๗ กิจการวิทยุสมัครเลน มีวัตถุประสงคเพื่อ
       (๑)     สงเสริมและสนับสนุนการศึกษา คนควา ทดลองดานวิชาการสื่อสารแกประชาชนและ
สถานศึกษา
       (๒)     พัฒนาความรูดานวิชาการสื่อสารดวยคลื่นวิทยุ
       (๓)     ฝกฝนพนักงานวิทยุสมัครเลนใหมความรูความชํานาญยิ่ง ๆ ขึ้นไป
                                                ี
       (๔)     เสริมสรางประโยชนตอสังคมและความปลอดภัยของประเทศชาติ
       (๕)     เพิ่มพูนจํานวนพนักงานวิทยุสมัครเลนสํารองไวใชประโยชนในยามฉุกเฉิน หรือภัยพิบัติ
       (๖)     ใชเปนขายสื่อสารสาธารณะสํารองในยามฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ
       (๗)     สรางชื่อเสียงของประเทศใหเปนที่รูจักในวงการวิทยุสมัครเลนระหวางประเทศ
หนา ๑๓
เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง                    ราชกิจจานุเบกษา                       ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐
                                             หมวด ๓
                                 คุณสมบัติของพนักงานวิทยุสมัครเลน


         ขอ ๘ พนักงานวิทยุสมัครเลนตองมีคุณสมบัติ ดังนี้
         (๑) มีสัญชาติไทย
         (๒) เปน ผู ไดรั บประกาศนียบัต รพนั กงานวิทยุ สมัครเลน ซึ่ง คณะกรรมการออกใหหรื อ
ประกาศนียบัตรซึ่งคณะกรรมการเห็นสมควรใหเทียบเทา
                                              หมวด ๔
                                        พนักงานวิทยุสมัครเลน

         ขอ ๙ พนักงานวิทยุสมัครเลนแบงออกเปน ๓ ประเภท ดังนี้
         (๑) พนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน
         (๒) พนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นกลาง
         (๓) พนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นสูง
         ขอ ๑๐ ผู ที่ ป ระสงค จ ะเป น พนั ก งานวิ ท ยุ ส มั ค รเล น ประเภทต า ง ๆ จะต อ งได รั บ
ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนประเภทนั้น ๆ หรือไดรับประกาศนียบัตรที่คณะกรรมการ
เทียบเทา สําหรับผูที่ประสงคจะไดรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้น กลางจะตองไดรับ
ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตนกอน และผูที่ประสงคจะไดรับประกาศนียบัตรพนักงาน
วิทยุสมัครเลนขั้นสูงจะตองไดรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตนและขั้นกลางแลว
         ขอ ๑๑ ใหสํานักงานหรือสมาคมที่คณะกรรมการอนุญาตใหจัดสอบ หรือจัดอบรมและ
สอบ เปนผูดําเนินการจัดสอบ หรือจัดอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลน
ขั้นตนหรือขั้นกลาง โดยใชหลักสูตรและวิธีการจัดสอบ หรือจัดอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตร
พนักงานวิทยุสมัครเลน ตามที่คณะกรรมการกําหนดไวในภาคผนวก ๑ และ ๒ แนบทายระเบียบนี้
         ขอ ๑๒ คณะกรรมการจะออกประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลน ขั้น ต น แกบุคคล
บางประเภทตามที่คณะกรรมการกําหนดโดยวิธีการอื่นนอกจากขอ ๑๑ ก็ได
หนา ๑๔
เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง                      ราชกิจจานุเบกษา                         ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐
                                            หมวด ๕
                            การเทียบประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลน

          ขอ ๑๓ สําหรับผูที่ไมมีคุณสมบัติตามหมวด ๓ ขอ ๘ (๑) จะตองนําประกาศนียบัตร
พนักงานวิทยุสมัครเลนที่ตนไดรับมาแสดง โดยที่คณะกรรมการสงวนสิทธิ์ที่จะพิจารณาเทียบใหเปน
กรณี ๆ ไป และเฉพาะกับประเทศที่ใชหลักขอตกลงตางตอบแทน หากคณะกรรมการเทียบให ใหถือวา
ไดรับการยกเวนคุณสมบัติตามขอ ๘
          ขอ ๑๔ สําหรับผูมีสญชาติไทยที่ถอประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนจากประเทศอื่น
                                ั          ื
ที่จะใหคณะกรรมการเทียบให จะตองนําประกาศนียบัตรนั้น ๆ มาแสดง และคณะกรรมการสงวนสิทธิ์
ที่จะพิจารณาใหเปนกรณี ๆ ไป
                                                หมวด ๖
                                        การตั้งสถานีวิทยุสมัครเลน

           ขอ ๑๕ คณะกรรมการจะพิจารณาอนุญาตใหตั้งสถานีวิทยุสมัครเลน เฉพาะผูที่ไดรับ
ใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเลนแลวเทานั้น
           ขอ ๑๖ กรณี สถานีวิ ท ยุ สมั ค รเล น ประเภทประจํ าที่ ห รือ เคลื่อ นที่ คณะกรรมการจะ
พิจารณาอนุญาตใหตั้งในสถานที่หรือในยานพาหนะ เฉพาะผูที่ไดรับใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเลน
ซึ่งเปนเจาของ หรือมีสิทธิอาศัย หรือมีสิทธิครอบครองสถานที่หรือยานพาหนะเทานั้น
           ขอ ๑๗ สถานีวิทยุสมัครเลนประเภทสถานีเพื่อการศึกษา ทดลอง หรือกิจกรรมพิเศษ
จะไดรับอนุญาตใหตั้งสถานีและดําเนินการเฉพาะภายใตการกํากับดูแลจากผูไดรับใบอนุญาตพนักงาน
วิทยุสมัครเลนแลวเทานั้น
           ขอ ๑๘ คณะกรรมการอาจไม อ นุ ญ าตให ตั้ ง สถานี วิ ท ยุ ส มั ค รเล น ซึ่ ง ตั้ ง อยู ใ กล กั บ
ศูนยตรวจสอบการใชความถี่วิทยุหรือสถานีตรวจสอบการใชความถี่วิทยุของสํานักงานในรัศมีไมเกิน
หนึ่งกิโลเมตร หรืออาจอนุญาตใหตั้งได โดยมีเงื่อ นไขพิเ ศษเพื่อปองกันมิใ หสถานีนั้นไปรบกวน
การปฏิบัตงานของศูนยตรวจสอบการใชความถี่วิทยุหรือสถานีตรวจสอบการใชความถี่วิทยุ
            ิ
           ขอ ๑๙ สถานีวิทยุสมัครเลนซึ่งดําเนินการโดยชาวตางประเทศ จะอนุญาตเปนกรณีไป
เฉพาะกับประเทศที่ใชหลักขอตกลงตางตอบแทน
หนา ๑๕
เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง                       ราชกิจจานุเบกษา                           ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐
        ขอ ๒๐ การตั้งสถานีวิทยุสมัครเลนควบคุมขายวิทยุสมัครเลนทั่วประเทศ ใหดําเนินการ
ตามที่คณะกรรมการกําหนดไวในภาคผนวก ๓ แนบทายระเบียบนี้
                                            หมวด ๗
                ความถี่วิทยุและหลักเกณฑการใชความถี่วิทยุสําหรับกิจการวิทยุสมัครเลน

         ขอ ๒๑ ความถี่ วิ ท ยุ แ ละหลั ก เกณฑ ก ารใช ค วามถี่ วิ ท ยุสํ า หรั บ กิ จ การวิ ท ยุ ส มั ค รเล น
ใหเปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนดไวในภาคผนวก ๔ แนบทายระเบียบนี้
                                               หมวด ๘
                                     สัญญาณเรียกขาน (CALL SIGN)

         ขอ ๒๒ พนักงานวิทยุสมัครเลนหรือสถานีวิทยุสมัครเลน จะไดรับการกําหนดสัญญาณ
เรียกขานควบคูไปกับใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเลน หรือใบอนุญาตใหตั้งสถานีวิทยุสมัครเลน
แลวแตกรณี
         ขอ ๒๓ การกํ า หนดสั ญ ญาณเรี ย กขานของพนั ก งานวิ ท ยุ ส มั ค รเล น หรื อ สถานี วิ ท ยุ
สมัครเลน ใหกระทําโดยคณะกรรมการตามมาตรฐานของขอบังคับวิทยุระหวางประเทศ
                                                   หมวด ๙
                                             เครื่องวิทยุคมนาคม

         ขอ ๒๔ เครื่ อ งวิ ท ยุ ค มนาคมในกิ จ การวิ ท ยุ ส มั ค รเล น ต อ งมี ม าตรฐานทางเทคนิ ค
ตามขอบังคับของสหภาพโทรคมนาคมระหวางประเทศ (ITU) และตามประกาศคณะกรรมการ วาดวย
มาตรฐานทางเทคนิคของเครื่องโทรคมนาคมและอุปกรณ เรื่อง เครื่องวิทยุคมนาคมในกิจการวิทยุ
สมัครเลน
         ขอ ๒๕ เครื่องวิทยุคมนาคมในกิจการวิทยุสมัครเลนตองผานการทดสอบรับรองตัวอยาง
ตามที่คณะกรรมการกําหนด
         ขอ ๒๖ เครื่องวิทยุคมนาคมในกิจการวิทยุสมัครเลนตองมีทะเบียนเครื่องวิทยุคมนาคม
และสัญลักษณตามที่คณะกรรมการกําหนดไวใหเห็นเดนชัดทุกเครื่อง
หนา ๑๖
เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง                         ราชกิจจานุเบกษา                           ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐
       ขอ ๒๗ เครื่องวิทยุคมนาคมที่ใ ชใ นสถานีวิทยุสมัครเล น ตอ งใชกําลังส ง ความถี่วิท ยุ
และประเภทการรับ - สงขาวสารตามที่คณะกรรมการกําหนด
                                                 หมวด ๑๐
                                     การบันทึกขอความการติดตอสื่อสาร

          ขอ ๒๘ พนักงานวิทยุสมัครเลนทุกคนตองมีสมุดบันทึกการติดตอสื่อสาร (LOG BOOK)
ไวประจําสถานีวิทยุสมัครเลน และจะตองบันทึกรายละเอียดการติดตอสื่อสาร เพื่อใหคณะกรรมการ
หรือผูไดรับมอบหมายตรวจสอบหรือเพื่อประโยชนอื่น ๆ โดยตองดําเนินการ ดังนี้
           (๑) รายละเอียดการติดตอสื่อสารที่จะตองบันทึก
               (ก) วัน เดือน ป และเวลา ตั้งแตเริ่มและสิ้นสุดการติดตอแตละครั้ง
               (ข) สัญญาณเรียกขานของคูสถานีที่ติดตอดวย
               (ค) สรุปขอความที่ติดตอแตละครั้ง
               (ง) ความถี่วิทยุ และกําลังสงของเครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช
               (จ) ประเภทของการแพรกระจายคลื่น
          (๒) สมุ ด บั น ทึ ก การติ ด ต อ สื่ อ สารตอ งเก็ บ ไว เ ป น เวลาไม น อ ยกว า ๑ ป นั บ จากวั น ที่
ไดบันทึกการติดตอไว
                                                   หมวด ๑๑
                              การปฏิบัติในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ

          ขอ ๒๙ ในกรณีเ กิ ดเหตุ ฉุก เฉิน หรื อเกิ ดภั ยพิ บั ติ ทํ าให การสื่ อสารสาธารณะขั ดข อ ง
ใหหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถใชความถี่ยานวิทยุสมัครเลนทั้งหมดหรือบางสวนเพื่อการประสานงาน
เกี่ยวกับการกูภัยหรือเพื่อบรรเทาทุกข และใชเปนขายสื่อสารสํารองในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินหรือเกิด
ภัยพิบัติไดเทาที่จําเปน
          ขอ ๓๐ ในกรณีตามขอ ๒๙ ใหสถานีวิทยุสมัครเลนที่ใชความถี่วิทยุอยูในขณะนั้นระงับ
การใชความถี่วิทยุนั้นโดยทันที
หนา ๑๗
เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง                         ราชกิจจานุเบกษา                              ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐

        ขอ ๓๑ ใหหนวยงานที่เกี่ยวของซึ่งใชความถี่วิทยุเพื่อการประสานงานเกี่ยวกับการกูภัย
หรือเพื่อบรรเทาทุกขระงับการใชความถี่วิทยุนั้นโดยทันทีเมื่อเหตุการณนั้นสิ้นสุดลง และสถานีวิทยุ
สมัครเลนสามารถติดตอกันไดตามปกติ
                                               หมวด ๑๒
                                    ขอหามสําหรับกิจการวิทยุสมัครเลน


        ขอ ๓๒ กิจการวิทยุสมัครเลนมีขอหาม ดังตอไปนี้
                                      
        (๑) ติ ด ต อ กั บ สถานี วิ ท ยุ ส มั ค รเล น กั บ ประเทศที่ ไ ม อ นุ ญ าตให มี กิ จ การวิ ท ยุ ส มั ค รเล น
ในประเทศนั้น
        (๒) ใชรหัสลับในการติดตอสื่อสาร
        (๓) รับ - สงขาวสารนอกเหนือไปจากกิจการวิทยุสมัครเลน เวนแตกิจกรรมพิเศษ
        (๔) จางวานรับ - สงขาวสารไปยังบุคคลที่สาม
        (๕) ใชถอยคําหยาบคายในการติดตอสื่อสาร
        (๖) รับ - สงขาวสารอันมีเนื้อหาละเมิดตอกฎหมายบานเมือง
        (๗) สงเสียงดนตรี รายการบันเทิง หรือรายการโฆษณาทุกประเภท
        (๘) กระทําใหเกิดการรบกวนตอการสื่อสารของสถานีอื่นโดยเจตนา เชน การสงสัญญาณ
คลื่นรบกวนประเภทตาง ๆ ใชชองสัญญาณติดตอสื่อสารทับซอนกัน
        (๙) ติดตอกับสถานีวิทยุคมนาคมที่ไมไดรับอนุญาต
       (๑๐) ใชสัญญาณเรียกขานปลอม หรือแอบอางใชสัญญาณเรียกขานของผูอื่น
       (๑๑) แย ง ใช ช อ งสั ญ ญาณในการติ ด ต อ สื่ อ สาร หรื อ ใช ช อ งสั ญ ญาณในลั ก ษณะยึ ด ถื อ
ครอบครองเฉพาะกลุมบุคคล
       (๑๒) ยินยอมใหผูอื่นที่ไมมีใบอนุญาตใชสถานีวิทยุคมนาคมหรือเครื่องวิทยุคมนาคมกระทําผิด
กฎหมายวิทยุคมนาคม หรือกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ
       (๑๓) ไมบันทึกการติดตอสื่อสารในสมุดบันทึก (LOG BOOK)
หนา ๑๘
เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง                     ราชกิจจานุเบกษา                          ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐
                                               หมวด ๑๓
                                              การกํากับดูแล


         ขอ ๓๓ เจาพนักงานผูออกใบอนุญาตหรื อผูที่ไดรับมอบหมายจากเจาพนั กงานผูออก
ใบอนุญาตเปนลายลักษณอักษร มีอํานาจเขาไปในอาคารสถานที่หรือยานพาหนะของบุคคลใด ๆ ไดใน
เวลาอันสมควร เพื่อจุดมุงหมายในการตรวจเครื่องวิทยุคมนาคม สวนแหงเครื่องวิทยุคมนาคม สถานี
วิทยุคมนาคม สิ่ งที่กอใหเกิดการรบกวน หรือ ขัดขวางตอการวิ ทยุคมนาคม หรือใบอนุ ญาตวิท ยุ
คมนาคม และสมุดบันทึกการติดตอสื่อสาร ทั้งนี้ พนักงานวิทยุสมัครเลนจะตองอํานวยความสะดวก
ในการตรวจสอบดังกลาว
                                          หมวด ๑๔
                          คุณธรรมและจริยธรรมของพนักงานวิทยุสมัครเลน


         ขอ ๓๔ พนักงานวิทยุสมัครเลนควรมีคุณธรรมและจริยธรรม อยางนอย ดังตอไปนี้
         (๑) พึงปฏิบัติหนาที่ตามระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวกับกิจการวิทยุสมัครเลนอยางเครงครัด
         (๒) ใฝ ห าความรู สํ า รวจปรั บ ปรุ ง ตนเองและทํ า หน า ที่ พ นั ก งานวิ ท ยุ ส มั ค รเล น ให มี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
         (๓) มีความคิดริเริ่มสรางสรรค
         (๔) มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่พนักงานวิทยุสมัครเลน
         (๕) รูรัก สามัคคี และเปนมิตรกับพนักงานวิทยุสมัครเลนทุกคน
         (๖) เก็บรักษาความลับขอมูลที่ไมควรเปดเผย
         (๗) มีความเสียสละเพื่อประโยชนของสวนรวม
         (๘) ตรงตอเวลา
         (๙) ดํารงตนเปนที่พึ่งของสุจริตชน
หนา ๑๙
เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง                ราชกิจจานุเบกษา                   ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐
                                        หมวด ๑๕
                                  มาตรการบังคับทางปกครอง

        ขอ ๓๕ พนักงานวิทยุสมัครเลนหรือสถานีวิทยุสมัครเลน ควบคุมขายที่ฝาฝนไมปฏิบัติ
ตามระเบียบนี้ขอหนึ่งขอใด หรือหลายขอ ใหสํานักงานพิจารณาเสนอคณะกรรมการเพื่อดําเนินการ
พิจารณาโทษ ดังตอไปนี้ แลวแตกรณี
        (๑) ตักเตือนดวยวาจา
        (๒) ตักเตือนเปนลายลักษณอักษร
        (๓) ใหพนจากการเปนพนักงานวิทยุสมัครเลนชั่วคราว
        (๔) ใหพนจากการเปนพนักงานวิทยุสมัครเลนถาวร
        (๕) ดําเนินการตามกฎหมาย
        ขอ ๓๖ การพิจารณาโทษตามขอ ๓๕ ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการประกาศ
กําหนด
                                       บทเฉพาะกาล

          ขอ ๓๗ ชมรมวิทยุสมัครเลนที่ไดรับอนุญาตจากกรมไปรษณียโทรเลข และรับรองใหทํา
หนาที่บริหารสถานีวิทยุสมัครเลนควบคุมขายประจําจังหวัด ตามระเบียบกรมไปรษณียโทรเลข วาดวย
การขยายขายวิทยุสมัครเลนทั่วประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๒ ใหดําเนินการยื่นขอจดทะเบียนนิติบุคคลเปน
สมาคมวิทยุสมัครเลน ที่มีวัตถุประสงคเกี่ยวกับกิจการวิทยุสมัครเลน ภายใน ๑๘๐ วัน นับแตวัน ที่
ระเบียบนี้มีผลใชบังคับ หากไมดําเนินการดังกลาวคณะกรรมการจะพิจารณา ยกเลิกการอนุญาตใหทํา
หนาที่บริหารสถานีวิทยุสมัครเลนควบคุมขาย และยกเลิกการอนุญาตตาง ๆ ที่เกี่ยวของ


                                     ประกาศ ณ วันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
                                          พลเอก ชูชาติ พรหมพระสิทธิ์
                                  ประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ
ภาคผนวก ๑
                     แนบทายระเบียบคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ
                            วาดวยกิจการวิทยุสมัครเลน พ.ศ. ๒๕๕๐

                           หลักสูตรและวิธีการสอบ และการอบรมและสอบ
                         เพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน

               ขอ ๑ หลักสูตรและหัวขอวิชาสําหรับการสอบ และการอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตร
พนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน มีดังนี้
                       ๑.๑ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ ที่เกี่ยวกับวิทยุสมัครเลน
                           ๑.๑.๑ ความรูเกี่ยวกับกิจการวิทยุสมัครเลน องคการระหวางประเทศและขอบังคับ
วิทยุระหวางประเทศที่เกี่ยวของ
                           ๑.๑.๒ ความรูเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ กฎกระทรวง
ระเบียบ และประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘
                           ๑.๑.๓ ความรูเกี่ยวกับระเบียบคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ วาดวย
กิจการวิทยุสมัครเลน พ.ศ. ๒๕๕๐
                           ๑.๑.๔ ความรูเกี่ยวกับการกําหนดสัญญาณเรียกขานสําหรับประเทศไทยและ
ระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวของ
                       ๑.๒ คุณธรรมและจริยธรรมของพนักงานวิทยุสมัครเลน
                       ๑.๓ การติดตอสื่อสารของนักวิทยุสมัครเลน
                           ๑.๓.๑ ประมวลรหัส Q
                           ๑.๓.๒ การรายงานสัญญาณระบบ RST
                           ๑.๓.๓ การอานออกเสียงตัวอักษร (ITU PHONETIC ALPHABET)
                           ๑.๓.๔ คําเฉพาะและคํายอตาง ๆ ที่ควรรู
                           ๑.๓.๕ การรับและแจงเหตุฉุกเฉิน
                           ๑.๓.๖ สมุดบันทึกการติดตอสื่อสาร (LOG BOOK)
                       ๑.๔ ทฤษฎีตาง ๆ สําหรับนักวิทยุสมัครเลน
                           ๑.๔.๑ ทฤษฎีไฟฟา
                                (๑) คํานําหนาหนวย
                                (๒) ไฟฟากระแสตรง และไฟฟากระแสสลับ
                                (๓) แหลงกําเนิดพลังงานไฟฟาแบบตาง ๆ
                                (๔) คุณสมบัติของแบตเตอรี่แบบตาง ๆ
-๒-

                            (๕) แรงดันไฟฟา กระแสไฟฟา ตัวตานทานกําลังไฟฟา ไฟฟาและกฎของโอหม
                            (๖) ตัวนําไฟฟาและฉนวนไฟฟา
                            (๗) การตอตัวตานทานแบบอนุกรมและแบบขนาน
                            (๘) ตัวเก็บประจุไฟฟา ตัวเหนี่ยวนําไฟฟา และการตอแบบอนุกรมและแบบขนาน
                            (๙) คาปาซิตี ฟรีแ อกแตนซ อิน ดั ตดี ฟรีแ อกแตนซ อิม พี แ ดนซ และ
รีโซแนนซ
                          (๑๐) หมอแปลงไฟฟา
                          (๑๑) ลักษณะของอุปกรณไฟฟาที่ควรรู
                          (๑๒) เดซิเบล
                     ๑.๔.๒ ทฤษฎีอิเล็กทรอนิกส
                          หนาที่โดยสังเขปและสัญลักษณของอุปกรณบางอยาง ไดแก ทรานซิสเตอร
ผลึกแร ไมโครโฟน ลําโพง หลอดวิทยุ และไอซี
                     ๑.๔.๓ หลักการทํางานของเครื่องรับ/สงวิทยุ
                          (๑) หนาที่ของภาคตาง ๆ ในเครื่องรับ-สงวิทยุแบบ TRF และแบบซุปเปอร
เฮท-เทอโรดายน
                          (๒) คุณสมบัติของเครื่องรับ-สงวิทยุ AM และ FM
                          (๓) ซิมเพล็กซ ฟูลดูเพล็กซ และเซมิดูเพล็กซ
                     ๑.๔.๔ สายอากาศและสายนําสัญญาณ
                          (๑) คุณสมบัติของคลื่นวิทยุ และความถี่และความยาวคลื่น
                          (๒) โพลาไรเซชั่น
                          (๓) คุณสมบัติของสายอากาศ และสายอากาศพื้นฐานที่ควรรู
                          (๔) สายนําสัญญาณแบบตาง ๆ และคุณสมบัติที่ควรรู
                          (๕) SWR การแมทซ และบาลัน
                          (๖) การแพรกระจายคลื่น และลักษณะการแพรกระจายคลื่นของยานความถี่ตาง ๆ
                          (๗) การแบงยานความถี่
                          (๘) องคประกอบที่มีผลตอระยะการรับ/สงในยาน VHF
                 ๑.๕ หลักปฏิบัติของนักวิทยุสมัครเลน
                     ๑.๕.๑ ขอพึงระวังเรื่องความปลอดภัย
                     ๑.๕.๒ การใชเครื่องมือวัดและองคประกอบตาง ๆ
                     ๑.๕.๓ สาเหตุและการลดปญหาการรบกวน
-๓-

                  ขอ ๒ การจัดสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน
                       ๒.๑ การขออนุญาตจัดสอบ
                          สมาคมที่ประสงคจะจัดสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน
ใหยื่นเรื่องตอสํานักงาน และตองแนบหลักฐานพรอมรายละเอียดในการสอบ ดังนี้
                          ๒.๑.๑ สําเนาใบสําคัญแสดงการจดทะเบียนสมาคม
                          ๒.๑.๒ สําเนาใบสําคัญแสดงการจดทะเบียนแตงตั้งกรรมการของสมาคมขึ้นใหม
ทั้งชุดหรือการเปลี่ยนแปลงกรรมการของสมาคม
                          ๒.๑.๓ ขอบังคับสมาคม
                          ๒.๑.๔ สําเนารายงานการประชุมใหญสามัญประจําป
                          ๒.๑.๕ สําเนาหนังสืออนุญาตใหขยายขายกิจการวิทยุสมัครเลน
                          ๒.๑.๖ สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน และสําเนาทะเบียนบานของนายกสมาคม
                          ๒.๑.๗ กําหนดการสอบ และตารางการสอบ
                          ๒.๑.๘ จํานวนผูเขารับการสอบ
                          ๒.๑.๙ สถานที่ และอุปกรณประกอบการสอบ
                       ๒.๒ ขั้นตอนการพิจารณา
                          เมื่อสํานักงานไดรับเรื่องขอใหมีการจัดสอบแลวจะดําเนินการดังตอไปนี้
                       ๒.๒.๑ ตรวจสอบความถูกตองครบถวนของเอกสารที่แนบมาหากไมถูกตองครบถวน
สํานักงานจะสงเรื่องคืนเพื่อดําเนินการใหถูกตองตอไป
                    ๒.๒.๒ หากสํานักงานตรวจสอบความถูกตองครบถวนของเอกสารแลว ใหเสนอ
คณะกรรมการเพื่อพิจารณา หากคณะกรรมการพิจารณาอนุญาตใหจัดสอบได ใหสํานักงานมีหนังสืออนุญาตให
ดําเนินการจัดสอบ และออกประกาศการอนุญาตใหมีการจัดสอบ เพื่อใหผูประสงคเขารับการสอบทราบ
                       ๒.๓ คุณสมบัตของผูเขารับการสอบ
                                       ิ
                           ๒.๓.๑ มีสัญชาติไทย
                           ๒.๓.๒ ไมเปนพระภิกษุ หรือสามเณร ซึ่งตองหามตามระเบียบของมหาเถรสมาคม
                       ๒.๔ จํานวนผูสอบ
                          ใหมีจํานวนผูเขารับการสอบในแตละครั้ง ตองไมนอยกวา ๑๐๐ คน
                       ๒.๕ สถานที่จัดสอบ
                          สมาคมที่ไดรบอนุญาตตองจัดสถานที่สอบและเจาหนาที่คุมสอบในสัดสวน ๑ คน
                                         ั
ตอผูเขาสอบ ๒๐ คน
-๔-

                     ๒.๖ คาใชจายในการดําเนินการจัดสอบ
                        ใหสมาคมที่ไดรับอนุญาตใหจัดสอบสามารถเรียกเก็บคาใชจายในการจัดสอบจาก
ผูเขาสอบไดไมเกินคนละ ๔๐๐ บาท ประกอบดวย
                        ๒.๖.๑ คาดําเนินการจัดสอบไมเกินคนละ ๑๐๐ บาท ประกอบดวย
                               (๑) คาเชาสถานที่จัดสอบ
                               (๒) คาใชจายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการสอบ
                        ๒.๖.๒ คาใบสมัครสอบและเอกสารคูมือแนะนําการสอบ คนละ ๑๐๐ บาท
                        ๒.๖.๓ คาธรรมเนียมการสอบคนละ ๒๐๐ บาท
                               ทั้งนี้ ใหนําสงคาใบสมัครสอบและเอกสารคูมือแนะนําการสอบ และ
คาธรรมเนียมการสอบตาม ๒.๖.๒ และ ๒.๖.๓ ใหสํานักงาน และในกรณีที่มีคาดําเนินการตาม ๒.๖.๑
คงเหลือหลังจากหักคาดําเนินการในการจัดสอบดังกลาว ใหเปนรายไดของสมาคมที่จัดสอบเพื่อใชเปน
คาดําเนินงานสําหรับกิจการวิทยุสมัครเลนเทานั้น
                     ๒.๗ หลักสูตรการสอบ
                         หลักสูตรการสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนใหเปนไปตามที่
คณะกรรมการกําหนด
                     ๒.๘ การกํากับการสอบ
                        ๒.๘.๑ สํานักงานจะจัดขอสอบ และเจาหนาที่กํากับดูแลการสอบใหเปนไปดวย
ความเรียบรอย
                        ๒.๘.๒ วิธีการสอบ สอบขอเขียน จํานวน ๑๐๐ ขอ ๆ ละ ๑ คะแนน เวลาสอบ ๑
ชั่วโมง แบงออกเปน ๕ วิชา คือ
                        วิชาที่ ๑ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ
วิทยุสมัครเลนจํานวน ๒๕ ขอ
                        วิชาที่ ๒ การติดตอสื่อสารของนักวิทยุสมัครเลน จํานวน ๒๐ ขอ
                        วิชาที่ ๓ ทฤษฎีตาง ๆ สําหรับนักวิทยุสมัครเลน จํานวน ๒๐ ขอ
                        วิชาที่ ๔ หลักปฏิบัติของนักวิทยุสมัครเลน จํานวน ๒๐ ขอ
                        วิชาที่ ๕ คุณธรรมและจริยธรรมของพนักงานวิทยุสมัครเลน จํานวน ๑๕ ขอ
                        ๒.๘.๓ ขอปฏิบติในการสอบ ผูมีสิทธิเขาสอบตองปฏิบัติดังตอไปนี้
                                            ั
                               (๑) มาถึงหองสอบกอนกําหนดเวลาตามตารางสอบเพื่อเตรียมตัวใหเรียบรอย
กอนถึงเวลาสอบ
-๕-

                             (๒) ไมเขาหองสอบหลังหรือออกจากหองสอบกอน ๓๐ นาทีแรกของ
กําหนดเวลาตามตารางสอบ
                              (๓) ไมนําเอกสาร เครื่องมือ หรืออุปกรณสื่อสารใด ๆ เขาไปในหองสอบ
                              (๔) ไมติดตอหรือใชอุปกรณสื่อสาร หรือพูดจากับผูหนึ่งผูใดในเวลาสอบ
เมื่อมีขอสงสัยหรือกิจจําเปนใหแจงตอผูควบคุมการสอบ
         
                              (๕) หามผูเขาสอบนํากระดาษขอสอบ กระดาษคําตอบ และสิ่งอื่นใด
ที่เกี่ยวของกับการสอบออกจากหองสอบ
                              หากผูเขาสอบฝาฝนขอปฏิบัติดังกลาวขางตนขอใดขอหนึ่งหรือหลายขอ
การพยายามหรือกระทําการอันเปนการทุจริตในการสอบผูควบคุมการสอบจะไมอนุญาตใหผูนั้นทําการสอบ
สําหรับการสอบในครั้งนั้น
                         ๒.๘.๔ เกณฑการสอบ ใหมีคะแนนการสอบภาคทฤษฎีท้งสิ้น ๑๐๐ คะแนน ทั้งนี้
                                                                               ั
ผูสอบตองไดคะแนนไมนอยกวารอยละ ๖๐ จึงจะถือวาสอบได
                         ๒.๘.๕ การตรวจขอสอบ สํานักงานจะแตงตั้งคณะกรรมการเพื่อทําหนาที่
ตรวจขอสอบในการสอบแตละครั้ง
                         ๒.๘.๖ การประกาศผลสอบ เมื่อคณะกรรมการตรวจขอสอบ ดําเนิน การ
ตรวจขอสอบแลวเสร็จ และไดพิจารณาความถูกตองของคะแนนการสอบของผูสอบเรียบรอยแลว
ใหนําเสนอผลการสอบตอเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ เพื่อดําเนินการประกาศ
รายชื่อผูสอบไดและมีสิทธิไดรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน
                         ๒.๘.๗ การออกประกาศนี ย บั ต รผู ส อบได ต ามเกณฑ ก ารสอบเพื่ อ รั บ
ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตนจะไดรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน
ซึ่งคณะกรรมการออกให และมีสิทธิยื่นคําขอใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตนตอสํานักงาน
                      ๒.๙ การสรุปผลการจัดสอบ
                         ใหสมาคมที่ไดรบอนุญาตใหจัดสอบ รายงานผลการดําเนินงานใหสํานักงาน
                                         ั
ทราบภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่สอบ ตามแบบฟอรมที่สํานักงานกําหนด
                      ๒.๑๐ บทลงโทษ
                         หากสมาคมที่ไดรับอนุญาตใหจัดสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุ
สมัครเลนขั้นตน ฝาฝนไมปฏิบัติตามหลักเกณฑการจัดสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลน
ขั้นตน ใหสํานักงานดําเนินการ ดังตอไปนี้
-๖-

                            ๒.๑๐.๑ ตักเตือนดวยลายลักษณอักษร
                            ๒.๑๐.๒ ไมอนุญาตใหดําเนินการจัดสอบในครั้งตอไป
                            ๒.๑๐.๓ ดําเนินการตามกฎหมาย
                ขอ ๓ การจัดอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน
                       ๓.๑ การขออนุญาตจัดอบรมและสอบ
                            สมาคมที่ประสงคจะจัดอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุ
สมัครเลนขั้นตนใหยื่นเรื่องตอสํานักงาน และตองแนบหลักฐานพรอมรายละเอียดในการอบรมและสอบ ดังนี้
                            ๓.๑.๑ สําเนาใบสําคัญแสดงการจดทะเบียนสมาคม
                            ๓.๑.๒ สําเนาใบสําคัญแสดงการจดทะเบียนแตงตั้งกรรมการของสมาคมขึ้นใหม
ทั้งชุดหรือการเปลี่ยนแปลงกรรมการของสมาคม
                            ๓.๑.๓ ขอบังคับสมาคม
                            ๓.๑.๔ สําเนารายงานการประชุมใหญสามัญประจําป
                            ๓.๑.๕ สําเนาหนังสืออนุญาตใหขยายขายกิจการวิทยุสมัครเลน
                            ๓.๑.๖ สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน และสําเนาทะเบียนบานของนายกสมาคม
                            ๓.๑.๗ กําหนดการอบรมและสอบ
                            ๓.๑.๘ จํานวนผูเขารับการอบรมและสอบ
                            ๓.๑.๙ สถานที่ และอุปกรณประกอบการอบรมและสอบ
                       ๓.๒ ขั้นตอนการพิจารณา
                            เมื่อสํานักงานไดรับเรื่องขอใหมีการจัดอบรมและสอบแล วจะดําเนิน การ
ดังตอไปนี้
                            ๓.๒.๑ ตรวจสอบความถูกตองครบถวนของเอกสารที่แนบมา หากไมถูกตอง
ครบถวน สํานักงานจะสงเรื่องคืนเพื่อดําเนินการใหถูกตองตอไป
                            ๓.๒.๒ หากสํานักงานตรวจสอบความถูกตองครบถวนของเอกสารแลว ใหเสนอ
คณะกรรมการเพื่อพิจารณา หากคณะกรรมการพิจารณาอนุญาตใหจัดอบรมและสอบได ใหสํานักงานมี
หนังสืออนุญาตใหดําเนินการจัดอบรมและสอบ และออกประกาศการอนุญาตใหมีการจัดอบรมและสอบ
เพื่อใหผูประสงค เขารับการอบรมและสอบทราบ
                       ๓.๓ คุณสมบัติของผูเขารับการอบรมและสอบ
                            ๓.๓.๑ มีสัญชาติไทย
                            ๓.๓.๒ มีอายุไมต่ํากวา ๑๕ ปบริบูรณ ในวันที่ยื่นสมัครอบรมและสอบ
-๗-

                       ๓.๓.๓ ไมเปนพระภิกษุ หรือสามเณร ซึ่งตองหามตามระเบียบของมหาเถรสมาคม
                    ๓.๔ จํานวนผูเขารับการอบรมและสอบ
                       ใหมีจํานวนผูเขารับการอบรมและสอบในแตละครั้ง ตองไมนอยกวา ๒๐๐ คน
                    ๓.๕ วิทยากร
                       วิทยากรของสํานักงาน หรือผูที่สํานักงานใหการรับรอง
                    ๓.๖ สถานที่และอุปกรณประกอบการจัดอบรมและสอบ
                       สมาคมที่ไดรับอนุญาตใหจัดอบรมและสอบ ตองจัดใหมีสถานที่อบรมพรอม
อุปกรณประกอบการจัดอบรมและสอบ ดังนี้
                       ๓.๖.๑ สถานที่จัดการอบรมและสอบตองมีขนาดเพียงพอกับจํานวนผูเขารับการ
อบรมและใชเปนสถานที่สอบไดอยางเหมาะสม
                       ๓.๖.๒ อุปกรณในหองอบรมและสอบอยางนอยตองมีอุปกรณ ดังนี้
                             (๑) โสตทัศนูปกรณ
                              (๒) เครื่องคอมพิวเตอร
                             (๓) เครื่องถายสัญญาณขอมูลจากคอมพิวเตอร (LCD Overhead Projector)
                                ทั้งนี้ สมาคมที่ไดรับอนุญาตใหจัดอบรมและสอบจะตองจัดใหมีสื่อ
สงเสริมความรูและประสบการณในเรื่องที่เกี่ยวของ และเปนประโยชนกับผูเขารับการอบรมและสอบในการ
นําไปใชในการปฏิบัติหนาที่พนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน
                   ๓.๗ คาใชจายในการดําเนินการจัดอบรมและสอบ
          ใหสมาคมที่ไดรับอนุญาตใหจัดอบรมและสอบสามารถเรียกเก็บคาใชจายในการจัดอบรม
และสอบจากผูเขารับการอบรมและสอบไมเกินคนละ ๑,๐๐๐ บาท ประกอบดวย
                      ๓.๗.๑ คาดําเนินการจัดอบรมและสอบไมเกินคนละ ๗๐๐ บาท ประกอบดวย
                           (๑) คาเชาสถานที่จัดอบรมและสอบ
                           (๒) คาใชจายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการอบรมและสอบ
                      ๓.๗.๒ คาใบสมัครอบรมและสอบ และเอกสารคูมืออบรมพนักงานวิทยุสมัครเลน
คนละ ๑๐๐ บาท
                      ๓.๗.๓ คาธรรมเนียมการอบรมและสอบคนละ ๒๐๐ บาท
                            ทั้งนี้ ใหนําสงคาใบสมัครอบรมและสอบ และเอกสารคูมืออบรมพนักงาน
วิทยุสมัครเลน และคาธรรมเนียมการอบรมและสอบตาม ๓.๗.๒ และ ๓.๗.๓ ใหสํานักงาน ในกรณีที่มี
-๘-

คาดําเนินการตาม ๓.๗.๑ คงเหลือหลังจากหักคาใชจายในการจัดอบรมและสอบ ใหเก็บเปนรายไดของ
สมาคมที่จัดอบรมและสอบ เพื่อใชเปนคาดําเนินงานสําหรับกิจการวิทยุสมัครเลนเทานั้น
                 ๓.๘ หลักสูตรการอบรมและสอบ
                    หลักสูตรการอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนให
เปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนด
                     ๓.๙ การกํากับการอบรมและสอบ
                    ๓.๙.๑ ระยะเวลาการอบรมและสอบ ประกอบดวยการอบรม ระยะเวลา ๖ ชั่วโมง
และการสอบขอเขียน ระยะเวลา ๑ ชั่วโมง รวมระยะเวลาการอบรมและสอบ ๗ ชั่วโมง
                     ๓.๙.๒ สอบขอเขียน จํานวน ๔๐ ขอ ๆ ละ ๒ คะแนน แบงออกเปน ๕ วิชา คือ
                     วิชาที่ ๑ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับวิทยุ
สมัครเลน จํานวน ๑๐ ขอ
                     วิชาที่ ๒ การติดตอสื่อสารของนักวิทยุสมัครเลน จํานวน ๘ ขอ
                     วิชาที่ ๓ ทฤษฎีตาง ๆ สําหรับนักวิทยุสมัครเลน จํานวน ๘ ขอ
                     วิชาที่ ๔ หลักปฏิบัติของนักวิทยุสมัครเลน จํานวน ๘ ขอ
                     วิชาที่ ๕ คุณธรรมและจริยธรรมของพนักงานวิทยุสมัครเลน จํานวน ๖ ขอ
                     ๓.๙.๓ ขอปฏิบัติในการสอบ
                            ผูมีสิทธิเขาสอบตองเปนผูมีเวลาเขาอบรมในทุกหัวขอวิชาตามขอ ๒ และ
ในการสอบ ผูเขาสอบจะตองปฏิบตดังตอไปนี้
                                 ัิ
                               (๑) มาถึงหองสอบกอนกําหนดเวลาตามตารางสอบเพื่อเตรียมตัวให
เรียบรอยกอนถึง เวลาสอบ
                               (๒) ไมเขาหองสอบหลังหรือออกจากหองสอบกอน ๓๐ นาทีแรกของ
กําหนดเวลาตามตารางสอบ
                              (๓) ไมนําเอกสาร เครื่องมือ หรืออุปกรณสื่อสารใด ๆ เขาไปในหองสอบ
                              (๔) ไมติดตอหรือใชอุปกรณสื่อสาร หรือพูดจากับผูหนึ่งผูใดในเวลาสอบ
เมื่อมีขอสงสัยหรือกิจจําเปนใหแจงตอผูควบคุมการสอบ
                              (๕) หามผูเขาสอบนํากระดาษขอสอบ กระดาษคําตอบ และสิ่งอื่นใด
ที่เกี่ยวของกับการสอบออกจากหองสอบ
-๙-

                                  หากผูเขาสอบฝาฝนขอปฏิบัติดังกลาวขางตนขอใดขอหนึ่งหรือหลายขอ
การพยายามหรือกระทําการอันเปนการทุจริตในการสอบผูควบคุมการสอบจะไมอนุญาตใหผูนั้นทําการสอบ
สําหรับการสอบในครั้งนั้น
                        ๓.๙.๔ เกณฑการสอบ ใหมีคะแนนการสอบทั้งสิ้น ๑๐๐ คะแนน โดยแบงเกณฑ
คะแนนการสอบออกเปน ๒ สวน คือ
                              สวนที่ ๑ คะแนนสอบภาคทฤษฎี ๘๐ คะแนน
                              สวนที่ ๒ คะแนนการเขาอบรมครบทุกหัวขอวิชา ๒๐ คะแนน
                              ทั้งนี้ ผูเขารับการอบรมและสอบตองไดคะแนนทั้งสองสวนรวมกันไมนอย
กวารอยละ ๖๐ จึงจะถือวาสอบได
                        ๓.๙.๕ การตรวจขอสอบ สํานักงานจะแตงตั้งคณะกรรมการเพื่อทําหนาที่
ตรวจขอสอบในการอบรมและสอบแตละครั้ง
                        ๓.๙.๖ การประกาศผลสอบ เมื่อคณะกรรมการตรวจขอสอบ ดําเนิน การ
ตรวจขอสอบแลวเสร็จ และไดพิจารณาความถูกตองของคะแนนการสอบของผูสอบเรียบรอยแลว
ใหนําเสนอผลการสอบตอเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ เพื่อดําเนินการประกาศ
รายชื่อผูสอบไดและมีสิทธิไดรบประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน
                              ั
                        ๓.๙.๗ การออกประกาศนียบัตร ผูเขารับการอบรมและสอบไดตามเกณฑการอบรม
และสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตนจะไดรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลน
ขั้นตนซึ่งคณะกรรมการออกใหและมีสิทธิยื่นคําขอใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตนตอสํานักงาน
                      ๓.๑๐ การสรุปผลการจัดอบรมและสอบ
                          ใหสมาคมที่ไดรับอนุญาตใหจัดอบรมและสอบ รายงานผลการดําเนินงานให
สํานักงานทราบภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่อบรมและสอบ ตามที่สํานักงานกําหนด
                      ๓.๑๑ บทลงโทษ
                          หากสมาคมที่ไดรบอนุญาตใหจัดอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงาน
                                            ั
วิทยุสมัครเลนขั้นตน ฝาฝนไมปฏิบติตามหลักเกณฑการจัดอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงาน
                                    ั
วิทยุสมัครเลนขั้นตน ใหสานักงานดําเนินการดังตอไปนี้
                            ํ
                          ๓.๑๑.๑ ตักเตือนดวยลายลักษณอักษร
                          ๓.๑๑.๒ ไมอนุญาตใหดําเนินการจัดอบรมและสอบในครั้งตอไป
                          ๓.๑๑.๓ ดําเนินการตามกฎหมาย
                                  --------------------------------------------
ภาคผนวก ๒
                    แนบทายระเบียบคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ
                            วาดวยกิจการวิทยุสมัครเลน พ.ศ.๒๕๕๐

                          หลักสูตรและวิธีการสอบเพื่อรับประกาศนียบัตร
                                 พนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นกลาง

                   ขอ ๑ ภาคทฤษฎี สําหรับการสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นกลาง
                   วิชาที่ ๑ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ และขอบังคับวิทยุสมัครเลน
                        ๑. สิทธิที่ไดรับอนุญาตของพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นกลาง ในแงของยานความถี่
ลักษณะหรือประเภทของการสง (CLASS OF EMISSION) และขนาดกําลังสง
                        ๒. ลักษณะการใชงานสถานีที่ไดรับอนุญาตและบุคคลที่สามารถใชสถานีได
รวมทั้งเงื่อนไขและขอหามตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
                        ๓. ความรูเกี่ยวกับขอบังคับวิทยุระหวางประเทศ สวนที่เกี่ยวกับกิจการวิทยุ
สมัครเลน
                        ๔. การสื่อสารเพื่อแจงขาวฉุกเฉิน
                   วิชาที่ ๒ การติดตอสื่อสารของนักวิทยุสมัครเลน
                        (๑) วัตถุประสงคของประมวลรหัส Q (Q code) และความหมายของประมวลรหัส
ที่ควรรูเพิ่มขึ้นในขั้นกลาง ไดแก QRM, QRQ, QRS, QRV, QSD, QSM, QSZ, QTR, และ QSX
                        (๒) คํายอและคําเฉพาะที่ควรรูเพิ่มขึ้นสําหรับขั้นกลาง ไดแก MONITOR, OUT,
BREAKER, OM และ RY
                        (๓) หลักปฏิบัติ และมารยาทในการเรียกขาน และในการติดตอสื่อสารในยาน HF
                   วิชาที่ ๓ ทฤษฏีตาง ๆ สําหรับนักวิทยุสมัครเลน
                   ๑. ทฤษฏีไฟฟา
                        ๑.๑ พลังงาน (Energy) และหนวยของพลังงาน (กิโลวัตต-ชั่วโมง)
                        ๑.๒ ความหมาย และหนวยของคาบเวลา ความสัมพันธของคาบเวลา และในการ
ติดตอสื่อสารในยาน HF
                        ๑.๓ หนาที่ของวงจรเลือกความถี่ (TUNED CIRCUIT) HIGH-PASS FILTER, LOW-
PASS FILTER และ BANDPASS FILTER
                        ๑.๔ วงจรปด และวงจรเปด (CLOSE CIRCUIT AND OPEN CIRCUIT)
                        ๑.๕ ความถี่วิทยุ (RADIO FREQUENCY) ความถี่เสียง (AUDIO FREQUENCY)
                        ๑.๖ การแบงคากระแสและคาแรงดัน
-๒-

                    ๑.๗ การคํานวณวงจรกระแสสลับ
                    ๑.๘ คา RMS ของกระแสรูป Sine
                ๒. สวนประกอบของวงจรไฟฟา และอีเลคทรอนิกส
                    ๒.๑ ความรูเกี่ยวกับคุณสมบัติ การตัด และประโยชนในการนําไปใชงานของ ผลึก
ควอตซ
                      ๒.๒ ความสัมพันธของกําลังไฟฟา ของหมอแปลงไฟฟา (กําลังไฟฟาขาเขาเปน
ผลรวมของกําลังไฟฟาขาออกกับกําลังไฟฟาสูญเสียภายในหมอแปลง)
                      ๒.๓ สวนประกอบหลักของมิเตอรแบบเข็ม
                      ๒.๔ ความรูเกี่ยวกับหลอดสูญญากาศ ดังนี้ องคประกอบหลักคือ ไสหลอด แคโถด
กริด และเพลต กระแส และทิศทางการไหลของกระแสสมมุติในวงจร เพลต แคโถด ขั้วไฟฟา ของเพลต
เทียบกับแคโถด และกริดเทียบกับแคโถดของหลอดชนิดไตรโอด ประโยชนในการนําไปใชงานที่สําคัญเชน
ใชขยายสัญญาณ
                      ๒.๕ ความรูเกี่ยวกับไดโอด ดังนี้ ทําจากสารกึ่งตัวนํา ทิศทางการไหลของกระแส
สมมุติการเรียกชื่อขั้วทั้งสองวา แอโนด และแคโถด ประโยชน ที่สําคัญคือ ใชเปน ตัวเรียงกระแส
(RECTIFIER) ในแหลงจายไฟตรงและขอจํากัดในการใชงานที่สําคัญ คือการทนกระแสสูงสุด และการทน
แรงดันยอนกลับสูงสุด (PIV)
                      ๒.๖ ความรูเกี่ยวกับทรานซิสเตอร ดังนี้ ทําจากสารกึ่งตัวนํา การเรียกชื่อขั้วทั้งสามวา
อีมิตเตอร เบส และ คอลเลคเตอร ทิศทางการไหลของกระแสสมมุติในวงจร การไบแอส ประโยชนในการ
นําไปใชงาน เชน การขยายสัญญาณ
                 ๓. หลักการทํางานของเครื่องรับ-สงวิทยุ
                      ๓.๑ คํายอลักษณะหรือประเภทของการสง (CLASS OF EMISSION) ที่เกี่ยวของวามี
ความหมายอยางไร ไดแก N0N, A1A, A2S, J3E, R3E, H3E, F1B, F2A, F2D, F3E
                      ๓.๒ ความหมายของคํ าว าข าวสาร (SIGNAL INFORMATION) MODULATING
SIGNAL สัญญาณคลื่นพาห (CARRIER) สัญญาณคลื่นที่ถูกผสมแลว (MODULATED CARRIER)
การผสมคลื่นหลัก ๆ ในแงวิธีการผสมคลื่นและวิธีการทําใหได SIGNAL INFORMATION กับคืนมา
ทางดานรับ และรูจักองคประกอบของสัญญาณ วิธีการผสมคลื่นที่ควรรูคือ CW, AM, SSB, FM และPM
ความรูเกี่ยวกับรหัสตัวอักษรของ RTTY ที่มีอยู 3 ชนิด คือ BAUDOT, AMTOR และ ASCII ความแตกตาง
เบื้องตนระหวางรหัสทั้งสาม
-๓-

                  ๓.๓ ความหมายของคําที่เกี่ยวของกับการผสมคลื่น คือ ความกวางแถบคลื่ น
(BANDWIDTH) การเบี่ยงเบนทางความถี่ (FREQUENCY DEVIATION) เปอรเซนตมอดูเลชั่นและ
ความหมายของคําที่พบบอย ๆ สําหรับนักวิทยุสมัครเลนในการรับ-สงวิทยุ SSB และ CW คือ LINEARITY,
OVERMODULATION และ KEY CLICK
                  ๓.๔ หลักการทํางานของเครื่องสงวิทยุ และเครื่องรับวิทยุสามารถอธิบายการทํางาน
ตามแผนผังตอไปนี้ได
             ๑) เครื่องรับวิทยุแบบ ซูเปอรเฮเทอโรดายน

                 RF                                  IF                          AF
              AMPLIFIER          MIXER            AMPLIFIER   DETECTOR        AMPLIFIER           SPEAKER




                                 LOCAL                           AFO
                               OSCILLATOR


           .LOCAL OSCILLATOR อาจเปนชนิดใชแรแบบ VFO หรือแบบ FREQUENCY
            SYNTHESIZER
           ..RFO ใชกับการรับคลื่นแบบ CW และ SSB
                                                                                          ANT

              ๒) เครื่องสงวิทยุแบบ CW
                      RF                                                RF
                  OSCILLATOR                  DRIVER              POWER AMPLIFIER




                                                                                            ANT
              ๓) เครื่องสงวิทยุแบบ AM
                      RF                                                RF
                  OSCILLATOR                   DRIVER             POWER AMPLIFIER




                                                AF
          INPUT                             PREAMPLIFIER               MODULATOR
-๔-
                                                                                                                    ANT

         ๔) เครื่องสงวิทยุแบบ SSB
            AF                 BALANCED               SSB                                             RF
INPUT                                                FILTER
        PREAMPLIFIER          OSCILLATOR                        MIXER              DRIVER           POWER
                                                                                                   AMPLIFIE




                                 CARRIER                          RF
                               OSCILLATOR                     OSCILLATOR




         ๕) การตออุปกรณ RTTY                                                                                ANT




          COMPUTER                           MODEM                    เครื่องรับ - สงวิทยุ



          หรือเปนอุปกรณ RTTY สมบูรณแบบ (COPUTER RTTY TERMINAL)                                             ANT




                       RTTY TERMINAL                                       เครื่องรับ - สงวิทยุ


         ๖) การตอ Packet Radio
                                                                                                              ANT




                                              TERMINAL
             COMPUTER                      NODE CONTROLLER                 เครื่องรับ - สงวิทยุ
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐

More Related Content

What's hot

แผนจัดการเรียนรู้ 1-6
แผนจัดการเรียนรู้ 1-6แผนจัดการเรียนรู้ 1-6
แผนจัดการเรียนรู้ 1-6peter dontoom
 
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีนหลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีนInmylove Nupad
 
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศหน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศให้รัก นำทาง
 
ข้อกำหนด กติกา และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...
ข้อกำหนด  กติกา  และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...ข้อกำหนด  กติกา  และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...
ข้อกำหนด กติกา และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...Totsaporn Inthanin
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Nattarika Wonkumdang
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้Yatphirun Phuangsuwan
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยKanokwan Makepothi
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษาkrusupkij
 
มาม่าในชีวิตประจำวัน
มาม่าในชีวิตประจำวันมาม่าในชีวิตประจำวัน
มาม่าในชีวิตประจำวันTuksin Dumrong
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPaper pallet
ตัวอย่างแผนธุรกิจPaper palletตัวอย่างแผนธุรกิจPaper pallet
ตัวอย่างแผนธุรกิจPaper palletNattakorn Sunkdon
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนsupphawan
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่Nichakorn Sengsui
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2teerachon
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะYatphirun Phuangsuwan
 
มอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธ
มอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธมอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธ
มอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธKruthai Kidsdee
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1peter dontoom
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
แผนการปฎิรูปประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง)
แผนการปฎิรูปประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง)แผนการปฎิรูปประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง)
แผนการปฎิรูปประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง)AntzRatanachooto1
 

What's hot (20)

แผนจัดการเรียนรู้ 1-6
แผนจัดการเรียนรู้ 1-6แผนจัดการเรียนรู้ 1-6
แผนจัดการเรียนรู้ 1-6
 
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีนหลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
 
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศหน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อกำหนด กติกา และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...
ข้อกำหนด  กติกา  และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...ข้อกำหนด  กติกา  และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...
ข้อกำหนด กติกา และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทย
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษา
 
มาม่าในชีวิตประจำวัน
มาม่าในชีวิตประจำวันมาม่าในชีวิตประจำวัน
มาม่าในชีวิตประจำวัน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPaper pallet
ตัวอย่างแผนธุรกิจPaper palletตัวอย่างแผนธุรกิจPaper pallet
ตัวอย่างแผนธุรกิจPaper pallet
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนน
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
 
มอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธ
มอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธมอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธ
มอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธ
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
script กระแต 01
script กระแต 01script กระแต 01
script กระแต 01
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
 
แผนการปฎิรูปประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง)
แผนการปฎิรูปประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง)แผนการปฎิรูปประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง)
แผนการปฎิรูปประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง)
 

Viewers also liked

ร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชน
ร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชนร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชน
ร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชนPoramate Minsiri
 
คู่มือวิทยุสมัครเล่น โดย Hs5 ayo
คู่มือวิทยุสมัครเล่น โดย Hs5 ayoคู่มือวิทยุสมัครเล่น โดย Hs5 ayo
คู่มือวิทยุสมัครเล่น โดย Hs5 ayoPoramate Minsiri
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวPoramate Minsiri
 
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยหลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยPoramate Minsiri
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Poramate Minsiri
 
C 04. KT-HCSN KT thanh toán
C 04. KT-HCSN KT thanh toánC 04. KT-HCSN KT thanh toán
C 04. KT-HCSN KT thanh toánHoàng Ân
 
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Poramate Minsiri
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมPoramate Minsiri
 
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพวิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพPoramate Minsiri
 
IGM - Interaksjonsdesign og brukervennlighet - Innholdsdrevet webutvikling
IGM - Interaksjonsdesign og brukervennlighet - Innholdsdrevet webutviklingIGM - Interaksjonsdesign og brukervennlighet - Innholdsdrevet webutvikling
IGM - Interaksjonsdesign og brukervennlighet - Innholdsdrevet webutviklingVeronica Heltne
 
Digital hjælp til selvhjælp
Digital hjælp til selvhjælpDigital hjælp til selvhjælp
Digital hjælp til selvhjælpMindLab
 
Marketing tmdv nhom 10 quan tri b.DHCL-K8
Marketing tmdv nhom 10 quan tri b.DHCL-K8Marketing tmdv nhom 10 quan tri b.DHCL-K8
Marketing tmdv nhom 10 quan tri b.DHCL-K8dolavl89
 
Пример бизнес плана пивного ресторана
Пример бизнес плана пивного ресторанаПример бизнес плана пивного ресторана
Пример бизнес плана пивного ресторанаolegudobno
 
Ade putri call 4.c
Ade putri call 4.cAde putri call 4.c
Ade putri call 4.cadedani
 
Somnath City plots Resale Start,9911507567
Somnath City plots Resale Start,9911507567Somnath City plots Resale Start,9911507567
Somnath City plots Resale Start,9911507567sahilkharkara
 
Databazove systemy7
Databazove systemy7Databazove systemy7
Databazove systemy7olc_user
 

Viewers also liked (18)

ร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชน
ร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชนร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชน
ร่างแผนงานภาพรวมการรับมือภัยพิบัติภาคประชาชน
 
คู่มือวิทยุสมัครเล่น โดย Hs5 ayo
คู่มือวิทยุสมัครเล่น โดย Hs5 ayoคู่มือวิทยุสมัครเล่น โดย Hs5 ayo
คู่มือวิทยุสมัครเล่น โดย Hs5 ayo
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
 
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยหลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
 
C 04. KT-HCSN KT thanh toán
C 04. KT-HCSN KT thanh toánC 04. KT-HCSN KT thanh toán
C 04. KT-HCSN KT thanh toán
 
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
 
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพวิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
 
IGM - Interaksjonsdesign og brukervennlighet - Innholdsdrevet webutvikling
IGM - Interaksjonsdesign og brukervennlighet - Innholdsdrevet webutviklingIGM - Interaksjonsdesign og brukervennlighet - Innholdsdrevet webutvikling
IGM - Interaksjonsdesign og brukervennlighet - Innholdsdrevet webutvikling
 
ソーシャルアプリ成功の秘訣
ソーシャルアプリ成功の秘訣ソーシャルアプリ成功の秘訣
ソーシャルアプリ成功の秘訣
 
Digital hjælp til selvhjælp
Digital hjælp til selvhjælpDigital hjælp til selvhjælp
Digital hjælp til selvhjælp
 
Data visualisatie
Data visualisatieData visualisatie
Data visualisatie
 
Marketing tmdv nhom 10 quan tri b.DHCL-K8
Marketing tmdv nhom 10 quan tri b.DHCL-K8Marketing tmdv nhom 10 quan tri b.DHCL-K8
Marketing tmdv nhom 10 quan tri b.DHCL-K8
 
Пример бизнес плана пивного ресторана
Пример бизнес плана пивного ресторанаПример бизнес плана пивного ресторана
Пример бизнес плана пивного ресторана
 
Ade putri call 4.c
Ade putri call 4.cAde putri call 4.c
Ade putri call 4.c
 
Somnath City plots Resale Start,9911507567
Somnath City plots Resale Start,9911507567Somnath City plots Resale Start,9911507567
Somnath City plots Resale Start,9911507567
 
Databazove systemy7
Databazove systemy7Databazove systemy7
Databazove systemy7
 

Similar to ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐

ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555
ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555
ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555Victor Ronin
 
พลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัล
พลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัลพลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัล
พลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัลSettapong Malisuwan
 
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทยpuiwassana
 
พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงว...
พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงว...พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงว...
พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงว...Poramate Minsiri
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...Settapong_CyberSecurity
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...Settapong Malisuwan
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...www.nbtc.go.th
 

Similar to ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐ (20)

ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555
ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555
ประกาศ กสทช เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555
 
Thailand economy 4.0
Thailand economy 4.0Thailand economy 4.0
Thailand economy 4.0
 
Digital economy
Digital economyDigital economy
Digital economy
 
Digital economy
Digital economyDigital economy
Digital economy
 
Digital economy
Digital economyDigital economy
Digital economy
 
พลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัล
พลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัลพลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัล
พลิกมุมคิด ติดอาวุธธุรกิจ 4.0 ด้วยดิจิทัล
 
แนวโน้มธุรกิจวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย
แนวโน้มธุรกิจวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทยแนวโน้มธุรกิจวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย
แนวโน้มธุรกิจวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย
 
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
 
Global technology outlook
Global technology outlookGlobal technology outlook
Global technology outlook
 
Global technology outlook
Global technology outlookGlobal technology outlook
Global technology outlook
 
สกกก
สกกกสกกก
สกกก
 
พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงว...
พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงว...พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงว...
พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงว...
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
 
Human capability v5
Human capability v5Human capability v5
Human capability v5
 
Human capability v5
Human capability v5Human capability v5
Human capability v5
 
Human capability v5
Human capability v5Human capability v5
Human capability v5
 
Human capability v5
Human capability v5Human capability v5
Human capability v5
 

More from Poramate Minsiri

แนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platformแนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open PlatformPoramate Minsiri
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองPoramate Minsiri
 
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.Poramate Minsiri
 
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิรินิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริPoramate Minsiri
 
อาสาสู้Flood
อาสาสู้Floodอาสาสู้Flood
อาสาสู้FloodPoramate Minsiri
 
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่Poramate Minsiri
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่Poramate Minsiri
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นPoramate Minsiri
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวPoramate Minsiri
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนPoramate Minsiri
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดPoramate Minsiri
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งPoramate Minsiri
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ ThaifloodPoramate Minsiri
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก ThaifloodPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคPoramate Minsiri
 
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลาง
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลางบทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลาง
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลางPoramate Minsiri
 
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติPoramate Minsiri
 
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติPoramate Minsiri
 
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยPoramate Minsiri
 

More from Poramate Minsiri (20)

แนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platformแนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platform
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
 
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
 
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิรินิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
 
อาสาสู้Flood
อาสาสู้Floodอาสาสู้Flood
อาสาสู้Flood
 
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaiflood
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
 
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลาง
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลางบทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลาง
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลาง
 
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
 
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
 
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
 

ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐

  • 1. หนา ๑๐ เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ ระเบียบคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ วาดวยกิจการวิทยุสมัครเลน พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยที่ เป น การสมควรปรั บปรุ ง ระเบี ย บว า ด วยกิ จ การวิ ท ยุส มั ค รเล น เพื่ อ ให กิ จ การวิ ท ยุ สมัครเลน เกิดประโยชนตอสังคมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการสงเสริมเยาวชนและ ประชาชนทั่วไปใหมความสนใจและเขารวมในกิจการวิทยุสมัครเลน สนับสนุนพนักงานวิทยุสมัครเลน ี ใหมีบทบาทในการคนควา ทดลอง ดานวิชาการสื่อสารดวยคลื่น วิทยุสามารถวิจัยพัฒนาเทคโนโลยี ที่เป น ประโยชนต อการติด ตอสื่ อสารและการพัฒ นากิ จการวิท ยุสมั ครเลน ใหเป น สากล ตลอดจน สามารถพัฒนาตนเองใหเขมแข็งและดูแลกันเองได อีกทั้งยังใชเปนขายสื่อสารสํารองในกรณีเกิดเหตุ ฉุกเฉินหรือเกิดภัยพิบัติ อาศั ย อํ า นาจตามความในมาตรา ๕๑ (๓) (๒๑) วรรคสอง และมาตรา ๗๘ แห ง พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการ โทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ ประกอบมาตรา ๑๑ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติวิ ทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ ซึ่ ง แก ไขเพิ่ม เติม โดยพระราชบั ญญั ติ วิท ยุ คมนาคม (ฉบั บที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ จึงกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับกิจการวิทยุสมัครเลน ไว ดังตอไปนี้ หมวด ๑ บททั่วไป ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ วาดวยกิจการ วิทยุสมัครเลน พ.ศ. ๒๕๕๐” ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ขอ ๓ ใหยกเลิก (๑) ระเบียบคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ วาดวยกิจการ วิทยุสมัครเลน พ.ศ. ๒๕๓๐
  • 2. หนา ๑๑ เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ (๒) ระเบียบคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ วาดวยกิจการ วิทยุสมัครเลน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๒ (๓) ระเบียบคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ วาดวยกิจการ วิทยุสมัครเลน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๓ (๔) ระเบียบคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ วาดวยกิจการ วิทยุสมัครเลน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๔ (๕) ระเบียบคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ วาดวยกิจการ วิทยุสมัครเลน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๔ (๖) ระเบียบกรมไปรษณียโทรเลข วาดวยการขยายขายวิทยุสมัครเลนทั่วประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๒ (๗) ระเบียบกรมไปรษณียโทรเลข วาดวยการขยายขายวิทยุสมัครเลนทั่วประเทศ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๓ (๘) ระเบียบกรมไปรษณียโทรเลข วาดวยการขยายขายวิทยุสมัครเลนทั่วประเทศ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๕ (๙) ประกาศกรมไปรษณียโทรเลข เรื่อง กําหนดความถี่วิทยุและหลักเกณฑการใชความถี่ วิทยุยาน VHF และ UHF สําหรับกิจการวิทยุสมัครเลนและกิจการวิทยุสมัครเลนผานดาวเทียม (๑๐) ประกาศกรมไปรษณียโทรเลข เรื่อง หลักเกณฑการอนุญาตใหตั้งสถานีวิทยุคมนาคม ประเภทสถานีทวนสัญญาณ (Repeater) ในกิจการวิทยุสมัครเลน ขอ ๔ ในระเบียบนี้ “กิจการวิทยุสมัครเลน” หมายความวา กิจการวิทยุคมนาคมที่ดําเนินการโดยพนักงานวิทยุ สมัครเลน ซึ่ งไดรั บอนุญ าตจากคณะกรรมการกิ จการโทรคมนาคมแหง ชาติ เพื่อ การฝ กฝนตนเอง การติดตอระหวางกัน และการทดลองตรวจสอบทางวิช าการวิทยุคมนาคมตาง ๆ เพื่อจุดประสงค ในการเพิ่มพูนความรูและวิชาการโดยไมเกี่ยวของกับผลประโยชนทางดานธุรกิจหรือการเมือง “สถานีวิทยุสมัครเลน ” หมายความวา สถานีวิทยุคมนาคมตามนัยแหงพระราชบัญญัติ วิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ ที่ตั้งขึ้นเพื่อกิจการวิทยุสมัครเลนซึ่งไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติแลว และใชกําลังสงตามที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติกําหนด “พนักงานวิทยุสมัครเลน” หมายความวา พนักงานวิทยุคมนาคมประจําสถานีวิทยุคมนาคม สมัครเลนตามพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘
  • 3. หนา ๑๒ เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ “ใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเลน ” หมายความวา ใบอนุญาตพนักงานวิทยุคมนาคม ซึ่งคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติออกใหตามพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ “สถานีวิทยุสมัครเลนควบคุมขาย” หมายความวา สถานีวิทยุสมัครเลนซึ่งทําหนาที่ควบคุม การใชวิทยุสมัครเลนตั้งขึ้นในพื้นที่ท่วราชอาณาจักร ั “ข า ยวิ ท ยุ ส มั ค รเล น ทั่ ว ประเทศ” หมายความว า ข า ยวิ ท ยุ ส มั ค รเล น ที่ ข ยายออกไป ทั่วราชอาณาจักร “สถานีกิจกรรมพิเศษ” หมายความวา การตั้งสถานีวิทยุคมนาคมเพื่อการทดลอง การสาธิต การแขงขัน เพื่อการศึกษาหรือกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน “สมาคม” หมายความวา สมาคมวิทยุสมัครเลนที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ รับรองใหทําหนาที่บริหารสถานีวิทยุสมัครเลนควบคุมขาย “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ “สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ขอ ๕ การใดที่มิไดกําหนดหรือมิอาจปฏิบัติไดตามระเบียบนี้ ใหเสนอคณะกรรมการ พิจารณา ขอ ๖ ใหประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติเปนผูรักษาการตามระเบียบนี้ หมวด ๒ วัตถุประสงค ขอ ๗ กิจการวิทยุสมัครเลน มีวัตถุประสงคเพื่อ (๑) สงเสริมและสนับสนุนการศึกษา คนควา ทดลองดานวิชาการสื่อสารแกประชาชนและ สถานศึกษา (๒) พัฒนาความรูดานวิชาการสื่อสารดวยคลื่นวิทยุ (๓) ฝกฝนพนักงานวิทยุสมัครเลนใหมความรูความชํานาญยิ่ง ๆ ขึ้นไป ี (๔) เสริมสรางประโยชนตอสังคมและความปลอดภัยของประเทศชาติ (๕) เพิ่มพูนจํานวนพนักงานวิทยุสมัครเลนสํารองไวใชประโยชนในยามฉุกเฉิน หรือภัยพิบัติ (๖) ใชเปนขายสื่อสารสาธารณะสํารองในยามฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ (๗) สรางชื่อเสียงของประเทศใหเปนที่รูจักในวงการวิทยุสมัครเลนระหวางประเทศ
  • 4. หนา ๑๓ เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ หมวด ๓ คุณสมบัติของพนักงานวิทยุสมัครเลน ขอ ๘ พนักงานวิทยุสมัครเลนตองมีคุณสมบัติ ดังนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) เปน ผู ไดรั บประกาศนียบัต รพนั กงานวิทยุ สมัครเลน ซึ่ง คณะกรรมการออกใหหรื อ ประกาศนียบัตรซึ่งคณะกรรมการเห็นสมควรใหเทียบเทา หมวด ๔ พนักงานวิทยุสมัครเลน ขอ ๙ พนักงานวิทยุสมัครเลนแบงออกเปน ๓ ประเภท ดังนี้ (๑) พนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน (๒) พนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นกลาง (๓) พนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นสูง ขอ ๑๐ ผู ที่ ป ระสงค จ ะเป น พนั ก งานวิ ท ยุ ส มั ค รเล น ประเภทต า ง ๆ จะต อ งได รั บ ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนประเภทนั้น ๆ หรือไดรับประกาศนียบัตรที่คณะกรรมการ เทียบเทา สําหรับผูที่ประสงคจะไดรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้น กลางจะตองไดรับ ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตนกอน และผูที่ประสงคจะไดรับประกาศนียบัตรพนักงาน วิทยุสมัครเลนขั้นสูงจะตองไดรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตนและขั้นกลางแลว ขอ ๑๑ ใหสํานักงานหรือสมาคมที่คณะกรรมการอนุญาตใหจัดสอบ หรือจัดอบรมและ สอบ เปนผูดําเนินการจัดสอบ หรือจัดอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลน ขั้นตนหรือขั้นกลาง โดยใชหลักสูตรและวิธีการจัดสอบ หรือจัดอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตร พนักงานวิทยุสมัครเลน ตามที่คณะกรรมการกําหนดไวในภาคผนวก ๑ และ ๒ แนบทายระเบียบนี้ ขอ ๑๒ คณะกรรมการจะออกประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลน ขั้น ต น แกบุคคล บางประเภทตามที่คณะกรรมการกําหนดโดยวิธีการอื่นนอกจากขอ ๑๑ ก็ได
  • 5. หนา ๑๔ เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ หมวด ๕ การเทียบประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลน ขอ ๑๓ สําหรับผูที่ไมมีคุณสมบัติตามหมวด ๓ ขอ ๘ (๑) จะตองนําประกาศนียบัตร พนักงานวิทยุสมัครเลนที่ตนไดรับมาแสดง โดยที่คณะกรรมการสงวนสิทธิ์ที่จะพิจารณาเทียบใหเปน กรณี ๆ ไป และเฉพาะกับประเทศที่ใชหลักขอตกลงตางตอบแทน หากคณะกรรมการเทียบให ใหถือวา ไดรับการยกเวนคุณสมบัติตามขอ ๘ ขอ ๑๔ สําหรับผูมีสญชาติไทยที่ถอประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนจากประเทศอื่น ั ื ที่จะใหคณะกรรมการเทียบให จะตองนําประกาศนียบัตรนั้น ๆ มาแสดง และคณะกรรมการสงวนสิทธิ์ ที่จะพิจารณาใหเปนกรณี ๆ ไป หมวด ๖ การตั้งสถานีวิทยุสมัครเลน ขอ ๑๕ คณะกรรมการจะพิจารณาอนุญาตใหตั้งสถานีวิทยุสมัครเลน เฉพาะผูที่ไดรับ ใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเลนแลวเทานั้น ขอ ๑๖ กรณี สถานีวิ ท ยุ สมั ค รเล น ประเภทประจํ าที่ ห รือ เคลื่อ นที่ คณะกรรมการจะ พิจารณาอนุญาตใหตั้งในสถานที่หรือในยานพาหนะ เฉพาะผูที่ไดรับใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเลน ซึ่งเปนเจาของ หรือมีสิทธิอาศัย หรือมีสิทธิครอบครองสถานที่หรือยานพาหนะเทานั้น ขอ ๑๗ สถานีวิทยุสมัครเลนประเภทสถานีเพื่อการศึกษา ทดลอง หรือกิจกรรมพิเศษ จะไดรับอนุญาตใหตั้งสถานีและดําเนินการเฉพาะภายใตการกํากับดูแลจากผูไดรับใบอนุญาตพนักงาน วิทยุสมัครเลนแลวเทานั้น ขอ ๑๘ คณะกรรมการอาจไม อ นุ ญ าตให ตั้ ง สถานี วิ ท ยุ ส มั ค รเล น ซึ่ ง ตั้ ง อยู ใ กล กั บ ศูนยตรวจสอบการใชความถี่วิทยุหรือสถานีตรวจสอบการใชความถี่วิทยุของสํานักงานในรัศมีไมเกิน หนึ่งกิโลเมตร หรืออาจอนุญาตใหตั้งได โดยมีเงื่อ นไขพิเ ศษเพื่อปองกันมิใ หสถานีนั้นไปรบกวน การปฏิบัตงานของศูนยตรวจสอบการใชความถี่วิทยุหรือสถานีตรวจสอบการใชความถี่วิทยุ ิ ขอ ๑๙ สถานีวิทยุสมัครเลนซึ่งดําเนินการโดยชาวตางประเทศ จะอนุญาตเปนกรณีไป เฉพาะกับประเทศที่ใชหลักขอตกลงตางตอบแทน
  • 6. หนา ๑๕ เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ ขอ ๒๐ การตั้งสถานีวิทยุสมัครเลนควบคุมขายวิทยุสมัครเลนทั่วประเทศ ใหดําเนินการ ตามที่คณะกรรมการกําหนดไวในภาคผนวก ๓ แนบทายระเบียบนี้ หมวด ๗ ความถี่วิทยุและหลักเกณฑการใชความถี่วิทยุสําหรับกิจการวิทยุสมัครเลน ขอ ๒๑ ความถี่ วิ ท ยุ แ ละหลั ก เกณฑ ก ารใช ค วามถี่ วิ ท ยุสํ า หรั บ กิ จ การวิ ท ยุ ส มั ค รเล น ใหเปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนดไวในภาคผนวก ๔ แนบทายระเบียบนี้ หมวด ๘ สัญญาณเรียกขาน (CALL SIGN) ขอ ๒๒ พนักงานวิทยุสมัครเลนหรือสถานีวิทยุสมัครเลน จะไดรับการกําหนดสัญญาณ เรียกขานควบคูไปกับใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเลน หรือใบอนุญาตใหตั้งสถานีวิทยุสมัครเลน แลวแตกรณี ขอ ๒๓ การกํ า หนดสั ญ ญาณเรี ย กขานของพนั ก งานวิ ท ยุ ส มั ค รเล น หรื อ สถานี วิ ท ยุ สมัครเลน ใหกระทําโดยคณะกรรมการตามมาตรฐานของขอบังคับวิทยุระหวางประเทศ หมวด ๙ เครื่องวิทยุคมนาคม ขอ ๒๔ เครื่ อ งวิ ท ยุ ค มนาคมในกิ จ การวิ ท ยุ ส มั ค รเล น ต อ งมี ม าตรฐานทางเทคนิ ค ตามขอบังคับของสหภาพโทรคมนาคมระหวางประเทศ (ITU) และตามประกาศคณะกรรมการ วาดวย มาตรฐานทางเทคนิคของเครื่องโทรคมนาคมและอุปกรณ เรื่อง เครื่องวิทยุคมนาคมในกิจการวิทยุ สมัครเลน ขอ ๒๕ เครื่องวิทยุคมนาคมในกิจการวิทยุสมัครเลนตองผานการทดสอบรับรองตัวอยาง ตามที่คณะกรรมการกําหนด ขอ ๒๖ เครื่องวิทยุคมนาคมในกิจการวิทยุสมัครเลนตองมีทะเบียนเครื่องวิทยุคมนาคม และสัญลักษณตามที่คณะกรรมการกําหนดไวใหเห็นเดนชัดทุกเครื่อง
  • 7. หนา ๑๖ เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ ขอ ๒๗ เครื่องวิทยุคมนาคมที่ใ ชใ นสถานีวิทยุสมัครเล น ตอ งใชกําลังส ง ความถี่วิท ยุ และประเภทการรับ - สงขาวสารตามที่คณะกรรมการกําหนด หมวด ๑๐ การบันทึกขอความการติดตอสื่อสาร ขอ ๒๘ พนักงานวิทยุสมัครเลนทุกคนตองมีสมุดบันทึกการติดตอสื่อสาร (LOG BOOK) ไวประจําสถานีวิทยุสมัครเลน และจะตองบันทึกรายละเอียดการติดตอสื่อสาร เพื่อใหคณะกรรมการ หรือผูไดรับมอบหมายตรวจสอบหรือเพื่อประโยชนอื่น ๆ โดยตองดําเนินการ ดังนี้ (๑) รายละเอียดการติดตอสื่อสารที่จะตองบันทึก (ก) วัน เดือน ป และเวลา ตั้งแตเริ่มและสิ้นสุดการติดตอแตละครั้ง (ข) สัญญาณเรียกขานของคูสถานีที่ติดตอดวย (ค) สรุปขอความที่ติดตอแตละครั้ง (ง) ความถี่วิทยุ และกําลังสงของเครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช (จ) ประเภทของการแพรกระจายคลื่น (๒) สมุ ด บั น ทึ ก การติ ด ต อ สื่ อ สารตอ งเก็ บ ไว เ ป น เวลาไม น อ ยกว า ๑ ป นั บ จากวั น ที่ ไดบันทึกการติดตอไว หมวด ๑๑ การปฏิบัติในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ ขอ ๒๙ ในกรณีเ กิ ดเหตุ ฉุก เฉิน หรื อเกิ ดภั ยพิ บั ติ ทํ าให การสื่ อสารสาธารณะขั ดข อ ง ใหหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถใชความถี่ยานวิทยุสมัครเลนทั้งหมดหรือบางสวนเพื่อการประสานงาน เกี่ยวกับการกูภัยหรือเพื่อบรรเทาทุกข และใชเปนขายสื่อสารสํารองในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินหรือเกิด ภัยพิบัติไดเทาที่จําเปน ขอ ๓๐ ในกรณีตามขอ ๒๙ ใหสถานีวิทยุสมัครเลนที่ใชความถี่วิทยุอยูในขณะนั้นระงับ การใชความถี่วิทยุนั้นโดยทันที
  • 8. หนา ๑๗ เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ ขอ ๓๑ ใหหนวยงานที่เกี่ยวของซึ่งใชความถี่วิทยุเพื่อการประสานงานเกี่ยวกับการกูภัย หรือเพื่อบรรเทาทุกขระงับการใชความถี่วิทยุนั้นโดยทันทีเมื่อเหตุการณนั้นสิ้นสุดลง และสถานีวิทยุ สมัครเลนสามารถติดตอกันไดตามปกติ หมวด ๑๒ ขอหามสําหรับกิจการวิทยุสมัครเลน ขอ ๓๒ กิจการวิทยุสมัครเลนมีขอหาม ดังตอไปนี้  (๑) ติ ด ต อ กั บ สถานี วิ ท ยุ ส มั ค รเล น กั บ ประเทศที่ ไ ม อ นุ ญ าตให มี กิ จ การวิ ท ยุ ส มั ค รเล น ในประเทศนั้น (๒) ใชรหัสลับในการติดตอสื่อสาร (๓) รับ - สงขาวสารนอกเหนือไปจากกิจการวิทยุสมัครเลน เวนแตกิจกรรมพิเศษ (๔) จางวานรับ - สงขาวสารไปยังบุคคลที่สาม (๕) ใชถอยคําหยาบคายในการติดตอสื่อสาร (๖) รับ - สงขาวสารอันมีเนื้อหาละเมิดตอกฎหมายบานเมือง (๗) สงเสียงดนตรี รายการบันเทิง หรือรายการโฆษณาทุกประเภท (๘) กระทําใหเกิดการรบกวนตอการสื่อสารของสถานีอื่นโดยเจตนา เชน การสงสัญญาณ คลื่นรบกวนประเภทตาง ๆ ใชชองสัญญาณติดตอสื่อสารทับซอนกัน (๙) ติดตอกับสถานีวิทยุคมนาคมที่ไมไดรับอนุญาต (๑๐) ใชสัญญาณเรียกขานปลอม หรือแอบอางใชสัญญาณเรียกขานของผูอื่น (๑๑) แย ง ใช ช อ งสั ญ ญาณในการติ ด ต อ สื่ อ สาร หรื อ ใช ช อ งสั ญ ญาณในลั ก ษณะยึ ด ถื อ ครอบครองเฉพาะกลุมบุคคล (๑๒) ยินยอมใหผูอื่นที่ไมมีใบอนุญาตใชสถานีวิทยุคมนาคมหรือเครื่องวิทยุคมนาคมกระทําผิด กฎหมายวิทยุคมนาคม หรือกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ (๑๓) ไมบันทึกการติดตอสื่อสารในสมุดบันทึก (LOG BOOK)
  • 9. หนา ๑๘ เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ หมวด ๑๓ การกํากับดูแล ขอ ๓๓ เจาพนักงานผูออกใบอนุญาตหรื อผูที่ไดรับมอบหมายจากเจาพนั กงานผูออก ใบอนุญาตเปนลายลักษณอักษร มีอํานาจเขาไปในอาคารสถานที่หรือยานพาหนะของบุคคลใด ๆ ไดใน เวลาอันสมควร เพื่อจุดมุงหมายในการตรวจเครื่องวิทยุคมนาคม สวนแหงเครื่องวิทยุคมนาคม สถานี วิทยุคมนาคม สิ่ งที่กอใหเกิดการรบกวน หรือ ขัดขวางตอการวิ ทยุคมนาคม หรือใบอนุ ญาตวิท ยุ คมนาคม และสมุดบันทึกการติดตอสื่อสาร ทั้งนี้ พนักงานวิทยุสมัครเลนจะตองอํานวยความสะดวก ในการตรวจสอบดังกลาว หมวด ๑๔ คุณธรรมและจริยธรรมของพนักงานวิทยุสมัครเลน ขอ ๓๔ พนักงานวิทยุสมัครเลนควรมีคุณธรรมและจริยธรรม อยางนอย ดังตอไปนี้ (๑) พึงปฏิบัติหนาที่ตามระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวกับกิจการวิทยุสมัครเลนอยางเครงครัด (๒) ใฝ ห าความรู สํ า รวจปรั บ ปรุ ง ตนเองและทํ า หน า ที่ พ นั ก งานวิ ท ยุ ส มั ค รเล น ให มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (๓) มีความคิดริเริ่มสรางสรรค (๔) มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่พนักงานวิทยุสมัครเลน (๕) รูรัก สามัคคี และเปนมิตรกับพนักงานวิทยุสมัครเลนทุกคน (๖) เก็บรักษาความลับขอมูลที่ไมควรเปดเผย (๗) มีความเสียสละเพื่อประโยชนของสวนรวม (๘) ตรงตอเวลา (๙) ดํารงตนเปนที่พึ่งของสุจริตชน
  • 10. หนา ๑๙ เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ หมวด ๑๕ มาตรการบังคับทางปกครอง ขอ ๓๕ พนักงานวิทยุสมัครเลนหรือสถานีวิทยุสมัครเลน ควบคุมขายที่ฝาฝนไมปฏิบัติ ตามระเบียบนี้ขอหนึ่งขอใด หรือหลายขอ ใหสํานักงานพิจารณาเสนอคณะกรรมการเพื่อดําเนินการ พิจารณาโทษ ดังตอไปนี้ แลวแตกรณี (๑) ตักเตือนดวยวาจา (๒) ตักเตือนเปนลายลักษณอักษร (๓) ใหพนจากการเปนพนักงานวิทยุสมัครเลนชั่วคราว (๔) ใหพนจากการเปนพนักงานวิทยุสมัครเลนถาวร (๕) ดําเนินการตามกฎหมาย ขอ ๓๖ การพิจารณาโทษตามขอ ๓๕ ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการประกาศ กําหนด บทเฉพาะกาล ขอ ๓๗ ชมรมวิทยุสมัครเลนที่ไดรับอนุญาตจากกรมไปรษณียโทรเลข และรับรองใหทํา หนาที่บริหารสถานีวิทยุสมัครเลนควบคุมขายประจําจังหวัด ตามระเบียบกรมไปรษณียโทรเลข วาดวย การขยายขายวิทยุสมัครเลนทั่วประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๒ ใหดําเนินการยื่นขอจดทะเบียนนิติบุคคลเปน สมาคมวิทยุสมัครเลน ที่มีวัตถุประสงคเกี่ยวกับกิจการวิทยุสมัครเลน ภายใน ๑๘๐ วัน นับแตวัน ที่ ระเบียบนี้มีผลใชบังคับ หากไมดําเนินการดังกลาวคณะกรรมการจะพิจารณา ยกเลิกการอนุญาตใหทํา หนาที่บริหารสถานีวิทยุสมัครเลนควบคุมขาย และยกเลิกการอนุญาตตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ประกาศ ณ วันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ พลเอก ชูชาติ พรหมพระสิทธิ์ ประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ
  • 11. ภาคผนวก ๑ แนบทายระเบียบคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ วาดวยกิจการวิทยุสมัครเลน พ.ศ. ๒๕๕๐ หลักสูตรและวิธีการสอบ และการอบรมและสอบ เพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน ขอ ๑ หลักสูตรและหัวขอวิชาสําหรับการสอบ และการอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตร พนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน มีดังนี้ ๑.๑ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ ที่เกี่ยวกับวิทยุสมัครเลน ๑.๑.๑ ความรูเกี่ยวกับกิจการวิทยุสมัครเลน องคการระหวางประเทศและขอบังคับ วิทยุระหวางประเทศที่เกี่ยวของ ๑.๑.๒ ความรูเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ ๑.๑.๓ ความรูเกี่ยวกับระเบียบคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ วาดวย กิจการวิทยุสมัครเลน พ.ศ. ๒๕๕๐ ๑.๑.๔ ความรูเกี่ยวกับการกําหนดสัญญาณเรียกขานสําหรับประเทศไทยและ ระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวของ ๑.๒ คุณธรรมและจริยธรรมของพนักงานวิทยุสมัครเลน ๑.๓ การติดตอสื่อสารของนักวิทยุสมัครเลน ๑.๓.๑ ประมวลรหัส Q ๑.๓.๒ การรายงานสัญญาณระบบ RST ๑.๓.๓ การอานออกเสียงตัวอักษร (ITU PHONETIC ALPHABET) ๑.๓.๔ คําเฉพาะและคํายอตาง ๆ ที่ควรรู ๑.๓.๕ การรับและแจงเหตุฉุกเฉิน ๑.๓.๖ สมุดบันทึกการติดตอสื่อสาร (LOG BOOK) ๑.๔ ทฤษฎีตาง ๆ สําหรับนักวิทยุสมัครเลน ๑.๔.๑ ทฤษฎีไฟฟา (๑) คํานําหนาหนวย (๒) ไฟฟากระแสตรง และไฟฟากระแสสลับ (๓) แหลงกําเนิดพลังงานไฟฟาแบบตาง ๆ (๔) คุณสมบัติของแบตเตอรี่แบบตาง ๆ
  • 12. -๒- (๕) แรงดันไฟฟา กระแสไฟฟา ตัวตานทานกําลังไฟฟา ไฟฟาและกฎของโอหม (๖) ตัวนําไฟฟาและฉนวนไฟฟา (๗) การตอตัวตานทานแบบอนุกรมและแบบขนาน (๘) ตัวเก็บประจุไฟฟา ตัวเหนี่ยวนําไฟฟา และการตอแบบอนุกรมและแบบขนาน (๙) คาปาซิตี ฟรีแ อกแตนซ อิน ดั ตดี ฟรีแ อกแตนซ อิม พี แ ดนซ และ รีโซแนนซ (๑๐) หมอแปลงไฟฟา (๑๑) ลักษณะของอุปกรณไฟฟาที่ควรรู (๑๒) เดซิเบล ๑.๔.๒ ทฤษฎีอิเล็กทรอนิกส หนาที่โดยสังเขปและสัญลักษณของอุปกรณบางอยาง ไดแก ทรานซิสเตอร ผลึกแร ไมโครโฟน ลําโพง หลอดวิทยุ และไอซี ๑.๔.๓ หลักการทํางานของเครื่องรับ/สงวิทยุ (๑) หนาที่ของภาคตาง ๆ ในเครื่องรับ-สงวิทยุแบบ TRF และแบบซุปเปอร เฮท-เทอโรดายน (๒) คุณสมบัติของเครื่องรับ-สงวิทยุ AM และ FM (๓) ซิมเพล็กซ ฟูลดูเพล็กซ และเซมิดูเพล็กซ ๑.๔.๔ สายอากาศและสายนําสัญญาณ (๑) คุณสมบัติของคลื่นวิทยุ และความถี่และความยาวคลื่น (๒) โพลาไรเซชั่น (๓) คุณสมบัติของสายอากาศ และสายอากาศพื้นฐานที่ควรรู (๔) สายนําสัญญาณแบบตาง ๆ และคุณสมบัติที่ควรรู (๕) SWR การแมทซ และบาลัน (๖) การแพรกระจายคลื่น และลักษณะการแพรกระจายคลื่นของยานความถี่ตาง ๆ (๗) การแบงยานความถี่ (๘) องคประกอบที่มีผลตอระยะการรับ/สงในยาน VHF ๑.๕ หลักปฏิบัติของนักวิทยุสมัครเลน ๑.๕.๑ ขอพึงระวังเรื่องความปลอดภัย ๑.๕.๒ การใชเครื่องมือวัดและองคประกอบตาง ๆ ๑.๕.๓ สาเหตุและการลดปญหาการรบกวน
  • 13. -๓- ขอ ๒ การจัดสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน ๒.๑ การขออนุญาตจัดสอบ สมาคมที่ประสงคจะจัดสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน ใหยื่นเรื่องตอสํานักงาน และตองแนบหลักฐานพรอมรายละเอียดในการสอบ ดังนี้ ๒.๑.๑ สําเนาใบสําคัญแสดงการจดทะเบียนสมาคม ๒.๑.๒ สําเนาใบสําคัญแสดงการจดทะเบียนแตงตั้งกรรมการของสมาคมขึ้นใหม ทั้งชุดหรือการเปลี่ยนแปลงกรรมการของสมาคม ๒.๑.๓ ขอบังคับสมาคม ๒.๑.๔ สําเนารายงานการประชุมใหญสามัญประจําป ๒.๑.๕ สําเนาหนังสืออนุญาตใหขยายขายกิจการวิทยุสมัครเลน ๒.๑.๖ สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน และสําเนาทะเบียนบานของนายกสมาคม ๒.๑.๗ กําหนดการสอบ และตารางการสอบ ๒.๑.๘ จํานวนผูเขารับการสอบ ๒.๑.๙ สถานที่ และอุปกรณประกอบการสอบ ๒.๒ ขั้นตอนการพิจารณา เมื่อสํานักงานไดรับเรื่องขอใหมีการจัดสอบแลวจะดําเนินการดังตอไปนี้ ๒.๒.๑ ตรวจสอบความถูกตองครบถวนของเอกสารที่แนบมาหากไมถูกตองครบถวน สํานักงานจะสงเรื่องคืนเพื่อดําเนินการใหถูกตองตอไป ๒.๒.๒ หากสํานักงานตรวจสอบความถูกตองครบถวนของเอกสารแลว ใหเสนอ คณะกรรมการเพื่อพิจารณา หากคณะกรรมการพิจารณาอนุญาตใหจัดสอบได ใหสํานักงานมีหนังสืออนุญาตให ดําเนินการจัดสอบ และออกประกาศการอนุญาตใหมีการจัดสอบ เพื่อใหผูประสงคเขารับการสอบทราบ ๒.๓ คุณสมบัตของผูเขารับการสอบ ิ ๒.๓.๑ มีสัญชาติไทย ๒.๓.๒ ไมเปนพระภิกษุ หรือสามเณร ซึ่งตองหามตามระเบียบของมหาเถรสมาคม ๒.๔ จํานวนผูสอบ ใหมีจํานวนผูเขารับการสอบในแตละครั้ง ตองไมนอยกวา ๑๐๐ คน ๒.๕ สถานที่จัดสอบ สมาคมที่ไดรบอนุญาตตองจัดสถานที่สอบและเจาหนาที่คุมสอบในสัดสวน ๑ คน ั ตอผูเขาสอบ ๒๐ คน
  • 14. -๔- ๒.๖ คาใชจายในการดําเนินการจัดสอบ ใหสมาคมที่ไดรับอนุญาตใหจัดสอบสามารถเรียกเก็บคาใชจายในการจัดสอบจาก ผูเขาสอบไดไมเกินคนละ ๔๐๐ บาท ประกอบดวย ๒.๖.๑ คาดําเนินการจัดสอบไมเกินคนละ ๑๐๐ บาท ประกอบดวย (๑) คาเชาสถานที่จัดสอบ (๒) คาใชจายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการสอบ ๒.๖.๒ คาใบสมัครสอบและเอกสารคูมือแนะนําการสอบ คนละ ๑๐๐ บาท ๒.๖.๓ คาธรรมเนียมการสอบคนละ ๒๐๐ บาท ทั้งนี้ ใหนําสงคาใบสมัครสอบและเอกสารคูมือแนะนําการสอบ และ คาธรรมเนียมการสอบตาม ๒.๖.๒ และ ๒.๖.๓ ใหสํานักงาน และในกรณีที่มีคาดําเนินการตาม ๒.๖.๑ คงเหลือหลังจากหักคาดําเนินการในการจัดสอบดังกลาว ใหเปนรายไดของสมาคมที่จัดสอบเพื่อใชเปน คาดําเนินงานสําหรับกิจการวิทยุสมัครเลนเทานั้น ๒.๗ หลักสูตรการสอบ หลักสูตรการสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนใหเปนไปตามที่ คณะกรรมการกําหนด ๒.๘ การกํากับการสอบ ๒.๘.๑ สํานักงานจะจัดขอสอบ และเจาหนาที่กํากับดูแลการสอบใหเปนไปดวย ความเรียบรอย ๒.๘.๒ วิธีการสอบ สอบขอเขียน จํานวน ๑๐๐ ขอ ๆ ละ ๑ คะแนน เวลาสอบ ๑ ชั่วโมง แบงออกเปน ๕ วิชา คือ วิชาที่ ๑ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ วิทยุสมัครเลนจํานวน ๒๕ ขอ วิชาที่ ๒ การติดตอสื่อสารของนักวิทยุสมัครเลน จํานวน ๒๐ ขอ วิชาที่ ๓ ทฤษฎีตาง ๆ สําหรับนักวิทยุสมัครเลน จํานวน ๒๐ ขอ วิชาที่ ๔ หลักปฏิบัติของนักวิทยุสมัครเลน จํานวน ๒๐ ขอ วิชาที่ ๕ คุณธรรมและจริยธรรมของพนักงานวิทยุสมัครเลน จํานวน ๑๕ ขอ ๒.๘.๓ ขอปฏิบติในการสอบ ผูมีสิทธิเขาสอบตองปฏิบัติดังตอไปนี้ ั (๑) มาถึงหองสอบกอนกําหนดเวลาตามตารางสอบเพื่อเตรียมตัวใหเรียบรอย กอนถึงเวลาสอบ
  • 15. -๕- (๒) ไมเขาหองสอบหลังหรือออกจากหองสอบกอน ๓๐ นาทีแรกของ กําหนดเวลาตามตารางสอบ (๓) ไมนําเอกสาร เครื่องมือ หรืออุปกรณสื่อสารใด ๆ เขาไปในหองสอบ (๔) ไมติดตอหรือใชอุปกรณสื่อสาร หรือพูดจากับผูหนึ่งผูใดในเวลาสอบ เมื่อมีขอสงสัยหรือกิจจําเปนใหแจงตอผูควบคุมการสอบ  (๕) หามผูเขาสอบนํากระดาษขอสอบ กระดาษคําตอบ และสิ่งอื่นใด ที่เกี่ยวของกับการสอบออกจากหองสอบ หากผูเขาสอบฝาฝนขอปฏิบัติดังกลาวขางตนขอใดขอหนึ่งหรือหลายขอ การพยายามหรือกระทําการอันเปนการทุจริตในการสอบผูควบคุมการสอบจะไมอนุญาตใหผูนั้นทําการสอบ สําหรับการสอบในครั้งนั้น ๒.๘.๔ เกณฑการสอบ ใหมีคะแนนการสอบภาคทฤษฎีท้งสิ้น ๑๐๐ คะแนน ทั้งนี้ ั ผูสอบตองไดคะแนนไมนอยกวารอยละ ๖๐ จึงจะถือวาสอบได ๒.๘.๕ การตรวจขอสอบ สํานักงานจะแตงตั้งคณะกรรมการเพื่อทําหนาที่ ตรวจขอสอบในการสอบแตละครั้ง ๒.๘.๖ การประกาศผลสอบ เมื่อคณะกรรมการตรวจขอสอบ ดําเนิน การ ตรวจขอสอบแลวเสร็จ และไดพิจารณาความถูกตองของคะแนนการสอบของผูสอบเรียบรอยแลว ใหนําเสนอผลการสอบตอเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ เพื่อดําเนินการประกาศ รายชื่อผูสอบไดและมีสิทธิไดรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน ๒.๘.๗ การออกประกาศนี ย บั ต รผู ส อบได ต ามเกณฑ ก ารสอบเพื่ อ รั บ ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตนจะไดรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน ซึ่งคณะกรรมการออกให และมีสิทธิยื่นคําขอใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตนตอสํานักงาน ๒.๙ การสรุปผลการจัดสอบ ใหสมาคมที่ไดรบอนุญาตใหจัดสอบ รายงานผลการดําเนินงานใหสํานักงาน ั ทราบภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่สอบ ตามแบบฟอรมที่สํานักงานกําหนด ๒.๑๐ บทลงโทษ หากสมาคมที่ไดรับอนุญาตใหจัดสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุ สมัครเลนขั้นตน ฝาฝนไมปฏิบัติตามหลักเกณฑการจัดสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลน ขั้นตน ใหสํานักงานดําเนินการ ดังตอไปนี้
  • 16. -๖- ๒.๑๐.๑ ตักเตือนดวยลายลักษณอักษร ๒.๑๐.๒ ไมอนุญาตใหดําเนินการจัดสอบในครั้งตอไป ๒.๑๐.๓ ดําเนินการตามกฎหมาย ขอ ๓ การจัดอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน ๓.๑ การขออนุญาตจัดอบรมและสอบ สมาคมที่ประสงคจะจัดอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุ สมัครเลนขั้นตนใหยื่นเรื่องตอสํานักงาน และตองแนบหลักฐานพรอมรายละเอียดในการอบรมและสอบ ดังนี้ ๓.๑.๑ สําเนาใบสําคัญแสดงการจดทะเบียนสมาคม ๓.๑.๒ สําเนาใบสําคัญแสดงการจดทะเบียนแตงตั้งกรรมการของสมาคมขึ้นใหม ทั้งชุดหรือการเปลี่ยนแปลงกรรมการของสมาคม ๓.๑.๓ ขอบังคับสมาคม ๓.๑.๔ สําเนารายงานการประชุมใหญสามัญประจําป ๓.๑.๕ สําเนาหนังสืออนุญาตใหขยายขายกิจการวิทยุสมัครเลน ๓.๑.๖ สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน และสําเนาทะเบียนบานของนายกสมาคม ๓.๑.๗ กําหนดการอบรมและสอบ ๓.๑.๘ จํานวนผูเขารับการอบรมและสอบ ๓.๑.๙ สถานที่ และอุปกรณประกอบการอบรมและสอบ ๓.๒ ขั้นตอนการพิจารณา เมื่อสํานักงานไดรับเรื่องขอใหมีการจัดอบรมและสอบแล วจะดําเนิน การ ดังตอไปนี้ ๓.๒.๑ ตรวจสอบความถูกตองครบถวนของเอกสารที่แนบมา หากไมถูกตอง ครบถวน สํานักงานจะสงเรื่องคืนเพื่อดําเนินการใหถูกตองตอไป ๓.๒.๒ หากสํานักงานตรวจสอบความถูกตองครบถวนของเอกสารแลว ใหเสนอ คณะกรรมการเพื่อพิจารณา หากคณะกรรมการพิจารณาอนุญาตใหจัดอบรมและสอบได ใหสํานักงานมี หนังสืออนุญาตใหดําเนินการจัดอบรมและสอบ และออกประกาศการอนุญาตใหมีการจัดอบรมและสอบ เพื่อใหผูประสงค เขารับการอบรมและสอบทราบ ๓.๓ คุณสมบัติของผูเขารับการอบรมและสอบ ๓.๓.๑ มีสัญชาติไทย ๓.๓.๒ มีอายุไมต่ํากวา ๑๕ ปบริบูรณ ในวันที่ยื่นสมัครอบรมและสอบ
  • 17. -๗- ๓.๓.๓ ไมเปนพระภิกษุ หรือสามเณร ซึ่งตองหามตามระเบียบของมหาเถรสมาคม ๓.๔ จํานวนผูเขารับการอบรมและสอบ ใหมีจํานวนผูเขารับการอบรมและสอบในแตละครั้ง ตองไมนอยกวา ๒๐๐ คน ๓.๕ วิทยากร วิทยากรของสํานักงาน หรือผูที่สํานักงานใหการรับรอง ๓.๖ สถานที่และอุปกรณประกอบการจัดอบรมและสอบ สมาคมที่ไดรับอนุญาตใหจัดอบรมและสอบ ตองจัดใหมีสถานที่อบรมพรอม อุปกรณประกอบการจัดอบรมและสอบ ดังนี้ ๓.๖.๑ สถานที่จัดการอบรมและสอบตองมีขนาดเพียงพอกับจํานวนผูเขารับการ อบรมและใชเปนสถานที่สอบไดอยางเหมาะสม ๓.๖.๒ อุปกรณในหองอบรมและสอบอยางนอยตองมีอุปกรณ ดังนี้ (๑) โสตทัศนูปกรณ (๒) เครื่องคอมพิวเตอร (๓) เครื่องถายสัญญาณขอมูลจากคอมพิวเตอร (LCD Overhead Projector) ทั้งนี้ สมาคมที่ไดรับอนุญาตใหจัดอบรมและสอบจะตองจัดใหมีสื่อ สงเสริมความรูและประสบการณในเรื่องที่เกี่ยวของ และเปนประโยชนกับผูเขารับการอบรมและสอบในการ นําไปใชในการปฏิบัติหนาที่พนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน ๓.๗ คาใชจายในการดําเนินการจัดอบรมและสอบ ใหสมาคมที่ไดรับอนุญาตใหจัดอบรมและสอบสามารถเรียกเก็บคาใชจายในการจัดอบรม และสอบจากผูเขารับการอบรมและสอบไมเกินคนละ ๑,๐๐๐ บาท ประกอบดวย ๓.๗.๑ คาดําเนินการจัดอบรมและสอบไมเกินคนละ ๗๐๐ บาท ประกอบดวย (๑) คาเชาสถานที่จัดอบรมและสอบ (๒) คาใชจายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการอบรมและสอบ ๓.๗.๒ คาใบสมัครอบรมและสอบ และเอกสารคูมืออบรมพนักงานวิทยุสมัครเลน คนละ ๑๐๐ บาท ๓.๗.๓ คาธรรมเนียมการอบรมและสอบคนละ ๒๐๐ บาท ทั้งนี้ ใหนําสงคาใบสมัครอบรมและสอบ และเอกสารคูมืออบรมพนักงาน วิทยุสมัครเลน และคาธรรมเนียมการอบรมและสอบตาม ๓.๗.๒ และ ๓.๗.๓ ใหสํานักงาน ในกรณีที่มี
  • 18. -๘- คาดําเนินการตาม ๓.๗.๑ คงเหลือหลังจากหักคาใชจายในการจัดอบรมและสอบ ใหเก็บเปนรายไดของ สมาคมที่จัดอบรมและสอบ เพื่อใชเปนคาดําเนินงานสําหรับกิจการวิทยุสมัครเลนเทานั้น ๓.๘ หลักสูตรการอบรมและสอบ หลักสูตรการอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนให เปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนด ๓.๙ การกํากับการอบรมและสอบ ๓.๙.๑ ระยะเวลาการอบรมและสอบ ประกอบดวยการอบรม ระยะเวลา ๖ ชั่วโมง และการสอบขอเขียน ระยะเวลา ๑ ชั่วโมง รวมระยะเวลาการอบรมและสอบ ๗ ชั่วโมง ๓.๙.๒ สอบขอเขียน จํานวน ๔๐ ขอ ๆ ละ ๒ คะแนน แบงออกเปน ๕ วิชา คือ วิชาที่ ๑ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับวิทยุ สมัครเลน จํานวน ๑๐ ขอ วิชาที่ ๒ การติดตอสื่อสารของนักวิทยุสมัครเลน จํานวน ๘ ขอ วิชาที่ ๓ ทฤษฎีตาง ๆ สําหรับนักวิทยุสมัครเลน จํานวน ๘ ขอ วิชาที่ ๔ หลักปฏิบัติของนักวิทยุสมัครเลน จํานวน ๘ ขอ วิชาที่ ๕ คุณธรรมและจริยธรรมของพนักงานวิทยุสมัครเลน จํานวน ๖ ขอ ๓.๙.๓ ขอปฏิบัติในการสอบ ผูมีสิทธิเขาสอบตองเปนผูมีเวลาเขาอบรมในทุกหัวขอวิชาตามขอ ๒ และ ในการสอบ ผูเขาสอบจะตองปฏิบตดังตอไปนี้ ัิ (๑) มาถึงหองสอบกอนกําหนดเวลาตามตารางสอบเพื่อเตรียมตัวให เรียบรอยกอนถึง เวลาสอบ (๒) ไมเขาหองสอบหลังหรือออกจากหองสอบกอน ๓๐ นาทีแรกของ กําหนดเวลาตามตารางสอบ (๓) ไมนําเอกสาร เครื่องมือ หรืออุปกรณสื่อสารใด ๆ เขาไปในหองสอบ (๔) ไมติดตอหรือใชอุปกรณสื่อสาร หรือพูดจากับผูหนึ่งผูใดในเวลาสอบ เมื่อมีขอสงสัยหรือกิจจําเปนใหแจงตอผูควบคุมการสอบ (๕) หามผูเขาสอบนํากระดาษขอสอบ กระดาษคําตอบ และสิ่งอื่นใด ที่เกี่ยวของกับการสอบออกจากหองสอบ
  • 19. -๙- หากผูเขาสอบฝาฝนขอปฏิบัติดังกลาวขางตนขอใดขอหนึ่งหรือหลายขอ การพยายามหรือกระทําการอันเปนการทุจริตในการสอบผูควบคุมการสอบจะไมอนุญาตใหผูนั้นทําการสอบ สําหรับการสอบในครั้งนั้น ๓.๙.๔ เกณฑการสอบ ใหมีคะแนนการสอบทั้งสิ้น ๑๐๐ คะแนน โดยแบงเกณฑ คะแนนการสอบออกเปน ๒ สวน คือ สวนที่ ๑ คะแนนสอบภาคทฤษฎี ๘๐ คะแนน สวนที่ ๒ คะแนนการเขาอบรมครบทุกหัวขอวิชา ๒๐ คะแนน ทั้งนี้ ผูเขารับการอบรมและสอบตองไดคะแนนทั้งสองสวนรวมกันไมนอย กวารอยละ ๖๐ จึงจะถือวาสอบได ๓.๙.๕ การตรวจขอสอบ สํานักงานจะแตงตั้งคณะกรรมการเพื่อทําหนาที่ ตรวจขอสอบในการอบรมและสอบแตละครั้ง ๓.๙.๖ การประกาศผลสอบ เมื่อคณะกรรมการตรวจขอสอบ ดําเนิน การ ตรวจขอสอบแลวเสร็จ และไดพิจารณาความถูกตองของคะแนนการสอบของผูสอบเรียบรอยแลว ใหนําเสนอผลการสอบตอเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ เพื่อดําเนินการประกาศ รายชื่อผูสอบไดและมีสิทธิไดรบประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตน ั ๓.๙.๗ การออกประกาศนียบัตร ผูเขารับการอบรมและสอบไดตามเกณฑการอบรม และสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตนจะไดรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลน ขั้นตนซึ่งคณะกรรมการออกใหและมีสิทธิยื่นคําขอใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นตนตอสํานักงาน ๓.๑๐ การสรุปผลการจัดอบรมและสอบ ใหสมาคมที่ไดรับอนุญาตใหจัดอบรมและสอบ รายงานผลการดําเนินงานให สํานักงานทราบภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่อบรมและสอบ ตามที่สํานักงานกําหนด ๓.๑๑ บทลงโทษ หากสมาคมที่ไดรบอนุญาตใหจัดอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงาน ั วิทยุสมัครเลนขั้นตน ฝาฝนไมปฏิบติตามหลักเกณฑการจัดอบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงาน ั วิทยุสมัครเลนขั้นตน ใหสานักงานดําเนินการดังตอไปนี้ ํ ๓.๑๑.๑ ตักเตือนดวยลายลักษณอักษร ๓.๑๑.๒ ไมอนุญาตใหดําเนินการจัดอบรมและสอบในครั้งตอไป ๓.๑๑.๓ ดําเนินการตามกฎหมาย --------------------------------------------
  • 20. ภาคผนวก ๒ แนบทายระเบียบคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ วาดวยกิจการวิทยุสมัครเลน พ.ศ.๒๕๕๐ หลักสูตรและวิธีการสอบเพื่อรับประกาศนียบัตร พนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นกลาง ขอ ๑ ภาคทฤษฎี สําหรับการสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นกลาง วิชาที่ ๑ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ และขอบังคับวิทยุสมัครเลน ๑. สิทธิที่ไดรับอนุญาตของพนักงานวิทยุสมัครเลนขั้นกลาง ในแงของยานความถี่ ลักษณะหรือประเภทของการสง (CLASS OF EMISSION) และขนาดกําลังสง ๒. ลักษณะการใชงานสถานีที่ไดรับอนุญาตและบุคคลที่สามารถใชสถานีได รวมทั้งเงื่อนไขและขอหามตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ๓. ความรูเกี่ยวกับขอบังคับวิทยุระหวางประเทศ สวนที่เกี่ยวกับกิจการวิทยุ สมัครเลน ๔. การสื่อสารเพื่อแจงขาวฉุกเฉิน วิชาที่ ๒ การติดตอสื่อสารของนักวิทยุสมัครเลน (๑) วัตถุประสงคของประมวลรหัส Q (Q code) และความหมายของประมวลรหัส ที่ควรรูเพิ่มขึ้นในขั้นกลาง ไดแก QRM, QRQ, QRS, QRV, QSD, QSM, QSZ, QTR, และ QSX (๒) คํายอและคําเฉพาะที่ควรรูเพิ่มขึ้นสําหรับขั้นกลาง ไดแก MONITOR, OUT, BREAKER, OM และ RY (๓) หลักปฏิบัติ และมารยาทในการเรียกขาน และในการติดตอสื่อสารในยาน HF วิชาที่ ๓ ทฤษฏีตาง ๆ สําหรับนักวิทยุสมัครเลน ๑. ทฤษฏีไฟฟา ๑.๑ พลังงาน (Energy) และหนวยของพลังงาน (กิโลวัตต-ชั่วโมง) ๑.๒ ความหมาย และหนวยของคาบเวลา ความสัมพันธของคาบเวลา และในการ ติดตอสื่อสารในยาน HF ๑.๓ หนาที่ของวงจรเลือกความถี่ (TUNED CIRCUIT) HIGH-PASS FILTER, LOW- PASS FILTER และ BANDPASS FILTER ๑.๔ วงจรปด และวงจรเปด (CLOSE CIRCUIT AND OPEN CIRCUIT) ๑.๕ ความถี่วิทยุ (RADIO FREQUENCY) ความถี่เสียง (AUDIO FREQUENCY) ๑.๖ การแบงคากระแสและคาแรงดัน
  • 21. -๒- ๑.๗ การคํานวณวงจรกระแสสลับ ๑.๘ คา RMS ของกระแสรูป Sine ๒. สวนประกอบของวงจรไฟฟา และอีเลคทรอนิกส ๒.๑ ความรูเกี่ยวกับคุณสมบัติ การตัด และประโยชนในการนําไปใชงานของ ผลึก ควอตซ ๒.๒ ความสัมพันธของกําลังไฟฟา ของหมอแปลงไฟฟา (กําลังไฟฟาขาเขาเปน ผลรวมของกําลังไฟฟาขาออกกับกําลังไฟฟาสูญเสียภายในหมอแปลง) ๒.๓ สวนประกอบหลักของมิเตอรแบบเข็ม ๒.๔ ความรูเกี่ยวกับหลอดสูญญากาศ ดังนี้ องคประกอบหลักคือ ไสหลอด แคโถด กริด และเพลต กระแส และทิศทางการไหลของกระแสสมมุติในวงจร เพลต แคโถด ขั้วไฟฟา ของเพลต เทียบกับแคโถด และกริดเทียบกับแคโถดของหลอดชนิดไตรโอด ประโยชนในการนําไปใชงานที่สําคัญเชน ใชขยายสัญญาณ ๒.๕ ความรูเกี่ยวกับไดโอด ดังนี้ ทําจากสารกึ่งตัวนํา ทิศทางการไหลของกระแส สมมุติการเรียกชื่อขั้วทั้งสองวา แอโนด และแคโถด ประโยชน ที่สําคัญคือ ใชเปน ตัวเรียงกระแส (RECTIFIER) ในแหลงจายไฟตรงและขอจํากัดในการใชงานที่สําคัญ คือการทนกระแสสูงสุด และการทน แรงดันยอนกลับสูงสุด (PIV) ๒.๖ ความรูเกี่ยวกับทรานซิสเตอร ดังนี้ ทําจากสารกึ่งตัวนํา การเรียกชื่อขั้วทั้งสามวา อีมิตเตอร เบส และ คอลเลคเตอร ทิศทางการไหลของกระแสสมมุติในวงจร การไบแอส ประโยชนในการ นําไปใชงาน เชน การขยายสัญญาณ ๓. หลักการทํางานของเครื่องรับ-สงวิทยุ ๓.๑ คํายอลักษณะหรือประเภทของการสง (CLASS OF EMISSION) ที่เกี่ยวของวามี ความหมายอยางไร ไดแก N0N, A1A, A2S, J3E, R3E, H3E, F1B, F2A, F2D, F3E ๓.๒ ความหมายของคํ าว าข าวสาร (SIGNAL INFORMATION) MODULATING SIGNAL สัญญาณคลื่นพาห (CARRIER) สัญญาณคลื่นที่ถูกผสมแลว (MODULATED CARRIER) การผสมคลื่นหลัก ๆ ในแงวิธีการผสมคลื่นและวิธีการทําใหได SIGNAL INFORMATION กับคืนมา ทางดานรับ และรูจักองคประกอบของสัญญาณ วิธีการผสมคลื่นที่ควรรูคือ CW, AM, SSB, FM และPM ความรูเกี่ยวกับรหัสตัวอักษรของ RTTY ที่มีอยู 3 ชนิด คือ BAUDOT, AMTOR และ ASCII ความแตกตาง เบื้องตนระหวางรหัสทั้งสาม
  • 22. -๓- ๓.๓ ความหมายของคําที่เกี่ยวของกับการผสมคลื่น คือ ความกวางแถบคลื่ น (BANDWIDTH) การเบี่ยงเบนทางความถี่ (FREQUENCY DEVIATION) เปอรเซนตมอดูเลชั่นและ ความหมายของคําที่พบบอย ๆ สําหรับนักวิทยุสมัครเลนในการรับ-สงวิทยุ SSB และ CW คือ LINEARITY, OVERMODULATION และ KEY CLICK ๓.๔ หลักการทํางานของเครื่องสงวิทยุ และเครื่องรับวิทยุสามารถอธิบายการทํางาน ตามแผนผังตอไปนี้ได ๑) เครื่องรับวิทยุแบบ ซูเปอรเฮเทอโรดายน RF IF AF AMPLIFIER MIXER AMPLIFIER DETECTOR AMPLIFIER SPEAKER LOCAL AFO OSCILLATOR .LOCAL OSCILLATOR อาจเปนชนิดใชแรแบบ VFO หรือแบบ FREQUENCY SYNTHESIZER ..RFO ใชกับการรับคลื่นแบบ CW และ SSB ANT ๒) เครื่องสงวิทยุแบบ CW RF RF OSCILLATOR DRIVER POWER AMPLIFIER ANT ๓) เครื่องสงวิทยุแบบ AM RF RF OSCILLATOR DRIVER POWER AMPLIFIER AF INPUT PREAMPLIFIER MODULATOR
  • 23. -๔- ANT ๔) เครื่องสงวิทยุแบบ SSB AF BALANCED SSB RF INPUT FILTER PREAMPLIFIER OSCILLATOR MIXER DRIVER POWER AMPLIFIE CARRIER RF OSCILLATOR OSCILLATOR ๕) การตออุปกรณ RTTY ANT COMPUTER MODEM เครื่องรับ - สงวิทยุ หรือเปนอุปกรณ RTTY สมบูรณแบบ (COPUTER RTTY TERMINAL) ANT RTTY TERMINAL เครื่องรับ - สงวิทยุ ๖) การตอ Packet Radio ANT TERMINAL COMPUTER NODE CONTROLLER เครื่องรับ - สงวิทยุ