SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
ข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณ หาที่สุดมิได้
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ
"พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสาร
โทรคมนาคมในหลวงรัชกาลที่ ๙"
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
ประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคม
และรองประธาน กสทช.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ในหลวงในดวงใจ...
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
พระราชนิพนธ์เรื่องแรกของพระองค์ที่มีชื่อว่า
“เมื่อข้าพเจ้าจากสยามสู่สวิตเซอร์แลนด์”
เป็นพระราชนิพนธ์ที่ตีพิมพ์ลงในวารสาร "วงวรรณคดี"
พระราชนิพนธ์นี้เป็นบันทึกเรื่องราวที่พระองค์ทรงประสบในระหว่างเสด็จพระราชดาเนินกลับไปศึกษาต่อ
เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2489 ความว่า
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
“วันที่ 19 สิงหาคม 2489 วันนี้ถึงวันที่เราจะต้องจากไปแล้ว พอถึงเวลาก็ลงจากพระที่นั่งพร้อมกับแม่ ลาเจ้านายฝ่ายใน ณ
พระที่นั่งชั้นล่างนั้นแล้ว ก็ไปยังวัดพระแก้วเพื่อนมัสการลาพระแก้วมรกต และพระภิกษุสงฆ์ ลาเจ้านายฝ่ายหน้า
ลาข้าราชการทั้งไทยและฝรั่ง แล้วก็ไปขึ้นรถยนต์
พอรถแล่นออกไปได้ไม่ถึง 200 เมตร มีผู้หญิงคนหนึ่งเข้ามาหยุดรถแล้วส่งกระป๋ องให้เราคนละใบ ราชองครักษ์ไม่แน่ใจว่าจะ
มีอะไรอยู่ในนั้น บางทีจะเป็นลูกระเบิด เมื่อมาเปิดดูภายหลังปรากฏว่าเป็นทอฟฟี่ที่อร่อยมาก
ตามถนนผู้คนช่างมากมายเสียจริงๆ ที่ถนนราชดาเนินกลาง ราษฎรเข้ามาใกล้จนชิดรถที่เรานั่งกลัวเหลือเกินว่าล้อรถของเรา
จะไปทับขาใครเข้าบ้าง รถแล่นฝ่าฝูงคนไปได้อย่างช้าที่สุด ถึงวัดเบญจมบพิตร รถแล่นเร็วขึ้นได้บ้าง ตามทางที่ผ่านมา
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ได้ยินเสียงใครคนหนึ่งร้องขึ้นมาดังๆว่า
“อย่าละทิ้งประชาชน”
ในหลวงอยากจะร้องบอกเขาลงไปว่า
“ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้า แล้วข้าพเจ้าจะละทิ้ง อย่างไรได้”
ในความเห็นส่วนตัวถือว่าพระราชนิพนธ์นี้พระองค์ "ทรงสื่อสาร" กับประชาชนได้อย่างลึกซึ้งที่สุดครั้งหนึ่งใน
ประวัติศาสตร์ ก่อนที่พระองค์จะมาทรงสื่อสารกับประชาชนของพระองค์ด้วยเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 อาจถือได้ว่าเป็นเวลาที่พระองค์ทรงเริ่มจริงจังกับวิทยุสื่อสาร โดยอ้างอิงได้จาก
พลตารวจตรี สุชาติ เผือกสกนธ์ ซึ่งดารงตาแหน่งหัวหน้ากองการสื่อสาร กรมตารวจ ในขณะนั้น ได้ทูลเกล้าฯ
ถวายเครื่องวิทยุสื่อสาร พร้อมประมวลสัญญาณเรียกขาน และถวายสัญญาณเรียกขาน “กส.9” สาหรับทรงติดต่อกับศูนย์
ควบคุมข่าย “ปทุมวัน” และ “น.9” สาหรับทรงติดต่อกับข่าย “ผ่านฟ้า” ของกองบัญชาการตารวจนครบาล พร้อมกันนั้นยังได้
ถวายเครื่องมือตรวจวัด และสายอากาศแบบต่างๆ อีกหลายรายการ ไว้ให้ทรงใช้งานเพื่อสามารถทรงรับฟัง และ
ติดต่อสื่อสารกับหน่วยตารวจต่างๆ ทั้งในส่วนกลาง และในส่วนภูมิภาคได้
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
เห็นได้อย่างชัดเจนว่า พระองค์ทรงเป็นนักวิจัยโดยแท้ เพราะเมื่อพระองค์ทรงใช้งานเครื่องมือสื่อสารก็
ได้ทรงพบปัญหาการรบกวนของสัญญาณ และทรงหาวิธีการด้วยการอ่านและสอบถามผู้รู้อยู่เสมอ
ตัวอย่างเล็กๆที่ถูกบันทึกไว้เช่นการรบกวนกันของวิทยุสื่อสารระหว่างกรมราชองครักษ์ และตารวจสื่อสารเมื่อ
ปฏิบัติงานในบริเวณใกล้เคียงกัน พระองค์ได้พระราชทานการบ้านให้ พลตารวจตรี สุชาติ เผือกสกนธ์ ไปหาสาเหตุ
หลังจากได้ทาการบ้านเสร็จ พลตารวจตรี สุชาติฯ ได้ทูลเกล้าฯ ถวายบทความวิชาการประมาณ 6 หน้า เรื่อง
Inter modulation หรือการผสมคลื่นระหว่างวิทยุ 2 สถานีที่ส่งสัญญาณพร้อมกันอยู่บริเวณใกล้เคียงกันใน
ระยะไม่เกิน 100 เมตร ทาให้เกิดความถี่ใหม่ที่ถูกผลิตออกมาจากการผสมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
หลังจากนั้นพระองค์ได้นาเอกสารวิชาการดังกล่าวมาใช้เพื่อการทดลองพิสูจน์ว่าจริงตามที่เอกสารสรุปไว้หรือไม่
โดยพระองค์ได้ทรงทาการทดลองส่งวิทยุสื่อสารที่ความถี่ต่างๆ พร้อมกัน โดยทรงเริ่มตั้งแต่ค่าความกว้างความถี่
ขนาดต่างๆ ตั้งแต่ 12.5 kHz แล้วเพิ่มขึ้นทีละเท่าตัวเป็น 25 kHz และ 50 kHz แล้วทรงบันทึกผลระดับการรบกวน
กัน แล้วทรงพระราชทานผลการทดลองให้แก่ พลตารวจตรี สุชาติฯ โดยพระองค์ ทรงพระราชทานผลการวิจัยของ
พระองค์นอกเหนือจากที่เอกสารวิชาการฉบับดังกล่าวซึ่งบอกไว้เพียงว่าจะเกิดการรบกวนเมื่อสถานีวิทยุ 2 สถานี
ส่งสัญญาณพร้อมกันในบริเวณไม่เกิน 100 เมตร แต่พระองค์ทรงค้นพบว่า แม้อยู่ห่างกันเกิน 100 เมตร ก็ยัง
สามารถเกิดการรบกวนกันได้อยู่ นั่นหมายความว่า ยังไม่สามารถสรุปได้ว่าปัญหาที่แท้จริงคืออะไรนั่นเอง
จึงทาให้ พระองค์ยังคงทาวิจัย ค้นคว้า ทดลอง ตลอดมา
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ในช่วงเวลานี้ประชาชนคนไทยอย่างเราคงได้เห็นและชื่นชมพระราชกรณียกิจอย่างเช่น
สานักข่าว BBC ได้ถ่ายทาสารคดี Soul of a Nation – The Royal Family of Thailand
(ศูนย์รวมใจของชาติ – พระราชวงศ์ไทย) ไว้ในปี พ.ศ. 2521 ถึง พ.ศ. 2522 ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นการตามเสด็จถ่ายทา
พระราชกรณียกิจของพระองค์ที่ห้องทรงงานในพระราชวังจิตรลดารโหฐาน โดยได้เคยออกอากาศเมื่อปี พ.ศ. 2523
ทาให้ประชาชนตัวเล็กๆอย่างพวกเราได้มีบุญตาเห็นบรรยากาศภายในห้องทรงงานของในหลวงรัชการที่ 9 ซึ่งทาให้
เราได้ตระหนักว่าพระองค์ทรงจริงจังกับการใช้งานวิทยุสื่อสารเพื่อไว้ใช้ดูแลประชาชนของพระองค์ โดยในภาพเรา
จะเห็นชุดเครื่องมือสื่อสารจานวนมาก ที่พระองค์ทรงใช้เพื่อรับฟังข่าวสารภัยพิบัติ และปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น
ตลอดเวลาจากทุกเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นของทหาร ตารวจ กรมไปรษณีย์โทรเลข
(ศูนย์สายลม ซึ่งก็คือ กสทช. ในปัจจุบัน) รวมไปถึงภาคประชาชน และห้องทรงงานเล็กๆนี้นั่นเองที่ผู้เขียนถือได้ว่า
เป็น "ห้องวิจัยของพระราชา" โดยแท้
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
กรมไปรษณีย์โทรเลข ได้ทูลเกล้าฯถวายสัญญาณเรียกขาน "VR009"
แด่ในหลวงรัชการที่ 9 ในวันที่ 5 ธันวาคม 2524
พระองค์ได้พระราชทานคาแนะนาทางด้านเทคนิคเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร ในการทดสอบสัญญาณครั้งแรกในปี
พ.ศ. 2528 กับศูนย์สายลมกรมไปรษณีย์โทรเลข ซึ่งในขณะนั้น นายมนัส ทรงแสง (VR019) ปฏิบัติหน้าที่เป็น
หัวหน้าศูนย์ปฏิบัติการสื่อสาร กรมไปรษณีย์โทรเลข ได้เล่าให้ฟังว่า พระองค์ทรงตรัสเรียกสายลม VR009
ขอเช็คเน็ท และเจ้าหน้าที่ศูนย์สายลมได้กราบบังคมทูลว่า Report สัญญาณของท่าน
VR009 59+60 dB 73...นั่นคือวันแห่งความทรงจาของศูนย์สายลม กรมไปรษณีย์โทรเลข และหลังจาก
เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ได้ผ่านพ้นไปแล้วด้วยความปลื้มปีติ พระองค์ได้ทรงทดสอบสัญญาณกับศูนย์สายลมอีก
หลายครั้ง และเกือบทุกครั้งพระองค์ก็ได้พระราชทานคาแนะนาทางด้านเทคนิคเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร การ
ปรับแต่งเครื่องรับ-ส่งวิทยุที่มีความสลับซับซ้อน ตลอดจนพระราชทานคาแนะนาทางด้านเทคนิคเกี่ยวกับ
สายอากาศและการแพร่กระจายคลื่น และลักษณะการถูกรบกวนของคลื่นวิทยุในข่ายต่างๆ
และวิธีการที่จะแก้ไขการรบกวนนั้นด้วย
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ความทรงจาที่ไม่มีวันลืมที่ได้ส่งผ่านจากรุ่นต่อรุ่นจนมาถึงยุคของ กสทช. ซึ่งที่ถูกบันทึกไว้ในรูปแบบ
ภาพยนตร์เฉลิมพระเกียรติ “สัญญาณจากฟ้าVR009”
เป็นการจาลองจากเหตุการณ์วาตภัยครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่จังหวัดราชบุรีเมื่อปี พ.ศ.2539 โดยในหลวง
รัชกาลที่ 9 ทรงสื่อสารกับประชาชนของพระองค์โดยตรงและทรงติดตามเหตุการณ์ พระราชทานคาแนะนาในการ
แก้ปัญหาสัญญาณวิทยุขาดหายให้กับเจ้า-หน้าที่อาสาสมัคร อาสากู้ภัย
ด้วยพระองค์เอง โดยผ่านอุปกรณ์สื่อสารส่วนพระองค์
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
เรื่องราวเกี่ยวกับพระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในหลวงรัชกาลที่ 9 ในด้านการสื่อสารโทรคมนาคม
เป็นความภาคภูมิใจของวงการสื่อสารโทรคมนาคมไทย และถือว่าเป็นพระมหากรุณาธิคุณ หาที่สุดมิได้
ที่ได้ทรงพัฒนากิจการโทรคมนาคมไทยให้รุ่งเรืองมาจนถึงทุกวันนี้
ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงติดตั้งเครื่องรับ-ส่งวิทยุไว้ในห้องทรงงาน ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน เพื่อทรงใช้ในการ
สื่อสารติดตามความคืบหน้าของโครงการต่างๆในพื้นที่ชนบทห่างไกลและเฝ้าติดตามสถานการณ์ของบ้านเมือง
ตลอดเวลา ทางด้านเทคนิคพระองค์ทรงโปรดเกล้าฯ ให้พลตารวจตรี สุชาติ เผือกสกนธ์ และข้าราชบริพารอื่นๆ
ติดตั้งสายอากาศถวาย ทั้งชนิด Ground Plane ชนิด High Gain และชนิด J-Pole โดยให้กราบบังคมทูลให้
ทราบถึงคุณลักษณะประจาตัวของสายอากาศแต่ละชนิดถวายด้วย ทั้งนี้ทรงสนพระราชหฤทัยเป็นพิเศษในเรื่อง
อัตราการขยายกาลังส่ง (Gain) และรูปร่างลักษณะของการส่งออกของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
(Radiation Pattern) จากสายอากาศ
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
นอกจากนี้ยังทรงให้ความสนพระราชหฤทัยอย่างจริงจังกับการทดสอบขีดความสามารถที่แท้จริงของสายอากาศแต่
ละชนิด เทียบกับที่เขียนบรรยายไว้ในคู่มือ โดยทรงทดลองส่งโดยใช้สายอากาศชนิดต่างๆ จากพระตาหนักฯ
และให้ข้าราชบริพารผู้เชี่ยวชาญ อาทิ พลตารวจตรี สุชาติ เผือกสกนธ์ ขับรถรอบพระตาหนักจิตรลดารโหฐาน
ในรัศมี 1 กิโลเมตร โดยมีเครื่องวัดความแรงสัญญาณ (Field Strength Meter) ติดตัว เพื่อใช้วัดความแรง
สัญญาณตามจุดต่างๆ และนามาเขียนกราฟ เมื่อเขียนเสร็จปรากฏว่ากราฟมีรูปร่างลักษณะแปลกกว่าที่ควรจะเป็น
เมื่อทอดพระเนตรก็ทรงวินิจฉัยว่าเป็นเพราะสัญญาณที่ผู้เขียนคู่มือ
ได้ทาการวัดนั้นมิใช่สัญญาณที่ได้รับจากสถานีส่งของพระองค์ท่านโดยตรงอย่างเดียว
ซึ่งปรากฏว่าเป็นพระราชวินิจฉัยที่ถูกต้องตรงตามที่ตาราวิชาการทางวิทยุได้เคยระบุไว้
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือการพัฒนาสายอากาศ ซึ่งในหลวงรัชกาลที่ 9 โปรดเกล้าฯ ให้ ผศ. ดร. สุธี อักษรกิตติ์ สร้างขึ้นตามพระราชดาริ
คือแบบที่ 1 ช่วงระหว่าง พ.ศ. 2513 ถึง พ.ศ. 2515 เป็นสายอากาศหาทิศทาง แบบที่ 2 สายอากาศที่มีการเพิ่มประสิทธิภาพของการ
ติดต่อระหว่างกรุงเทพฯ ไปเชียงใหม่ ให้สามารถติดต่อด้วยวิทยุขนาดเล็กได้ แบบที่ 3 และแบบที่ 4 ใน พ.ศ. 2517 ได้แก่สายอากาศ
แบบที่ออกอากาศได้รอบตัว สามารถติดต่อได้ในระยะไกล เช่น จากกรุงเทพฯ ไปจังหวัดอื่นๆ อาทิ จังหวัดพิษณุโลก ตราด และ
ประจวบคีรีขันธ์ และแบบที่ 4 สายอากาศที่ได้รับการออกแบบพิเศษให้สามารถที่จะรับได้ดีมีประสิทธิภาพ แม้ว่าจะต้องผ่านลักษณะที่
เป็นภูเขาหรือป่าก็ตาม สายอากาศทั้ง 4 แบบดังกล่าว เมื่อพระองค์ท่าน ได้ทรงทาการทดลองได้ผลดีแล้ว จึงทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อว่า สายอากาศ สุธี-1 สุธี-2 สุธี-3 และสุธี-4
คุณสมบัติ สุธี
ช่วงความถี่ที่ใช้งาน
โพลาไรเซชั่น
แนวตั้ง
อัตราขยาย
อัตราส่วนคลื่นนิ่ง
ไม่เกิน
อินพุทอิมพีแดนซ์
Ω
กาลังที่ทนได้
การป้องกันฟ้าผ่า
กราวด์ไฟฟ้า
กระแสตรง
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
คุณสมบัติ สุธี
ช่วงความถี่ที่ใช้งาน
โพลาไรเซชั่น
แนวตั้งหรือแนวนอน
อัตราขยาย
อัตราส่วนคลื่นนิ่ง
ไม่เกิน
อินพุทอิมพีแดนซ์
Ω
กาลังที่ทนได้
การป้องกันฟ้าผ่า
กราวด์ไฟฟ้า
กระแสตรง
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
คุณสมบัติ สุธี 4
ช่วงความถี่ที่ใช้งาน
โพลาไรเซชั่น แนวตั้ง แนวนอน และวงกลม ใช้
สวิตซ์เลือก
อัตราขยาย
อัตราส่วนคลื่นนิ่ง
ไม่เกิน
อินพุทอิมพีแดนซ์
Ω
กาลังที่ทนได้
การป้องกันฟ้าผ่า กราวด์ไฟฟ้ากระแสตรง
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ท่านอาจารย์ สุธี เล่าให้ฟังอยู่เสมอ เกี่ยวกับการถวายงานพระองค์ท่านอย่างตื่นเต้น และอัศจรรย์ใจว่า
พระองค์ท่านไปหาเวลาตอนไหนในการศึกษาเรื่องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
และการออกแบบสายอากาศที่ยุ่งยากซับซ้อน
พระองค์ท่าน ป้อนคาถามดั่งเช่นผู้มีความรู้ระดับปริญญาเอกในสาขาวิศวกรรมโทรคมนาคม
ท่านอาจารย์ สุธี ซึ่งจบสาขานี้มาโดยตรงและกว่าจะมีความรู้ถึงระดับนี้ต้องใช้เวลาทุ่มเทร่าเรียนมาเป็นสิบปี
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ด้วยความรู้ที่พ่อให้.. ถึงอยู่ไกล ก็ใกล้พ่อ
โครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
จากปัญหาการขาดแคลนครูที่สอนระดับมัธยมศึกษาตลอดมาของกรมสามัญศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโรงเรียน
ศึกษาสงเคราะห์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ และโรงเรียนที่อยู่บริเวณชายแดน พระองค์ได้ทรงสร้างการถ่ายทอด
การเรียนการสอนผ่านดาวเทียม โดยนาวิชาสามัญเหล่านี้ยิงสัญญาณขึ้นสู่ดาวเทียมก็จะสามารถรับฟังได้ทุก
โรงเรียนทั่วประเทศ เป็นการลดความเหลื่อมล้าและเป็นการแก้ปัญหาได้อย่างถาวร ซึ่งพระองค์ทรงพระราชทาน
โครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมขึ้น
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
ประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคม และรองประธานกรรมการ กิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
การศึกษา
ปริญญาเอก: วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (Ph.D. in EE) (วิศวกรรมโทรคมนาคม) จาก Florida Atlantic University
สหรัฐอเมริกา
ปริญญาโท: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (MS in EE) (วิศวกรรมโทรคมนาคม) The George Washington University
สหรัฐอเมริกา
ปริญญาโท: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (MS in EE) (วิศวกรรมไฟฟ้า)
Georgia Institute of Technology สหรัฐอเมริกา
ปริญญาตรี: วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร (เกียรตินิยมเหรียญทอง) โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
(นักเรียนเตรียมทหารรุ่น 26, จปร. รุ่น 37)
มัธยมปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
เกียรติประวัติ
เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง ปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารโทรคมนาคมจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
โล่ห์เกียรติยศจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าคะแนนสูงสุดในวิชาผู้นาทหาร
เกียรตินิยมปริญญาเอก Outstanding Academic Achievement จาก Tau Beta Pi Engineering Honor Society และPhi Kappa Phi Honor
Society
รางวัลเกียรติยศจักรดาว ประจาปี พ.ศ.2556 จากมูลนิธิศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมทหาร
ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 25 Young Executivesที่ประสบความสาเร็จสูงสุดในปี 2555 จากนิตยสาร GM
ประกาศเกียรติคุณ “โครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ” พ.ศ. 2556 จากคณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการสื่อสาร และโทรคมนาคม
วุฒิสภา
ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 30 นักยุทธศาสตร์แห่งปีที่อยู่ในระดับผู้นาองค์กร ปี พ.ศ. 2556 จากนิตยสาร Strategy+Marketing Magazine
รับพระราชทานรางวัลเทพทอง ครั้งที่ 16 ในฐานะองค์กรดีเด่น ประจาปี 2557
ได้รับรางวัล “ผู้นาเสนองานวิจัยดีเด่น” จากสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ประจาปีงบประมาณ 2558
ประกาศเกียรติคุณรางวัล “คนดี ความดี แทนคุณแผ่นดิน” พ.ศ.2558 สาขาการสื่อสารโทรคมนาคมจากคณะกรรมการรางวัลไทย
ได้รับโล่เกียรติยศ “ผู้นาและผู้ทาคุณประโยชน์เพื่อผู้ด้อยโอกาส” ประจาปี พ.ศ.2558 จากสมาคมโทรคมนาคมเพื่อสิทธิเสรีภาพของผู้ด้อยโอกาส
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
ประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคม และรองประธานกรรมการ กิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

Digital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณDigital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณwww.nbtc.go.th
 
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ แนวคิดในการดำเนินการด้านความมั่นคงไซเบอร์ของประเทศไทย (เ...
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ แนวคิดในการดำเนินการด้านความมั่นคงไซเบอร์ของประเทศไทย (เ...เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ แนวคิดในการดำเนินการด้านความมั่นคงไซเบอร์ของประเทศไทย (เ...
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ แนวคิดในการดำเนินการด้านความมั่นคงไซเบอร์ของประเทศไทย (เ...www.nbtc.go.th
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0Settapong Malisuwan
 
Impact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in BusinessesImpact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in BusinessesSettapong Malisuwan
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...Settapong_CyberSecurity
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ต้นกำเนิด Cyber security
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ต้นกำเนิด Cyber securityพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ต้นกำเนิด Cyber security
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ต้นกำเนิด Cyber securitySettapong Malisuwan
 

What's hot (13)

Digital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณDigital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital Strategy by Dr.Settapong Malisuwan ,เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ แนวคิดในการดำเนินการด้านความมั่นคงไซเบอร์ของประเทศไทย (เ...
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ แนวคิดในการดำเนินการด้านความมั่นคงไซเบอร์ของประเทศไทย (เ...เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ แนวคิดในการดำเนินการด้านความมั่นคงไซเบอร์ของประเทศไทย (เ...
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ แนวคิดในการดำเนินการด้านความมั่นคงไซเบอร์ของประเทศไทย (เ...
 
Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3
 
Digital disruption v6
Digital disruption v6Digital disruption v6
Digital disruption v6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
 
Digital disruption v5
Digital disruption v5Digital disruption v5
Digital disruption v5
 
Human capability v5
Human capability v5Human capability v5
Human capability v5
 
Impact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in BusinessesImpact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in Businesses
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ต้นกำเนิด Cyber security
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ต้นกำเนิด Cyber securityพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ต้นกำเนิด Cyber security
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ต้นกำเนิด Cyber security
 
Digital economy
Digital economyDigital economy
Digital economy
 
Digital disruption v6
Digital disruption v6Digital disruption v6
Digital disruption v6
 
Digital disruption v5
Digital disruption v5Digital disruption v5
Digital disruption v5
 

Viewers also liked

How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2Settapong Malisuwan
 
Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3Settapong Malisuwan
 
2การละเมิดลิขสิทธิ์
2การละเมิดลิขสิทธิ์2การละเมิดลิขสิทธิ์
2การละเมิดลิขสิทธิ์bo2536
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...Settapong Malisuwan
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...www.nbtc.go.th
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2Waciraya Junjamsri
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2social602
 
Impact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in BusinessesImpact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in Businesseswww.nbtc.go.th
 
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณเศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณwww.nbtc.go.th
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธโครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธSomruay Pindon
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์Settapong Malisuwan
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
4 อาชญากรรมทางเพศ
4 อาชญากรรมทางเพศ4 อาชญากรรมทางเพศ
4 อาชญากรรมทางเพศbo2536
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north koreaพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north koreaSettapong Malisuwan
 
ความเสี่ยงบนโลกไซเบอร์
ความเสี่ยงบนโลกไซเบอร์ความเสี่ยงบนโลกไซเบอร์
ความเสี่ยงบนโลกไซเบอร์bo2536
 
Portfolio - Sirijun Ongkan
Portfolio - Sirijun OngkanPortfolio - Sirijun Ongkan
Portfolio - Sirijun OngkanPloy Aquamarine
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 

Viewers also liked (20)

How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2
 
Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3
 
2การละเมิดลิขสิทธิ์
2การละเมิดลิขสิทธิ์2การละเมิดลิขสิทธิ์
2การละเมิดลิขสิทธิ์
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรั...
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
Impact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in BusinessesImpact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in Businesses
 
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณเศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
Tourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPBTourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPB
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธโครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
4 อาชญากรรมทางเพศ
4 อาชญากรรมทางเพศ4 อาชญากรรมทางเพศ
4 อาชญากรรมทางเพศ
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north koreaพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
 
ความเสี่ยงบนโลกไซเบอร์
ความเสี่ยงบนโลกไซเบอร์ความเสี่ยงบนโลกไซเบอร์
ความเสี่ยงบนโลกไซเบอร์
 
Portfolio - Sirijun Ongkan
Portfolio - Sirijun OngkanPortfolio - Sirijun Ongkan
Portfolio - Sirijun Ongkan
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 

Similar to การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรัชกาลที่ 9

พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์Settapong_CyberSecurity
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north koreaพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north koreawww.nbtc.go.th
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Settapong_CyberSecurity
 
เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทยเทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทยntc Thailand
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่Settapong-Broadband
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharing
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharingพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharing
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharingSettapong-Broadband
 
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทยpuiwassana
 
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 gpuiwassana
 
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐Poramate Minsiri
 

Similar to การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรัชกาลที่ 9 (20)

Global technology outlook
Global technology outlookGlobal technology outlook
Global technology outlook
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
 
Digital economy
Digital economyDigital economy
Digital economy
 
Digital economy
Digital economyDigital economy
Digital economy
 
Impact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in BusinessesImpact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in Businesses
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north koreaพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก
 
เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทยเทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ผลักดันเศรษฐกิจด้วยนโยบายจัดสรรคลื่นความถี่
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharing
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharingพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharing
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharing
 
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
[1 ธ.ค. 55] เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับการพัฒนาประเทศไทย
 
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g
[3 ธ.ค. 55] อนาคต และโอกาสของธุรกิจไทย ภายใต้ยุค 3 g
 
Human capability v5
Human capability v5Human capability v5
Human capability v5
 
Human capability v5
Human capability v5Human capability v5
Human capability v5
 
Human capability v5
Human capability v5Human capability v5
Human capability v5
 
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
ระเบียบ กทช ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ ๒๕๕๐
 
Human capability v5
Human capability v5Human capability v5
Human capability v5
 
Human capability v5
Human capability v5Human capability v5
Human capability v5
 
Human capability v5
Human capability v5Human capability v5
Human capability v5
 

More from Settapong Malisuwan

Deep shift and profound impact in digital disruption
Deep shift and profound impact in digital disruption Deep shift and profound impact in digital disruption
Deep shift and profound impact in digital disruption Settapong Malisuwan
 
How it and telecommunication shift change our thai economy
How it and telecommunication shift change our thai economyHow it and telecommunication shift change our thai economy
How it and telecommunication shift change our thai economySettapong Malisuwan
 
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Settapong Malisuwan
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Settapong Malisuwan
 
National cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ final
National cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ finalNational cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ final
National cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ finalSettapong Malisuwan
 
Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ v4
Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  v4Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  v4
Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ v4Settapong Malisuwan
 
National cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
National cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ National cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
National cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Settapong Malisuwan
 
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณBig Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณSettapong Malisuwan
 
ปัญญาประดิษฐ์ (AI) พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
ปัญญาประดิษฐ์ (AI) พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณปัญญาประดิษฐ์ (AI) พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
ปัญญาประดิษฐ์ (AI) พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณSettapong Malisuwan
 
Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3Settapong Malisuwan
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Anti-cyber attack
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Anti-cyber attackพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Anti-cyber attack
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Anti-cyber attackSettapong Malisuwan
 

More from Settapong Malisuwan (13)

Deep shift and profound impact in digital disruption
Deep shift and profound impact in digital disruption Deep shift and profound impact in digital disruption
Deep shift and profound impact in digital disruption
 
The year of disruption
The year of disruption The year of disruption
The year of disruption
 
How it and telecommunication shift change our thai economy
How it and telecommunication shift change our thai economyHow it and telecommunication shift change our thai economy
How it and telecommunication shift change our thai economy
 
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
National cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ final
National cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ finalNational cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ final
National cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ final
 
Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ v4
Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  v4Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  v4
Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ v4
 
National cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
National cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ National cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
National cybersecurity strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณBig Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
ปัญญาประดิษฐ์ (AI) พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
ปัญญาประดิษฐ์ (AI) พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณปัญญาประดิษฐ์ (AI) พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
ปัญญาประดิษฐ์ (AI) พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3
 
Digital disruption v5
Digital disruption v5Digital disruption v5
Digital disruption v5
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Anti-cyber attack
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Anti-cyber attackพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Anti-cyber attack
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Anti-cyber attack
 

การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และ พระอัจฉริยะภาพด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในหลวงรัชกาลที่ 9

  • 3. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ในหลวงในดวงใจ...
  • 4. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ พระราชนิพนธ์เรื่องแรกของพระองค์ที่มีชื่อว่า “เมื่อข้าพเจ้าจากสยามสู่สวิตเซอร์แลนด์” เป็นพระราชนิพนธ์ที่ตีพิมพ์ลงในวารสาร "วงวรรณคดี" พระราชนิพนธ์นี้เป็นบันทึกเรื่องราวที่พระองค์ทรงประสบในระหว่างเสด็จพระราชดาเนินกลับไปศึกษาต่อ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2489 ความว่า
  • 5. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ “วันที่ 19 สิงหาคม 2489 วันนี้ถึงวันที่เราจะต้องจากไปแล้ว พอถึงเวลาก็ลงจากพระที่นั่งพร้อมกับแม่ ลาเจ้านายฝ่ายใน ณ พระที่นั่งชั้นล่างนั้นแล้ว ก็ไปยังวัดพระแก้วเพื่อนมัสการลาพระแก้วมรกต และพระภิกษุสงฆ์ ลาเจ้านายฝ่ายหน้า ลาข้าราชการทั้งไทยและฝรั่ง แล้วก็ไปขึ้นรถยนต์ พอรถแล่นออกไปได้ไม่ถึง 200 เมตร มีผู้หญิงคนหนึ่งเข้ามาหยุดรถแล้วส่งกระป๋ องให้เราคนละใบ ราชองครักษ์ไม่แน่ใจว่าจะ มีอะไรอยู่ในนั้น บางทีจะเป็นลูกระเบิด เมื่อมาเปิดดูภายหลังปรากฏว่าเป็นทอฟฟี่ที่อร่อยมาก ตามถนนผู้คนช่างมากมายเสียจริงๆ ที่ถนนราชดาเนินกลาง ราษฎรเข้ามาใกล้จนชิดรถที่เรานั่งกลัวเหลือเกินว่าล้อรถของเรา จะไปทับขาใครเข้าบ้าง รถแล่นฝ่าฝูงคนไปได้อย่างช้าที่สุด ถึงวัดเบญจมบพิตร รถแล่นเร็วขึ้นได้บ้าง ตามทางที่ผ่านมา
  • 6. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ได้ยินเสียงใครคนหนึ่งร้องขึ้นมาดังๆว่า “อย่าละทิ้งประชาชน” ในหลวงอยากจะร้องบอกเขาลงไปว่า “ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้า แล้วข้าพเจ้าจะละทิ้ง อย่างไรได้” ในความเห็นส่วนตัวถือว่าพระราชนิพนธ์นี้พระองค์ "ทรงสื่อสาร" กับประชาชนได้อย่างลึกซึ้งที่สุดครั้งหนึ่งใน ประวัติศาสตร์ ก่อนที่พระองค์จะมาทรงสื่อสารกับประชาชนของพระองค์ด้วยเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
  • 7. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 อาจถือได้ว่าเป็นเวลาที่พระองค์ทรงเริ่มจริงจังกับวิทยุสื่อสาร โดยอ้างอิงได้จาก พลตารวจตรี สุชาติ เผือกสกนธ์ ซึ่งดารงตาแหน่งหัวหน้ากองการสื่อสาร กรมตารวจ ในขณะนั้น ได้ทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องวิทยุสื่อสาร พร้อมประมวลสัญญาณเรียกขาน และถวายสัญญาณเรียกขาน “กส.9” สาหรับทรงติดต่อกับศูนย์ ควบคุมข่าย “ปทุมวัน” และ “น.9” สาหรับทรงติดต่อกับข่าย “ผ่านฟ้า” ของกองบัญชาการตารวจนครบาล พร้อมกันนั้นยังได้ ถวายเครื่องมือตรวจวัด และสายอากาศแบบต่างๆ อีกหลายรายการ ไว้ให้ทรงใช้งานเพื่อสามารถทรงรับฟัง และ ติดต่อสื่อสารกับหน่วยตารวจต่างๆ ทั้งในส่วนกลาง และในส่วนภูมิภาคได้
  • 8. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เห็นได้อย่างชัดเจนว่า พระองค์ทรงเป็นนักวิจัยโดยแท้ เพราะเมื่อพระองค์ทรงใช้งานเครื่องมือสื่อสารก็ ได้ทรงพบปัญหาการรบกวนของสัญญาณ และทรงหาวิธีการด้วยการอ่านและสอบถามผู้รู้อยู่เสมอ ตัวอย่างเล็กๆที่ถูกบันทึกไว้เช่นการรบกวนกันของวิทยุสื่อสารระหว่างกรมราชองครักษ์ และตารวจสื่อสารเมื่อ ปฏิบัติงานในบริเวณใกล้เคียงกัน พระองค์ได้พระราชทานการบ้านให้ พลตารวจตรี สุชาติ เผือกสกนธ์ ไปหาสาเหตุ หลังจากได้ทาการบ้านเสร็จ พลตารวจตรี สุชาติฯ ได้ทูลเกล้าฯ ถวายบทความวิชาการประมาณ 6 หน้า เรื่อง Inter modulation หรือการผสมคลื่นระหว่างวิทยุ 2 สถานีที่ส่งสัญญาณพร้อมกันอยู่บริเวณใกล้เคียงกันใน ระยะไม่เกิน 100 เมตร ทาให้เกิดความถี่ใหม่ที่ถูกผลิตออกมาจากการผสมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
  • 9. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หลังจากนั้นพระองค์ได้นาเอกสารวิชาการดังกล่าวมาใช้เพื่อการทดลองพิสูจน์ว่าจริงตามที่เอกสารสรุปไว้หรือไม่ โดยพระองค์ได้ทรงทาการทดลองส่งวิทยุสื่อสารที่ความถี่ต่างๆ พร้อมกัน โดยทรงเริ่มตั้งแต่ค่าความกว้างความถี่ ขนาดต่างๆ ตั้งแต่ 12.5 kHz แล้วเพิ่มขึ้นทีละเท่าตัวเป็น 25 kHz และ 50 kHz แล้วทรงบันทึกผลระดับการรบกวน กัน แล้วทรงพระราชทานผลการทดลองให้แก่ พลตารวจตรี สุชาติฯ โดยพระองค์ ทรงพระราชทานผลการวิจัยของ พระองค์นอกเหนือจากที่เอกสารวิชาการฉบับดังกล่าวซึ่งบอกไว้เพียงว่าจะเกิดการรบกวนเมื่อสถานีวิทยุ 2 สถานี ส่งสัญญาณพร้อมกันในบริเวณไม่เกิน 100 เมตร แต่พระองค์ทรงค้นพบว่า แม้อยู่ห่างกันเกิน 100 เมตร ก็ยัง สามารถเกิดการรบกวนกันได้อยู่ นั่นหมายความว่า ยังไม่สามารถสรุปได้ว่าปัญหาที่แท้จริงคืออะไรนั่นเอง จึงทาให้ พระองค์ยังคงทาวิจัย ค้นคว้า ทดลอง ตลอดมา
  • 10. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ในช่วงเวลานี้ประชาชนคนไทยอย่างเราคงได้เห็นและชื่นชมพระราชกรณียกิจอย่างเช่น สานักข่าว BBC ได้ถ่ายทาสารคดี Soul of a Nation – The Royal Family of Thailand (ศูนย์รวมใจของชาติ – พระราชวงศ์ไทย) ไว้ในปี พ.ศ. 2521 ถึง พ.ศ. 2522 ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นการตามเสด็จถ่ายทา พระราชกรณียกิจของพระองค์ที่ห้องทรงงานในพระราชวังจิตรลดารโหฐาน โดยได้เคยออกอากาศเมื่อปี พ.ศ. 2523 ทาให้ประชาชนตัวเล็กๆอย่างพวกเราได้มีบุญตาเห็นบรรยากาศภายในห้องทรงงานของในหลวงรัชการที่ 9 ซึ่งทาให้ เราได้ตระหนักว่าพระองค์ทรงจริงจังกับการใช้งานวิทยุสื่อสารเพื่อไว้ใช้ดูแลประชาชนของพระองค์ โดยในภาพเรา จะเห็นชุดเครื่องมือสื่อสารจานวนมาก ที่พระองค์ทรงใช้เพื่อรับฟังข่าวสารภัยพิบัติ และปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น ตลอดเวลาจากทุกเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นของทหาร ตารวจ กรมไปรษณีย์โทรเลข (ศูนย์สายลม ซึ่งก็คือ กสทช. ในปัจจุบัน) รวมไปถึงภาคประชาชน และห้องทรงงานเล็กๆนี้นั่นเองที่ผู้เขียนถือได้ว่า เป็น "ห้องวิจัยของพระราชา" โดยแท้
  • 12. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กรมไปรษณีย์โทรเลข ได้ทูลเกล้าฯถวายสัญญาณเรียกขาน "VR009" แด่ในหลวงรัชการที่ 9 ในวันที่ 5 ธันวาคม 2524 พระองค์ได้พระราชทานคาแนะนาทางด้านเทคนิคเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร ในการทดสอบสัญญาณครั้งแรกในปี พ.ศ. 2528 กับศูนย์สายลมกรมไปรษณีย์โทรเลข ซึ่งในขณะนั้น นายมนัส ทรงแสง (VR019) ปฏิบัติหน้าที่เป็น หัวหน้าศูนย์ปฏิบัติการสื่อสาร กรมไปรษณีย์โทรเลข ได้เล่าให้ฟังว่า พระองค์ทรงตรัสเรียกสายลม VR009 ขอเช็คเน็ท และเจ้าหน้าที่ศูนย์สายลมได้กราบบังคมทูลว่า Report สัญญาณของท่าน VR009 59+60 dB 73...นั่นคือวันแห่งความทรงจาของศูนย์สายลม กรมไปรษณีย์โทรเลข และหลังจาก เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ได้ผ่านพ้นไปแล้วด้วยความปลื้มปีติ พระองค์ได้ทรงทดสอบสัญญาณกับศูนย์สายลมอีก หลายครั้ง และเกือบทุกครั้งพระองค์ก็ได้พระราชทานคาแนะนาทางด้านเทคนิคเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร การ ปรับแต่งเครื่องรับ-ส่งวิทยุที่มีความสลับซับซ้อน ตลอดจนพระราชทานคาแนะนาทางด้านเทคนิคเกี่ยวกับ สายอากาศและการแพร่กระจายคลื่น และลักษณะการถูกรบกวนของคลื่นวิทยุในข่ายต่างๆ และวิธีการที่จะแก้ไขการรบกวนนั้นด้วย
  • 13. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ความทรงจาที่ไม่มีวันลืมที่ได้ส่งผ่านจากรุ่นต่อรุ่นจนมาถึงยุคของ กสทช. ซึ่งที่ถูกบันทึกไว้ในรูปแบบ ภาพยนตร์เฉลิมพระเกียรติ “สัญญาณจากฟ้าVR009” เป็นการจาลองจากเหตุการณ์วาตภัยครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่จังหวัดราชบุรีเมื่อปี พ.ศ.2539 โดยในหลวง รัชกาลที่ 9 ทรงสื่อสารกับประชาชนของพระองค์โดยตรงและทรงติดตามเหตุการณ์ พระราชทานคาแนะนาในการ แก้ปัญหาสัญญาณวิทยุขาดหายให้กับเจ้า-หน้าที่อาสาสมัคร อาสากู้ภัย ด้วยพระองค์เอง โดยผ่านอุปกรณ์สื่อสารส่วนพระองค์
  • 14. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่องราวเกี่ยวกับพระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ในด้านการสื่อสารโทรคมนาคม เป็นความภาคภูมิใจของวงการสื่อสารโทรคมนาคมไทย และถือว่าเป็นพระมหากรุณาธิคุณ หาที่สุดมิได้ ที่ได้ทรงพัฒนากิจการโทรคมนาคมไทยให้รุ่งเรืองมาจนถึงทุกวันนี้ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงติดตั้งเครื่องรับ-ส่งวิทยุไว้ในห้องทรงงาน ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน เพื่อทรงใช้ในการ สื่อสารติดตามความคืบหน้าของโครงการต่างๆในพื้นที่ชนบทห่างไกลและเฝ้าติดตามสถานการณ์ของบ้านเมือง ตลอดเวลา ทางด้านเทคนิคพระองค์ทรงโปรดเกล้าฯ ให้พลตารวจตรี สุชาติ เผือกสกนธ์ และข้าราชบริพารอื่นๆ ติดตั้งสายอากาศถวาย ทั้งชนิด Ground Plane ชนิด High Gain และชนิด J-Pole โดยให้กราบบังคมทูลให้ ทราบถึงคุณลักษณะประจาตัวของสายอากาศแต่ละชนิดถวายด้วย ทั้งนี้ทรงสนพระราชหฤทัยเป็นพิเศษในเรื่อง อัตราการขยายกาลังส่ง (Gain) และรูปร่างลักษณะของการส่งออกของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Radiation Pattern) จากสายอากาศ
  • 15. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ นอกจากนี้ยังทรงให้ความสนพระราชหฤทัยอย่างจริงจังกับการทดสอบขีดความสามารถที่แท้จริงของสายอากาศแต่ ละชนิด เทียบกับที่เขียนบรรยายไว้ในคู่มือ โดยทรงทดลองส่งโดยใช้สายอากาศชนิดต่างๆ จากพระตาหนักฯ และให้ข้าราชบริพารผู้เชี่ยวชาญ อาทิ พลตารวจตรี สุชาติ เผือกสกนธ์ ขับรถรอบพระตาหนักจิตรลดารโหฐาน ในรัศมี 1 กิโลเมตร โดยมีเครื่องวัดความแรงสัญญาณ (Field Strength Meter) ติดตัว เพื่อใช้วัดความแรง สัญญาณตามจุดต่างๆ และนามาเขียนกราฟ เมื่อเขียนเสร็จปรากฏว่ากราฟมีรูปร่างลักษณะแปลกกว่าที่ควรจะเป็น เมื่อทอดพระเนตรก็ทรงวินิจฉัยว่าเป็นเพราะสัญญาณที่ผู้เขียนคู่มือ ได้ทาการวัดนั้นมิใช่สัญญาณที่ได้รับจากสถานีส่งของพระองค์ท่านโดยตรงอย่างเดียว ซึ่งปรากฏว่าเป็นพระราชวินิจฉัยที่ถูกต้องตรงตามที่ตาราวิชาการทางวิทยุได้เคยระบุไว้
  • 16. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือการพัฒนาสายอากาศ ซึ่งในหลวงรัชกาลที่ 9 โปรดเกล้าฯ ให้ ผศ. ดร. สุธี อักษรกิตติ์ สร้างขึ้นตามพระราชดาริ คือแบบที่ 1 ช่วงระหว่าง พ.ศ. 2513 ถึง พ.ศ. 2515 เป็นสายอากาศหาทิศทาง แบบที่ 2 สายอากาศที่มีการเพิ่มประสิทธิภาพของการ ติดต่อระหว่างกรุงเทพฯ ไปเชียงใหม่ ให้สามารถติดต่อด้วยวิทยุขนาดเล็กได้ แบบที่ 3 และแบบที่ 4 ใน พ.ศ. 2517 ได้แก่สายอากาศ แบบที่ออกอากาศได้รอบตัว สามารถติดต่อได้ในระยะไกล เช่น จากกรุงเทพฯ ไปจังหวัดอื่นๆ อาทิ จังหวัดพิษณุโลก ตราด และ ประจวบคีรีขันธ์ และแบบที่ 4 สายอากาศที่ได้รับการออกแบบพิเศษให้สามารถที่จะรับได้ดีมีประสิทธิภาพ แม้ว่าจะต้องผ่านลักษณะที่ เป็นภูเขาหรือป่าก็ตาม สายอากาศทั้ง 4 แบบดังกล่าว เมื่อพระองค์ท่าน ได้ทรงทาการทดลองได้ผลดีแล้ว จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อว่า สายอากาศ สุธี-1 สุธี-2 สุธี-3 และสุธี-4
  • 17. คุณสมบัติ สุธี ช่วงความถี่ที่ใช้งาน โพลาไรเซชั่น แนวตั้ง อัตราขยาย อัตราส่วนคลื่นนิ่ง ไม่เกิน อินพุทอิมพีแดนซ์ Ω กาลังที่ทนได้ การป้องกันฟ้าผ่า กราวด์ไฟฟ้า กระแสตรง กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
  • 18. คุณสมบัติ สุธี ช่วงความถี่ที่ใช้งาน โพลาไรเซชั่น แนวตั้งหรือแนวนอน อัตราขยาย อัตราส่วนคลื่นนิ่ง ไม่เกิน อินพุทอิมพีแดนซ์ Ω กาลังที่ทนได้ การป้องกันฟ้าผ่า กราวด์ไฟฟ้า กระแสตรง กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
  • 19. คุณสมบัติ สุธี 4 ช่วงความถี่ที่ใช้งาน โพลาไรเซชั่น แนวตั้ง แนวนอน และวงกลม ใช้ สวิตซ์เลือก อัตราขยาย อัตราส่วนคลื่นนิ่ง ไม่เกิน อินพุทอิมพีแดนซ์ Ω กาลังที่ทนได้ การป้องกันฟ้าผ่า กราวด์ไฟฟ้ากระแสตรง กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
  • 21. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ท่านอาจารย์ สุธี เล่าให้ฟังอยู่เสมอ เกี่ยวกับการถวายงานพระองค์ท่านอย่างตื่นเต้น และอัศจรรย์ใจว่า พระองค์ท่านไปหาเวลาตอนไหนในการศึกษาเรื่องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และการออกแบบสายอากาศที่ยุ่งยากซับซ้อน พระองค์ท่าน ป้อนคาถามดั่งเช่นผู้มีความรู้ระดับปริญญาเอกในสาขาวิศวกรรมโทรคมนาคม ท่านอาจารย์ สุธี ซึ่งจบสาขานี้มาโดยตรงและกว่าจะมีความรู้ถึงระดับนี้ต้องใช้เวลาทุ่มเทร่าเรียนมาเป็นสิบปี
  • 22. กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ด้วยความรู้ที่พ่อให้.. ถึงอยู่ไกล ก็ใกล้พ่อ โครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม จากปัญหาการขาดแคลนครูที่สอนระดับมัธยมศึกษาตลอดมาของกรมสามัญศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ และโรงเรียนที่อยู่บริเวณชายแดน พระองค์ได้ทรงสร้างการถ่ายทอด การเรียนการสอนผ่านดาวเทียม โดยนาวิชาสามัญเหล่านี้ยิงสัญญาณขึ้นสู่ดาวเทียมก็จะสามารถรับฟังได้ทุก โรงเรียนทั่วประเทศ เป็นการลดความเหลื่อมล้าและเป็นการแก้ปัญหาได้อย่างถาวร ซึ่งพระองค์ทรงพระราชทาน โครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมขึ้น
  • 25. พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ ประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคม และรองประธานกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ การศึกษา ปริญญาเอก: วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (Ph.D. in EE) (วิศวกรรมโทรคมนาคม) จาก Florida Atlantic University สหรัฐอเมริกา ปริญญาโท: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (MS in EE) (วิศวกรรมโทรคมนาคม) The George Washington University สหรัฐอเมริกา ปริญญาโท: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (MS in EE) (วิศวกรรมไฟฟ้า) Georgia Institute of Technology สหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี: วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร (เกียรตินิยมเหรียญทอง) โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (นักเรียนเตรียมทหารรุ่น 26, จปร. รุ่น 37) มัธยมปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 26. เกียรติประวัติ เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง ปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารโทรคมนาคมจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โล่ห์เกียรติยศจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าคะแนนสูงสุดในวิชาผู้นาทหาร เกียรตินิยมปริญญาเอก Outstanding Academic Achievement จาก Tau Beta Pi Engineering Honor Society และPhi Kappa Phi Honor Society รางวัลเกียรติยศจักรดาว ประจาปี พ.ศ.2556 จากมูลนิธิศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมทหาร ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 25 Young Executivesที่ประสบความสาเร็จสูงสุดในปี 2555 จากนิตยสาร GM ประกาศเกียรติคุณ “โครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ” พ.ศ. 2556 จากคณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการสื่อสาร และโทรคมนาคม วุฒิสภา ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 30 นักยุทธศาสตร์แห่งปีที่อยู่ในระดับผู้นาองค์กร ปี พ.ศ. 2556 จากนิตยสาร Strategy+Marketing Magazine รับพระราชทานรางวัลเทพทอง ครั้งที่ 16 ในฐานะองค์กรดีเด่น ประจาปี 2557 ได้รับรางวัล “ผู้นาเสนองานวิจัยดีเด่น” จากสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ประจาปีงบประมาณ 2558 ประกาศเกียรติคุณรางวัล “คนดี ความดี แทนคุณแผ่นดิน” พ.ศ.2558 สาขาการสื่อสารโทรคมนาคมจากคณะกรรมการรางวัลไทย ได้รับโล่เกียรติยศ “ผู้นาและผู้ทาคุณประโยชน์เพื่อผู้ด้อยโอกาส” ประจาปี พ.ศ.2558 จากสมาคมโทรคมนาคมเพื่อสิทธิเสรีภาพของผู้ด้อยโอกาส พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ ประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคม และรองประธานกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ