SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
๑
พระพุทธศาสนา
ศาสนพิธีทางพระพุทธศาสนาและหน้าที่ชาวพุทธ
ศาสนาพิธีต่างๆ ทางพระพุทธศาสนา
การตักบาตร จัดเป็นศาสนพิธีอย่างหนึ่ง
ศาสนพิธี หมายถึง ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่ถือปฎิบัติในศาสนา เมื่อนามาใช้ในพระพุทธศาสนา จึงหมายถึง
ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่พึงปฎิบัติในพระพุทธศาสนา
ศาสนพิธีต่างๆ ช่วยทาให้ความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนิกชนมีความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้นเป็นสิ่งตอกย้าใจให้ระลึกถึงคุณของพระรัตนต
รัยได้อย่างดีเยี่ยม จึงเป็นระเบียบแบบแผนอันดีงามที่ควรรักษาไว้คู่กับพระพุทธศาสนาตลอดไป
ศาสนพิธีเป็นพิธีกรรมทางศาสนาซึ่งถือปฏิบัติเป็นแบบอย่างเป็นธรรมเนียมสืบต่อกันมา
เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงามเป็นแบบเดียวกัน
เหตุให้เกิดศาสนพิธีนี้คือความนิยมทาบุญของพุทธศาสนิกชนซึ่งไม่ว่าจะปรารภเหตุอะไรทากัน
ก็มักจะให้ตรงและครบตามหลักวิธีทาบุญในทางพระพุทธศาสนาซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแนะแนวไว้ 3หลักคือ
1. ทาน การบริจาควัตถุสิ่งของของตนเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น
2. ศีลการรักษากายวาจาให้สงบเรียบร้อย
3. ภาวนาการยกระดับจิตให้สูงขึ้นด้วยการอบรมให้สงบนิ่งและให้เกิดปัญญา
ดังนั้นในการทาบุญทุกครั้งชาวพุทธจึงถือคติว่าต้องให้เข้าหลัก 3ประการนี้โดยเริ่มต้นจะทาข้อ
๒
ไหนก่อนก็ได้ เช่น รับศีลแล้วฟังพระเจริญพระพุทธมนต์(ภาวนา)จบลงด้วยการถวายทานเป็นต้น
ความนิยมนี้ได้แพร่หลายทั่วไปจนกลายเป็นประเพณีทางศาสนาไปพิธีกรรมแบบนี้จึงสมมติเรียกกันต่อมาว่า “ศาสนพิธี”
ศาสนาพิธีทางพระพุทธศาสนา
ประโยชน์ของศาสนพิธี
ถ้าเปรียบศาสนาเหมือนกับต้นไม้ ศาสนพิธีก็เปรียบได้กับเปลือกนอกของต้นไม้
ตัวสัจธรรมคือคาสอนที่เป็นหลักปฏิบัติทางศาสนาเปรียบได้กับแก่นไม้ทั้งเปลือกทั้งแก่นไม้ย่อมมีประโยชน์ต่อต้นไม้เท่าๆกัน
หากมีแต่แก่นไม่มีเปลือกห่อหุ้มต้นไม้นั้นก็จะอยู่ไม่ได้ หรือมีแต่เปลือกอย่างเดียวแก่นไม่มี
หรือแก่นมีแต่เล็กเรียวเกินไปเพราะเปลือกหนามากต้นไม้นั้นก็ให้ประโยชน์น้อยดังนั้น
ต้นไม้จึงต้องมีทั้งแก่นและเปลือกเพื่ออาศัยซึ่งกันและกันหากถึงคราวจะใช้ทาประโยชน์จริงๆค่อยกะเทาะเปลือกนอกออก
นาเฉพาะแก่นเท่านั้นไปใช้ จึงจะได้รับประโยชน์จากต้นไม้นั้นอย่างแท้จริง
ศาสนาก็มีลักษณะเช่นนี้พิธีกรรมต่างๆ
ซึ่งเรียกในที่นี้ว่าศาสนพิธีนั้นเป็นเพียงองค์ประกอบภายนอกที่ห่อหุ้มแก่นศาสนาคือตัวสัจธรรมไว้
หากจะเลือกใช้เลือกสอนกันแต่แก่นๆแล้วคงเป็นไปและเข้าใจได้ยาก
จาต้องเริ่มต้นจากเปลือกกระพี้ไปก่อนเพราะความนิยมของคนและพื้นฐานความรู้ของคนไม่เหมือนกันและไม่เท่ากัน
แต่พิธีกรรมนั้นต้องเป็นไปพอเหมาะพอควรไม่มากไม่น้อยเกินไปหากพิธีกรรมมีมากเกินไปแก่นธรรมก็จะเล็กเรียวลงเหมือนต้นไม้
ถ้ามีเปลือกกระพี้หนามากแก่นของต้นไม้นั้นมักจะเล็กเรียวมากพิธีกรรมนั้นจะต้องเป็นพิธีกรรมที่ดีด้วย
เพราะพิธีกรรมที่ดีจะส่อให้เห็นว่าแก่นธรรมนั้นดีเปรียบเหมือนต้นไม้ที่มีเปลือกดีส่อให้เห็นว่าแก่นข้างในย่อมดี
๓
หรือผลไม้ที่มีเปลือกนอกดีก็ส่อให้เห็นว่าเนื้อข้างในจะไม่เน่าไม่เสียด้วยตรงข้ามหากเปลือกนอกมีจุดด่างดาหรือมีรอยเน่า
ก็ส่อให้เห็นว่าเนื้อข้างในยังวางใจไม่ได้
ดังนั้น ศาสนพิธีจึงต้องคงคู่ไว้กับแก่นธรรมแต่การประกอบศาสนพิธีอย่าติดเพียงแค่พิธีกรรมเท่านั้น
ทั้งไม่ควรคิดว่าพิธีกรรมต่างๆที่ทากันอยู่นั้นเป็นตัวแท้เป็นแก่นศาสนา
ความจริงพิธีกรรมเป็นเพียงส่วนประกอบภายนอกเพื่อเป็นทางผ่านให้เข้าถึงแก่นธรรมหรือตัวแท้แห่งศาสนาเท่านั้นรวมความแล้ว
ศาสนพิธีมีประโยชน์2อย่างคือ
1. รักษาความเป็นเอกลักษณ์ของชาติคือพิธีกรรมทางศาสนานั้นมีแบบแผนเป็นของตัวเองโดยเฉพาะจึงเป็นจุดเด่นอย่างหนึ่
งในแบบวัฒนธรรมของชาติอาจเชิดชูเอกลักษณ์ของชาติไว้ได้ด้วยแบบอย่างนั้นเพราะเป็นเอกลักษณ์ของตัวเองโดยเฉพาะ
นับว่าเป็นเครื่องเชิดหน้าชูตาของชาติได้ทางหนึ่งที่พอจะอวดผู้อื่นได้ว่าชาติเรานั้นได้สะสมระเบียบประเพณีอันดีงามมานานแสนนา
นแล้วซึ่งแสดงถึงว่าเรามีวัฒนธรรมมานานแสนนานแล้วนั่นเอง
2. ส่งเสริมคุณค่าทางด้านจิตใจคือทาให้ผู้ประกอบพิธีกรรมนั้นๆเบิกบานใจ
เกิดความปีติสดชื่นขึ้นเพราะได้ประกอบพิธีกรรมนั้นแล้วเป็นการเตรียมใจไว้รองรับบุญกุศลหรือความดีอื่นๆต่อไป
และเป็นเหตุจูงใจให้ผู้พบเห็นปรารถนาจะทาตามอย่างบ้าง
ตัวอย่างในการส่งเสริมคุณค่าทางด้านจิตใจของศาสนพิธีเช่นเมื่อต้องการจะทาบุญเลี้ยงพระที่บ้านแบบแรกตัดพิธีกรรมออกหมด
คือเมื่อพระมาถึงบ้านก็นาอาหารคาวหวานมาถวายท่านเลยเมื่อพระท่านฉันเสร็จแล้วก็อาลากลับวัดเลยเช่นกัน
นี่แบบตัดพิธีกรรมออกอีกแบบหนึ่งเป็นแบบทาตามพิธีกรรมคือ
เมื่อพระมาถึงแล้วเจ้าของบ้านจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยได้กราบพระได้รับศีลได้ฟังพระเจริญพระพุทธมนต์
ได้ถวายทานด้วยมือตนเองพระท่านฉันเสร็จแล้วก็ได้รับพรจากพระได้กรวดน้าได้รับประพรมน้าพระพุทธมนต์ตามลาดับ
ในสองแบบนี้แบบแรกไม่มีพิธีกรรมแบบหลังมีพิธีกรรมเพิ่มขึ้นตามความนิยม
แบบไหนจะเป็นเหตุให้ผู้เป็นเจ้าภาพหรือผู้กระทาประทับใจและเกิดความแช่มชื่นเป็นสุขใจมากกว่ากัน
๔
การถวายภัตตาหารแก่คณะสงฆ์เป็นศาสนพิธีทางพระพุทธศาสนาอย่างหนึ่งอย่างหนึ่ง
ผลจากการเรียนรู้ศาสนพิธี
ผู้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องศาสนพิธีดีแล้วย่อมเป็นผู้ฉลาดในการจัดทาพิธีกรรมต่างๆในทางศาสนา
เป็นผู้สามารถในการประกอบพิธีกรรมนั้นๆได้ถูกต้องตามแบบแผนที่นิยมกันทั่วไป
เป็นเหตุให้ผู้ได้พบเห็นเกิดศรัทธาในผู้นั้นว่าเป็นผู้ช่าชองได้รับการฝึกฝนอบรมมาดีแล้ว
ไม่มีความเคอะเขินในการจัดทาเป็นการเพิ่มเสน่ห์และบุคลิกภาพให้แก่ตัวเองอย่างหนึ่ง
และนอกจากนั้นยังได้ชื่อว่าช่วยสืบต่ออายุพระศาสนาโดยปริยายด้วยเพราะแบบอย่างหรือธรรมเนียมที่ดีงามมีเหตุมีผลเป็นพิธีกรรม
นั้นๆเมื่อยังรักษากันไว้ได้เพียงใดตัวศาสนาก็ยังชื่อว่าได้รับการรักษาอยู่เพียงนั้น
เหมือนเปลือกกระพี้ของต้นไม้ยังคงสดอยู่ตราบใดต้นไม้นั้นก็จะยังมีชีวิตอยู่ตราบนั้น
การประกอบศาสนพิธี
ดังกล่าวมาแล้วว่าพิธีกรรมนั้นเป็นเพียงส่วนประกอบไม่ใช่ตัวหลักการศาสนา
เวลาจะประกอบพิธีกรรมจึงควรยึดถือเฉพาะที่เป็นหลักศาสนพิธีคือให้เข้าหลักการทาบุญทางศาสนา ๓ประการข้างต้นนั้นเท่านั้น
ตัดพิธีกรรมส่วนเกินซึ่งเป็นเหตุฟุ่มเฟือยเป็นสิ่งที่ทาต่อกันมาโดยไม่ทราบเหตุผลออกเสีย
นอกจากต้องคานึงถึงหลักศาสนพิธีแล้วต้องคานึงถึงหลักเศรษฐกิจและหลักสังคมด้วย
สรุปแล้ว การประกอบพิธีกรรมทุกประเภทควรคานึงถึงหลักอย่างน้อย 4 ประการ คือ
1. ต้องประหยัดคือใช้จ่ายเฉพาะในสิ่งที่จาเป็นไม่ฟุ่มเฟือยไม่ทาแบบตาน้าพริกละลายแม่น้า
ตัดสิ่งที่ไม่เกิดบุญไม่เกิดกุศลออกเสียยิ่งสิ่งที่เป็นอบายมุขต่างๆด้วยแล้วไม่ควรจัดให้มีขึ้นในพิธีกรรมเป็นเด็ดขาด
เพราะนอกจากจะไม่เป็นบุญเป็นกุศลแล้ว ยังจะพลอยเป็นบาปเป็นกรรมไปเสียอีกด้วย
๕
2. ต้องให้ได้ประโยชน์และคุ้มค่า
คือสิ่งที่ทาที่ลงทุนไปนั้นต้องให้ได้ให้เป็นประโยชน์ต่อตัวเองหรือผู้อื่นที่เราต้องการให้ได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง
ทาแล้วให้มีกาไรมากกว่าขาดทุนหรือให้เป็นกาไรทั้งหมดคือให้เป็นบุญมากกว่าเป็นบาปหรือให้เป็นบุญล้วนๆไม่มีบาปเข้ามาปน
3. ต้องถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมคือทาให้ถูกหลักเกณฑ์แห่งการทาบุญนั้นๆ
ตัดพิธีกรรมส่วนเกินออกเสียแต่เมื่อตัดแล้วต้องไม่เสียแบบแผนที่ดีงามที่มีเหตุมีผลต้นปลายซึ่งนิยมกันมา
ทั้งนี้มิใช่ว่าต้องทาตามอย่างที่เขาทามาทั้งหมดเสมอไป
เพราะพิธีกรรมที่ทาตามอย่างกันมานั้นมักจะเป็นพิธีกรรมส่วนเกินเสียเป็นส่วนใหญ่ บางทีก็ทากันไปโดยไม่รู้ว่าทากันไปทาไมก็มี
เห็นเขาทาก็ทาตามเขาบ้างหรือทาไปด้วยความจาใจถ้าไม่ทาก็กลัวว่าเขาจะตาหนิหรือติฉินเอาก็มี
4. ต้องให้เหมาะสมคือเวลาทาต้องดูฐานะความเป็นอยู่ดูกาลังของตัวก่อนว่าควรทาได้เพียงไรแค่ไหนมีแค่ไหนก็ควรทาแค่นั้น
ไม่จาเป็นต้องทาให้เท่าเขาหรือให้เหมือนเขาเสมอไปอย่าถึงกับต้องไปกู้หนี้ยืมสินเขามาทา
เพราะจะทาให้เดือดร้อนในภายหลังได้การประกอบพิธีกรรมที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ย่อมได้ผลไม่น้อยและทาได้ไม่ยากนัก
เป็นทางบุญแน่แท้ ทาแล้วย่อมได้บุญสมประสงค์
แต่ถ้าประกอบไม่ถูกต้องหรือประกอบโดยไม่เข้าใจอาจจะไม่ได้ผลบุญเท่าที่ควรจะได้ ทั้งยังจะขาดทุนเสียด้วยซ้าไป
ศาสนพิธีมี4 หมวดใหญ่
ในพระพุทธศาสนาแบ่งศาสนพิธีออกเป็น 4 หมวดใหญ่ๆ ดังนี้
1. กุศลพิธี เป็นพิธีเกี่ยวกับการอบรมความดีงามทางพระพุทธศาสนาเฉพาะบุคคลเช่น
การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การเวียนเทียนในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา และการรักษาศีลประเภทต่างๆเป็นต้น
2. บุญพิธี เป็นพิธีทาบุญเนื่องด้วยประเพณีในครอบครัวซึ่งเป็นประเพณีที่เกี่ยวกับการดาเนินชีวิตของคนทั่วไปมี2ประเภท
คือ
2.1 พิธีทาบุญในงานมงคล ได้แก่การทาบุญในโอกาสต่างๆ
2.2 พิธีทาบุญในงานอวมงคล เช่นบุญหน้าศพเป็นต้น
3. ทานพิธี เป็นพิธีถวายทานต่างๆเช่นการถวายทานเครื่องนุ่งห่มยารักษาโรค เป็นต้น
4. ปกิณกะพิธี เป็นพิธีเบ็ดเตล็ด ได้แก่ การอาราธนาศีลการประเคนของพระเป็นต้น
ในบทนี้จะนามาเฉพาะพิธีที่สาคัญๆ อันเกี่ยวกับชีวิตประจาวันของชาวพุทธเสมอๆ ดังต่อไปนี้
๖
พิธีการตักบาตรเป็นหนึ่งในศาสนพิธีของชาวพุทธ
ศาสนพิธีของศาสนาพุทธ
พิธีตักบาตร
คือการนาข้าวและอาหารคาวหวานใส่บาตรพระภิกษุสงฆ์หรือสามเณร โดยอาจทาเป็นประจาวันในท้องถิ่นชุมชนที่มีพระภิกษุส
งฆ์และสามเณรออกบิณฑบาตจะทาในวันเกิดของตนหรือวันสาคัญทางศาสนารวามทั้งวันพระ 8ค่าและ14,15 ค่า เป็นต้น
เบื้องต้นของการตักบาตร ต้องเตรียมใจให้ผ่องใสเป็นกุศล เปี่ยมด้วยความเต็มใจ บุญจะได้บังเกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มคิด ขณะทาก็ไม่
นึกเสียดาย ให้มีใจเป็นสุข หลังจากให้ไปแล้วก็ปลื้มปิติยินดีในทานนั้นไม่นึกเสียดายในภายหลัง บุญกุศลจึงจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อ
ง ในการเตรียมของตักบาตร เช่น ข้าวสารอาหารแห้งหรือคาวหวาน ถ้าของสดพึงระวังอย่าให้ข้าวและอาหารนั้นๆ ร้อนหรือเย็นจน
เกินไป เพราะอาจทาให้เกิดความลาบากแก่พระภิกษุหรือสามเณร ที่ต้องอุ้มบาตรต่อไปในระยะทางไกล ของที่ใส่บาตรนั้นนิยมปฏิ
บัติธรรมเนียมว่าให้ยกขึ้นจบ
(ยกขึ้นสูงระดับหน้าผาก ด้วยท่าประนมมือโดยอนุโลม) แล้วนิมนต์พระภิกษุสงฆ์หรือสามเณรว่า นิมนต์ครับ หรือนิมนต์ค่ะ เมื่อท่
านเดินผ่านมาในระยะใกล้แล้วใส่บของลงบาตร กล่าวคาถวายทานว่า
สุทินนัง วะตะ เม ทานัง อาสะวักขะยาวะหัง โหตุฯ
แปลว่า ทานที่ข้าพเจ้าให้แล้วด้วยดีหนอ จงเป็นเครื่องกาจัดอาสวกิเลส ออกไปจากใจของข้าพเจ้าด้วยเถิด
เมื่อใส่บาตรเสร็จแล้วนิยมทาการกรวดน้าเพื่ออุทิศส่วนกุศลผลบุญแก่ผู้อื่นอันเป็นที่รักด้วย ช่วยทาให้เกิดความอิ่มเอิบใจ เป็นสุ
ขแก่ผู้ปฎิบัติ
คำถวำยสังฆทำน พิธีกำรถวำยสังฆทำน
๗
การถวายสังฆทานเป็นการถวายที่มิได้เจาะจงแก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง
คำถวำยสังฆทำน
พิธีถวำยสังฆทำน คือ การถวายทานวัตถุที่ควรเป็นทานแก่สงฆ์ มิได้เจาะจงแก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง หากเจาะจงเฉพาะรูป เรีย
กว่า ปาฎิบุคลิกทาน ไม่ต้องมีพิธีกรรมอะไรในการถวาย ส่วนสังฆทานนั้นเป็นการถวายกลางๆ ให้สงฆ์เฉลี่ยกันใช้สอย จึงมีพิ
ธีกรรมเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย โดยเฉพาะการถวายทานและการอนุโมทนาของสงฆ์
สังฆทำนมีแบบแผนมาตั้งแต่ครั้งสมัยพุทธกาล ผู้รับจะเป็นพระภิกษุหรือสามเณร หรือพระสังฆเถระหรือพระอันดับชนิดไรๆ
เมื่อสงฆ์จัดไปให้ ผู้ถวายต้องตั้งใจต่ออริยสงฆ์ คือ อุทิศถวายเป็นสงฆ์จริงๆ ผู้รัรรับในนามของสงฆ์เป็นส่วนรวม จึงเป็นการ
ถวายสังฆทานด้วยใจที่เป็นกุศล อิ่มเอิบเบิกบานในการถวายทาน วัตถุที่ถวายจะมากหรือน้อยอย่างไรตามแต่สมควร ประกอบด้วย
ภัตตาหารและบริวาณของใช้ที่เหมาะสมแก่สมณบริโภค ถวายกี่รูปก็ได้แล้วแต่ศรัทธา จะถวายที่วัดหรือสถานที่อื่นๆ เช่น ที่บ้
านหรือสถานที่ประกอบพิธีก็ได้
พิธีถวำยสังฆทำนเริ่มด้วยกำรจุดเทียนธูปบูชำพระรัตนตรัย
พิธีกำรถวำยสังฆทำน
๘
พิธีการถวายสังฆทานนั้น เริ่มด้วยการจุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัย
(ถ้ามี) แล้วอาราธนาศีล และสมาทานศีล จากนั้นผู้ถวายทานประนมมือ ตั้งนะโม
3 จบ กล่าวคาถวายสังฆทาน เสร็จแล้วประเคนทานวัตถุแด่พระภิกษุสงฆ์
หลังจากประเคนถวายพระภิกษุสงฆ์แล้ว เมื่อพระสงฆ์ผู้นาสวดอนุโมทนาด้วยบท ”ยะถา วาริวหา...” ผู้ถวายทานเริ่มกรวดน้า
ถึงบทที่พระสงฆ์ผู้นาสวดถึง “มณีโชติรโส ยะถา” ก็ให้หยุดการกรวดน้า แล้วประนมมือรับพรพระต่อไปจนจบ
(การกรวดน้าจะได้กล่าวรายละเอียดในหัวข้อถัดไป)
พิธีถวำยสังฆทำนกระทำหลังจำกประธำนจุดเทียนธูปแล้วจะทำกำรอำรำธนำศีล สมำทำนศีล
กำรอำรำธนำศีลและสมำทำนศีล
เบื้องต้นของการบาเพ็ญกุศลของพุทธศาสนิกชน ต้องมีพิธีรับสมณคมน์และศีลก่อนจากนั้นจึงอาราธนาพระปริตร ถ้าบาเพ็ญเ
กี่ยวกับเทศน์จึงจะอาราธนาธรรม
การที่ขอเบญจศีลก่อนเสมอไปทุกพิธีนั้น เพื่อชาระจิตให้บริสุทธิ์ ให้เป็นผู้มีศีลสมควรแก่การรองรับพระธรรม สรณคมน์
หมายความว่า ขอถึงพระพุทธ ขอถึงพระธรรม ขอถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่งก่อนอาราธนาควรกราบพระพุทธรูปที่โต๊ะหมู่บูชาและบูช
าพระก่อนแล้วจึงกล่าวคาอาราธนาตามด้วยการสมาทานศีล
วิธีการอาราธนานั้น บางแห่งให้ผู้กล่าวอาราธนาแต่ผู้เดียว บางแห่งอาราธนาพร้อมกันทั้งหมด
คำอำรำธนำเบญศีลหรือศีล 5
๙
(คากล่าวก่อน) บัณฑิตทั้งหลายกล่าวว่า ศีลเป็นเบื้องต้น เป็นที่ตั้ง เป็นบ่อเกิดแห่งคุณความดีทั้งหลาย และเป็นประธานแ
ห่งธรรมทั้งปวง บุคคลใดชาระศีลให้บริสุทธิ์แล้ว จะเป็นเหตุให้เว้นจากความทุจริต จิตจะร่าเริงแจ่มใส และเป็นท่าหยั่งลงมหาส
มุทร คือ นิพพาน
ดังนั้น ขอเรียนเชิญทุกท่าน พึงตั้งใจกล่าวคาอาราธนาศีล 5 โดยพร้อมเพรียงกัน(นะครับหรือนะค่ะ)
มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ, ติสะระเณนะสะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ,
ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ, ติสะระเณนะสะหะ,ปัญจะสีลานิ ยาจามะ,
ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ, ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะสีลานิ ยาจามะ,
คำถวำยสังฆทำน
กำรถวำยสังฆทำนผู้ให้เครื่องบริโภคนั้นได้ชื่อว่ำให้ฐำนะห้ำประกำรแก่ปฎิคำหก
คำถวำยสังฆทำน
(บทกล่าวนา) พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า สัปบุรุษย่อมให้ทานเช่นข้าวและน้าที่สะอาดประณีตตามกาลสมควรอยู่เป็นนิตย์ แ
ก่ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ซึ่งเป็นบุญเขตอันเยี่ยม สาหรับผู้ให้เครื่องบริโภคนั้นได้ชื่อว่าให้ฐานะห้าประการแก่ปฎิคาหก ดังต่อไป
นี้คือ ให้อายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฎิภาณ ผู้ให้ย่อมได้รับฐานะห้าประการนั้นด้วย ท่านสาธุชนทั้งหลาย บุญเท่านั้นที่เ
ป็นที่พึ่งของพวกเราทั้งหลาย ดังนั้นขอเรียนเชิญทุกท่านพึงตั้งใจ กล่าวคาถวายภัตตาหารเป็นสังฆทานโดยพร้อมเพรียงกัน
(นะครับหรือนะค่ะ)
คำถวำยสังฆทำนเป็นภำษำบำลีและคำแปล
(กล่าวนา-หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการังกะโรมะเส.)
๑๐
อิมานิ มะยัง ภันเต, ภัตตานิ,
สะปะริวารานิ,ภิกขุสังฆัสสะ,
โอโณชะยามะ,สาธุ โนภันเต, ภิกขุสังโฆ,
อิมานิ, ภัตตานิ, สะปะริวารานิ,ปะฎิคคัณหาตุ,อัมหากัง , ฑีฆะรัตตัง,หิตายะ,สุขายะ,นิพพานายะ จะฯ
คำแปล
ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ,
ข้าพเจ้าทั้งหลาย,ขอน้อมถวาย,ภัตตาหาร,พร้อมด้วยบริ วารทั้งหลายเหล่านี้,
แด่พระภิกษุสงฆ์,ขอพระภิกษุสงฆ์,จงรับ,ภัตตาหาร,พร้อมด้วยบริวารทั้งหลายเหล่านี้,ของข้าพเจ้าทั้งหลาย,เพื่อประโยชน์,
เพื่อความสุข, เพื่อมรรคผลนิพพาน,
แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย,ตลอดกาลนานเทอญ.
คำกล่ำวถวำยเครื่องไทยธรรม
อิมานิ มะยัง ภันเต, จะตุปัจจะยาทีนิ,
สะปะริวารานิ,ภิกขุสังฆัสสะ,
โอโณชะยามะ,สาธุ โนภันเต, ภิกขุสังโฆ,
อิมานิ, จะตุปัจจะยาทีนิ,สะปะริวารานิ,
ปะฎิคคัณหาตุ,อัมหากัง, ฑีฆะรัตตัง,หิตายะ,สุขายะ, นิพพานายะ จะฯ
คำแปล
ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ,
ข้าพเจ้าทั้งหลาย,ขอน้อมถวาย,
เครื่องไทยธรรม,มีปัจจัยสี่เป็นต้น,พร้อมด้วยบริวารทั้งหลายเหล่านี้,
แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์,
จงรับ, เครื่องไทยธรรม, มีปัจจัยสี่เป็นต้น,พร้อมด้วยบริวารทั้งหลายเหล่านี้,
ของข้าพเจ้าทั้งหลาย,เพื่อประโยชน์,
เพื่อความสุข, เพื่อมรรคผลนิพพาน,
แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ตลอดกาลนานเทอญ.
นอกจากนี้ยังมีบทสวดสาคัญที่ควรรู้และจดจา เพราะเป็นบทที่ต้องใช้สาหรับอาราธนาก่อนพระภิกษุสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์
คือ บทอาราธนาพระปริตรและบทอาราธนาธรรม ซึ่งใช้อาราธนาก่อนพระภิกษุสงฆ์แสดงธรรมหรือสวดอภิธรรม
คำอำรำธนำพระปริตร
วิปัตติปะฎิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา
สัพพะทุกขะวินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคลัง
๑๑
วิปัตติปะฎิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา
สัพพะภะยะวินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคลัง
วิปัตติปะฎิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา
สัพพะโรคะวินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคลัง
คำอำรำธนำธรรม
พรัหมา จะ โลกาธิปะติ สะหัมปะติ
กัตอัญชะลี อันธิวะรัง อะยาจะถะ
สันตีธะ สัตตาปปะระชักขะชาติกา
เทเสตุ ธัมมัง อะนุกัมปิ มังปะชังฯ
๑๒
พิธีกรรมในงานมงคล
พิธีกรรมในงำนมงคล
ขั้นตอนพิธีกรรมเนื่องในงำนมงคล
งานมงคล ได้แก่ การทาบุญ เพื่อความสุขความเจริญ โดยปรารภเหตุดี เช่น ทาบุญวันเกิด ทาบุญฉลองอายุครบ ทาบุญขึ้น
บ้านใหม่ ทาบุญเนื่องในงานมงคลสมรส ทาบุญฉลองเกียรติยศ เหล่านี้เป็นต้น ในงานมงคลมีวิธีปฎิบัติดังนี้
1. อาราธนาพระสงฆ์ เมื่อกาหนดวันงานที่แน่นอนแล้ว ไปอาราธนาพระตามจานวนที่ต้องการก่อนถึงวันงานอย่างน้อย 3ถึง7
วัน การอาราธนานั้น ถ้าสามารถเขียนหรือพิมพ์เป็นฎีกานิมนต์ได้ เป็นการดีที่สุด โดยบอกกาหนด วันเดือน ปี เวลา
และงานให้ละเอียด
2. จานวนพระที่นิมนต์ ตามปกติจานวนนี้คือ5 รูป 7 รูป9 รูป แต่ส่วนมากนิยมนิมนต์9รูป ถือกันว่าเลข9
เป็นเลขมงคลขลังดี งานนั้นจะได้เจริญก้าวหน้ายิ่งๆขึ้นไป ถ้าเป็นงานมงคลสมรสนิยมนิมนต์จานวนคู่คือ6รูป8 รูป 10
รูป ส่วนมากงานมงคลสมรสนิยม8รูป ถ้าเป็นพระราชพิธีนิยม10รูป เป็นอย่างน้อย
๑๓
งานบุญพิธี ณ วัดพระธรรมกาย
3. ตั้งโต๊ะหมู่บูชา นิยมจัดไว้ทางด้านขวามือของพระสงฆ์ โดยให้พระพุทธผินพระพักตร์ไปด้านเดียวกับพระสงฆ์ ถ้าสถานที่อานว
ยให้ผินพระพุทธรูปไปทางด้านทิศตะวันออก หรือทิศเหนือ ได้ยิ่งดี ถ้าสถานที่ไม่พอก็ให้จัดตามความเหมาะสมกับสถานที่ พระพุ
ทธรูปที่จะนามาตั้งโต๊ะบูชานั้นไม่ให้มีครอบหรือขนาดเล็กจนเกินไป หรือใหญ่จนเกินไป โต๊ะหมู่บูชาขนาดใหญ่ หรือเล็ก ก็ให้จัดพร
ะบูชาเหมาะสมตามส่วน มีแจกันดอกไม้ พานดอกไม้จัด3 พาน หรือ5 พาน แจกันจะใช้ 1-2
คู่ก็ได้ แล้วแต่ขนาดของโต๊ะ กระถางธูปให้ปักไว้ 3ดอก เชิงเทียน1 คู่ พร้อมเทียน
4. ขันน้ามนต์ จะใช้ขัน หรือบาตรหม้อน้ามนต์มีเชิงก็ได้ ใส่น้าสะอาดพอควร มีเทียนน้ามนต์ควรเป็นเทียนขี้ผึ้งอย่างดี1-2
เล่ม ใบเงินทองอย่างละ5 ใบ มัดหญ้าคาหรือก้านมะยมสาหรับประพรมน้าพระพุทธมนต์ 1มัด ถ้าใช้ใบมะยมใช้ก้านสด9
ก้าน ถ้ามีการเจิม ก็เตรียมแป้งกระแจะ ใส่น้าหอมในผอบเจิมด้วย ถ้ามีการปิดทองด้วย ก็เตรียมทองคาเปลว ไว้ตามต้องการวาง
ใส่พาน ตั้งไว้ข้างบาตรน้ามนต์
5. ด้ายสายสิญจน์ ใช้ด้ายดิบจับ9 เส้น 1 ม้วน
โยงรอบบ้านหรือบริเวณพิธี เวียนจากซ้ายไปขวา โยงเข้าหาพระประธานที่โต๊ะหมู่บูชา เวียนซ้ายไปขวาเช่นเดียวกัน ไม่ควรเอาพัน
ไว้ที่องค์พระประธานควรเวียนรอบฐานพระโยงมาที่ขันหรือบาตรน้ามนต์เวียนขวา แล้วนาด้ายสายสิญจน์วางไว้บนพานรองตั้งไว้ข้า
งโต๊ะบูชาใกล้กับพระเถระองค์ประธานในสงฆ์
เรื่องด้ายสายสิญจน์นี้มีข้อควรระวังเป็นพิเศษคือ ห้ามข้ามกรายเป็นเด็ดขาด แม้ที่สุด
จะหยิบของข้าม หรือบ้วนน้าลาย ก็ไม่ควรข้ามด้ายสายสิญจน์อย่างยิ่ง เพราะนอกจากเป็นการแสดงความไม่เคารพในพระสัมมาสั
มพุทธเจ้า หรือถ้าเป็นงานศพก็ไม่เป็นการเคารพในผู้ตาย และยังเป็นผู้ที่ถูกติเตียนด้วย หากมีความจาเป็นจริงๆ ก็ควรสอดมือไปท
างใต้สายสิญจน์
๑๔
วิธีการปูอาสนะสงฆ์
6. การปูอาสนะสาหรับสงฆ์ ควรใช้เสื่อหรือพรมปูเสียชั้นหนึ่งก่อน นิยมใช้กัน2
วิธี คือยกพื้นอาสนะสงฆ์ให้สูงขึ้น โดยใช้เตียงหรือแคร่ม้ายาววางต่อกันให้พอจานวนแก่สงฆ์ และอีกวิธีหนึ่งปูลาดอาสนะบนพื้นธร
รมดา อาสนะสงฆ์นิยมใช้ผ้าขาวปูลาด จะมีผ้านิสีทนะ ปูอีกชั้นหนึ่งหรือไม่ก็ได้โดยอาสน์สงฆ์ยกพื้นนี้ มักจัดในสถานที่ที่ฝ่ายเจ้าภ
าพนั่งเก้าอี้กัน ส่วนอาสนะชนิดที่ปูลาดบนพื้นธรรมดาจะใช้เสื่อหรือพรมผ้าที่สมควรก็สุดแท้แต่ที่จะหาได้
ข้อสาคัญควรระวัง อย่าให้อาสนะพระสงฆ์หรืออาสนะของคฤหัสถ์ฝ่ายเจ้าภาพเป็นอันเดียวกัน ควรปูลาดให้แยกจากัน ถ้า
จาเป็นแยกกันไม่ได้ เพราะปูเสื่อหรือพรมไว้เต็มห้อง เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วสาหรับอาสนะสงฆ์ ควรปูทับด้วยเสื่อหรือพรมอีกชั้นหนึ่งจึง
จะเหมาะสม โดยใช้ผ้าขาวหรือผ้าสีทนะก็ได้ ปูเรียงรูปเป็นระยะให้ห่างกันพอสมควร อย่าให้ชิดกันเกินไป มีหมอนอิงข้างหลังเรียงเ
ท่าจานวนที่นิมนต์มาในงานนั้นๆ
7. เครื่องรับรองพระภิกษุสงฆ์ ประกอบด้วย กระโถน ภาชนะน้าเย็น วางไว้ทางด้านขวามือของพระภิกษุสงฆ์เป็นรายรูป ถ้าขอ
งมีจากัดจะวาง2รูปต่อ 1
ที่ก็ได้ วางเรียงจากด้านในมาหาข้างนอกตามลาดับ คือกระโถนไว้ในที่สุด ถัดมาภาชนะน้าเย็น ส่วนน้าชาและเครื่องดื่ม เมื่อพระ
ภิกษุสงฆ์เข้านั่งเรียบร้อยแล้ว ค่อยถวายก็ได้
8. ล้างเท้า –
เช็ดเท้าพระภิกษุสงฆ์ เมื่อพระภิกษุสงฆ์เข้าประจาที่เรียบร้อยแล้ว พึงเข้าประเคนของรับรองที่เตรียมไว้แล้ว คือภาชนะน้าเย็น ป
ระเคนของที่อยู่ด้านในก่อน ตามด้วยน้าชาหรือน้าหวานต่างๆ ถวายทีละรูปจนครบ
9. ประเคนเครื่องรับรองแด่พระภิกษุสงฆ์ เมื่อพระภิกษุสงฆ์เข้าประจาที่เรียบร้อยแล้ว พึงเข้าประเคนของรับรองที่เตรียมไว้แล้ว
คือภาชนะน้าเย็น ประเคนของที่อยู่ด้านในก่อน ตามด้วยน้าชาหรือน้าหวานต่างๆ ถวายทีละรูปจนครบ
๑๕
การจุดเทียนธูปให้จุดเทียนด้านซ้ายก่อนแล้วจึงจุดเล่มขวา
10.จุดเทียนธูปและเครื่องสักการะ เมื่อได้เวลาแล้วเจ้าภาพเริ่มต้นจุดเทียน ธูปที่โต๊ะบูชาด้วยตัวเอง ไม่ควรให้คนอื่นจุดแทน
ให้ถือว่าเราทาเพื่อสิริมงคลของผู้ทาของเจ้าของงานนั้นๆ และควรจุดเทียนเล่มที่อยู่ทางซ้ายมือของเราก่อน แล้วจึงจุดเทียนเล่มขวา
มือ เทียนไม่ควรให้เล่มเล็กเกินไป เสร็จแล้วจุดธูป ธูปควรปักไว้ในกระถางธูป ให้ตั้งตรง ถ้าเป็นงานมงคลสมรสคู่บ่าวสาวจุดเทียน
กันคนละเล่ม ธูปคนละ3 ดอก ผู้หญิงให้นั่งทางซ้าย ผู้ชายนั่งทางขวา แล้วกราบลงพร้อมกัน3
ครั้ง ประเคนด้ายสายสิญจน์แก่พระเถระผู้เป็นประธานสงฆ์ในพิธี
11.อาราธนาศีล ถ้าเจ้าภาพสามารถอาราธนาศีลได้ด้วยตนเองยิ่งดี ถ้าอาสนะสงฆ์สูง ยืนอาราธนาก็ได้ ถ้าพระภิกษุสงฆ์นั่งกับ
พื้น ควรคุกเข้าประนมมืออาราธนา จบแล้วพึงตั้งใจรับศีลด้วยการเปล่งวาจาตามไป การเปล่งวาจานี้ควรให้พระเถระผู้ให้ศีลได้ยิน
ด้วย ไม่ใช่รับศีลในใจ เมื่อท่านให้ศีลจบพึงรับด้วยคาว่า “อามะภันเต” หรือว่า “สาธุ ภันเต”
12. อาราธนาพระปริตร เมื่อรับศีลจบแล้ว พึงกราบลง3ครั้ง หรือยืนไหว้แล้วแต่กรณี อาราธนาพระปริตรต่อไป
๑๖
13. จุดเทียนน้ามนต์ เมื่อพระภิกษุสงฆ์สวดมนต์ถึงบทมงคลสูตร ขึ้นบทว่า
“อะเสวะนา จะพาลานัง” ให้เจ้าภาพจุดเทียนน้ามนต์ติดกับบาตรหรือขันน้ามนต์ ยกขันน้ามนต์ถวายแด่ประธานสงฆ์ เหตุที่จุดเที
ยนน้ามนต์ตอนนี้เพราะเทียนน้ามนต์ใช้แทนเทียนมงคลจึงต้องจุด เมื่อพระท่านสวดถึงบทมงคลสูตร ก็เพื่อให้เป็นสิริมงคลในงานนั้
น
14.ถวายสารับบูชาพระพุทธ ถ้ามีการฉันเช้าหรือฉันเพลหลังจากพระเจริญพุทธมนต์เสร็จแล้ว เมื่อพระท่านสวดถึงบท “พาหุงส
ะหัสสะมะ ภินิมมิตะสาวุธันตัง” ถ้าเป็นงานมงคลสมรส ให้คู่บ่าวสาวออกไปตักบาตร โดยจับด้ามทัพพีเดียวกัน มีคนคอยส่งข้าว
ของใส่บาตรแล้ว ก็ควรนาสารับบูชาพระพุทธมาถวายในขณะนั้น คาว่าบูชาว่าดังนี้
อิมัง สูปะพยัญชนะสัมปันนัง สาลีนัง
โภชะนัญจะ อุทะกัง วะรัง สัมพุทธัสสะ ปูเชมิฯ
ข้าพเจ้าขอบูชาพระพุทธ ด้วยโภชนาหารอันประณีต ด้วยน้าสะอาด
ประเสริฐแด่พระพุทธเจ้า (จบแล้วกราบ3 ครั้ง)
ขณะประเคนอาหารควรเข้าใกล้พระสงฆ์ประมาณ 1 ศอก
15. ประเคนอาหารพระภิกษุสงฆ์ ขณะประเคนอาหาร ควรเข้าใกล้พระสงฆ์ประมาณ1
ศอก ยกของที่ประเคนให้สูงขึ้นจากพื้น ไม่ควรกระทบต่อสิ่งกีดขวางอย่างอื่นสูงพอประมาณ ของที่ประเคนแล้ว ห้ามมิให้ถูกต้องอี
ก ถ้าถูกด้วยความพลาดพลั้งต้องรีบยกประเคนใหม่ ประเคนของทีละอย่างๆ ถ้าเป็นของเล็กๆ จะประเคนด้วยมือเดียวก็ได้ แต่ต้อ
งประเคนด้วยมือขวา ถ้าเป็นงานมงคลสมรส คู่สมรสประเคนวางบนผ้าที่พระท่านปูรับ
๑๗
ขณะพระกาลังฉัน เจ้าภาพควรนั่งปฎิบัติด้วยการดูแลให้ทั่วถึง และควรปวารณาว่า สิ่งใดขาดตกบกพร่องขอให้เรียกได้ตามประ
สงค์ เมื่อพระฉันอาหารเสร็จแล้ว ถอนสารับคาวออกก่อน นาของหวานประเคนต่อไป ถ้ามีน้าชาก็ควรรีบถวายตอนนี้ด้วย ช้อนส้อ
มของหวานไม่ควรลืม
16. การถวายเครื่องไทยธรรม เมื่อพระฉันเสร็จเรียบร้อยแล้ว กรุณานาเครื่องไทยธรรมที่จะถวายมา
เช่น ดอกไม้ธูปเทียน ห่อของถวายที่จัดเตรียมไว้ ถวายตามลาดับ เริ่มตั้งแต่ประธานสงฆ์ลงไป หากมีคนคอยช่วย ก็นาสิ่งของไทย
ธรรมนั้นวางไว้ข้างหน้าพระภิกษุสงฆ์เป็นชุดๆ
ไป เจ้าภาพก็ค่อยประเคนตาม บางแห่งจะกล่าวคาถวายก่อน พอจบแล้วก็นาถวายเลย ส่วนปัจจัย(เงิน) ควรแยกไว้ต่างหาก ไม่
สมควรประเคนพระถึงแม้ว่าจะใส่ย่ามก็ไม่ควร ทางที่ควรประเคนใบปวารณาแทนปัจจัย(เงินควรมอบให้กับไวยาวัจกร)
การกรวดน้าหลังประเคนของเรียบร้อยแล้ว
17. กรวดน้า เมื่อประเคนของเรียบร้อยแล้วพึงตั้งใจกรวดน้าอุทิศส่วนกุศลที่เราทาบุญครั้งนี้ ให้แก่บุพการีชน แก่เทวดา แก่คู่กร
รมคู่เวร ขอให้กุศลผลบุญที่กระทาในวันนี้ จงเป็นผลสาเร็จแก่ตนเองและครอบครัว ตลอดจนสรรพสัตว์ทั้งหลายด้วยความปรารถ
นานั้นๆ น้าที่กรวดนั้นต้องเป็นน้าสะอาดไม่มีสิ่งเจือปน ควรเตรียมไว้ล่วงหน้าซึ่งมีคนโทสาหรับกรวดน้าโดยเฉพาะ หรือภาชนะที่ส
มควรอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ เป็นการดีที่สุด เพราะเป็นสิ่งจาเป็นต้องใช้ในทุกๆ
งาน ในขณะพระเถระผู้เป็นประธานสงฆ์เริ่มสวดอนุโมทนากถาว่า “ยะถา วาริวะหา” เป็นต้นไป ก็เริ่มกรวดน้าให้ไหลลงโดยไม่ขา
ดระยะ ไม่ควรเอานิ้วมือรองน้า
ควรให้น้าไหลลงภาชนะโดยตรง เมื่อพระสงฆ์รับสวดว่า สัพพีติโย พร้อมกัน พึงเทน้าลงให้หมดแล้วประนมมือรับพรต่อไปด้วยใจเ
ป็นสมาธิ(Meditation) น้าที่กรวดแล้วควรนาไปเทลงบนพื้นดินที่สะอาดหมดจด หรือใบเสมา และกล่าวคาอธิษฐานอีกครั้งว่า ข
ออุทิศส่วนบุญที่ทาในวันนี้จงไปถึงแก่ดวงวิญญาณผู้มีพระคุณทั้งหลาย ด้วยความถนัดใจ ไม่ควรเทหรือสาดทิ้งทางหน้าต่างประตู
หรือในสถานที่ที่ไม่ควร เช่น กระโถน ใต้ถุนบ้านเหล่านี้ เป็นต้น
๑๘
การประพรมน้าพระพุทธมนต์ งานมงคลสมรสคู่บ่าวสาวควรหมอบให้น้ามนต์
18. การประพรมน้าพระพุทธมนต์ ก่อนพระภิกษุท่านจะกลับวัด เจ้าภาพที่มีความประสงค์จะให้พรมน้าพระพุทธมนต์ให้ ก็พึงเ
รียนท่านและบอกญาติพี่น้องให้เข้ามารวมกัน นั่งประนมมือ หรือหมอบลงรับน้าพระพุทธมนต์พร้อมกัน ในโอกาสเช่นนี้พระภิกษุท่
านจะสวด ชะยันโต เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่เจ้าภาพและแขกที่มาร่วมงาน ฉะนั้นผู้เป็นเจ้าภาพพึงคอยรับความเคารพ โดยหมอ
บลงตรงพระเถระถ้ามีคนมาก ผู้ที่ประพรมแล้วก็ควรให้โอกาสแก่คนอื่นบ้าง เจ้าภาพประสงค์ให้พระท่านประพรมณที่ใด
ก็พึงอุ้มบาตรหรือขันน้ามนต์นั้น นาท่านไป ถ้าต้องการจะให้ท่านเจิม หรือปิดทอง ก็เตรียมในช่วงนั้น สิ่งที่ควรเตรียมก็มี แป้งเจิม
แผ่นทองคาเปลว
ถ้าเป็นงานมงคลสมรส คู่บ่าวสาวควรหมอบให้น้ามนต์ ตั้งแต่พระเถระหัวแถวถึงพระภิกษุรูปสุดท้าย มากน้อยตามความเหมาะ
สม หลังจากคู่บ่าวสาวแล้วจึงพรมให้แขกอื่นที่มาร่วมงาน ส่วนเจ้าสาวต้องให้ญาติผู้ใหญ่ หรือบิดามารดาเจิมหน้าให้
19. ส่งพระภิกษุสงฆ์กลับวัด เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว พระภิกษุสงฆ์ลากลับวัด เจ้าภาพพึงตามส่งถึงรถ หรือประตูบ้านซึ่งเตรียมไ
ว้แล้ว
20. นาของที่ยืมมาคืนวัดให้เรียบร้อย เสื่อ
หมอน หรือพรม โต๊ะบูชาเครื่องใช้ที่ยืมมาจากวัดก็พยายามอย่างยิ่งอย่าให้แปดเปื้อน หรือแตกหักเสียหาย เพราะเป็นสมบัติของส
งฆ์ ถ้าเกิดเสียหายไปด้วยประการใดก็ดี เจ้าภาพพึงสานึก ของเหล่านี้เป็นของสาธารณสมบัติ ไม่ควรดูดายต้องหามาชดใช้แทนแ
ละทาความสะอาดให้เรียบร้อย นาส่งตรวจสอบให้ถูกต้อง เท่าที่ยืมมาใช้ เพื่อเป็นตัวอย่างต่อไป
๑๙
ด้ายสายสิญจน์มีความสาคัญกับการประกอบพิธีทั้งงานมงคลและงานอวมงคล
ในงานมงคลที่กล่าวถึงข้างต้นหรืองานอวมงคลที่จะได้กล่าวถึงในหัวข้อต่อไปนั้นจะมีอุปกรณ์อยู่ชิ้นหนึ่งที่ใช้บ่อย และมีความสา
คัญกับการประกอบพิธีกรรมอย่างมาก นั่นคือ “ด้ายสายสิญจน์” ซึ่งส่วนใหญ่อาจจะยังไม่ทราบถึงความเป็นมาของด้ายสายสิญจ
น์นี้ เพื่อเป็นความรู้ประดับสติปัญญาของเราเอง และเพื่อเป็นข้อมูลในการอธิบายให้คนอื่นได้ทราบถึงความเป็นมา จะได้นาประวั
ติของด้ายสายสิญจน์ที่ปรากฎอยู่ในพระไตรปิฎกมากล่าวถึงในบทนี้ ดังนี้
ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์บังเกิดเป็นพระราชโอรสสุดท้องของพระเจ้าพรหมทัตแห่งเมืองพาราณสี ทรงศรัทธาบารุงพระปัจเจ
กพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นประจา วันหนึ่งได้ทูลถามพระปัจเจกพุทธเจ้าว่าต่อภายหน้าพระองค์จะได้เสวยราชสมบัติในเมืองพาราณสีหรื
อไม่พระปัจเจกพุทธเจ้าพิจารณาดูแล้วก็ทราบว่าจะไม่ได้เป็นกษตริย์ในเมืองนี้ แต่จะได้ครองเมืองตักสิลา ทว่าการไปตักสิลานั้นมีอั
นตรายมากจากนางยักษิณีระหว่างทาง จึงถวายพระพรเรื่องนี้ให้ทรงทราบพร้อมกาชับว่าให้ระวังตัวในเรื่องรูปเสียงกลิ่นรส
สัมผัส ที่นางยักษิณีจะปลอมแปลงมาหลอกลวง ถ้าหลงใหลจะเป็นอันตรายถึงชีวิต พระโพธิสัตว์ก็รับคาเป็นอันดี แล้วได้อาราธนา
พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายสวดพระปริตร แล้วรับเอาปริตตวาลิกะ(ทรายเสกด้วยพระปริตร)และปริตต-สุตตะ(ด้ายเสก-
สายสิญจน์) ที่พระปัจเจกพุทธเจ้ามอบให้ ทูลลาพระราชบิดาออกเดินทางไปเมืองตักสิลาพร้อมด้วยคนสนิท5คน
ซึ่งขอติดตามไปด้วยโดยมิฟังคาทัดทาน หลังจากกาชับกาชาให้ระวังตัวให้ดีเหมือนคาพระปัจเจกพุทธเจ้า และทุกคนรับคาเป็นอันดี
แล้วก็เดินทางไปตามลาดับ
ครั้นถึงกลางดงใหญ่อันเป็นถิ่นที่อยู่ของนางยักษิณี นางยักษิณีเห็นบุรุษเหล่านั้นพักอยู่จึงจาแลงเพศมาเป็นหญิงสาวรุ่นงดงาม
น่าพึงใจด้วย รูปเสียงกลิ่น
รส และสัมผัส พวกคนสนิทของพระโพธิสัตว์เห็เข้าก็เกิดความลุ่มหลง ลืมสัญญาเสียสิ้น คนที่ชอบรูปร่าง ก็ถูกนางยักษิณีลวงรูปส
๒๐
วยแล้วจับกินเสีย คนที่ชอบเสียงก็ลวงด้วยเสียง แล้วถูกจับกิน คนทั้งห้าถูกลวงด้วยกามคุณทั้ง5
อย่างนี้แล้วถูกจับกินจนหมดเหลือพระโพธิสัตว์เพียงคนเดียวเท่านั้น แม้ยักษิณีจะลวงด้วยอาการอย่างไรก็ไม่ประมาท ไม่ยอมติดใจ
ยินดีด้วยอานาจบุญบารมีที่เคยสั่งสมอบรมมา นางยักษิณีก็ทาอะไรไม่ได้ ได้แต่ติดตามไปห่างๆ จะเข้าก็ไม่ได้เพราะอานุภาพแห่ง
ทรายเสก และด้ายเสกที่ติดตัวพระโพธิสัตว์อยู่
พอถึงเมืองตักสิลา พระโพธิสัตว์ก็เข้าพักณ
ศาลาแห่งหนึ่ง เอาทรายเสกโรยบนศรีษะ แล้วเอาด้ายเสกวนรอบที่พัก นางยักษิณีก็เข้าศาลาไม่ได้จึงพักอยู่ข้างนอกจนกระทั่งรุ่งเช้
า พระราชาเมืองตักสิลาเสด็จผ่านมาเห็นนางเข้าจึงเกิดความสิเน่หา นานางเข้าไปเป็นสนมในวัง ภายหลังถูกนางยักษิณีหลอกจับ
กินเสียอีก เมื่อขาดพระราชาประชาชนจึงพร้อมใจกันเลือกพระราชาองค์ใหม่ เห็นพระโพธิสัตว์มีรูปร่างงดงาม มีสง่าน่าเลื่อมใส จึง
อัญเชิญให้เป็นพระราชาเมืองนั้นสืบต่อไป
ด้วยเหตุนี้ ด้ายสาญสิญจน์จึงนิยมใช้วงสถานที่อยู่ และสถานที่ทาพิธี ตลอดจนสวมศรีษะ สวมคอ ผูกข้อมือในงานมงคลทั้งป
วง โดยนับถือว่าเป็นของศักดิ์สิทธิ์ประดุจข่าย หรือเกราะเพชรป้องกันสรรพอันตราย เป็นประเพณีสืบมาจนทุกวันนี้
ด้ายสาญสิญจน์นิยมใช้วงสถานที่อยู่ และสถานที่ทาพิธี
ตลอดจนสวมศรีษะ สวมคอ ผูกข้อมือในงานมงคลทั้งปวง
อีกอย่างหนึ่งที่ต้องมีเวลางานมงคลคือน้ามนต์ ซึ่งถือว่าเป็นมงคล ดังนั้นเมื่อรับพรจากพระภิกษุสงฆ์แล้ว จึงนิยมมีการพรมน้า
มนต์เพื่อเป็นสิริมงคลแก่เจ้าภาพและผู้มาร่วมงาน เนื่องจากเป็นการขับไล่สิ่งไม่ดีออกไป โดยถือคติตามในพระไตรปิฎกที่กล่าวถึงป
ระวัติของน้ามนต์ดังจะกล่าวต่อไปนี้
๒๑
ในสมัยที่สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ณ
พระนครราชคฤห์ ขณะนั้นที่เมืองเวสาลีซึ่งเป็นเมืองหลวงของแคว้นวัชชี เกิดทุกขภัยข้าวยากหมากแพงฝนแล้ง
ข้าวกล้าเสียหายเหลือคณานับ ผู้คนจึงอดอยากล้มตายลงเป็นอันมาก ที่เหลือก็นาศพเหล่านั้นไปทิ้งนอกเมืองเพราะเผาหรือฝังไม่ไ
หว นอกเมืองจึงเหม็นคลุ้งด้วยซากศพ ฝูงนกกาและสุนัยก็มาลากกินศพเหล่านั้น แล้วลงกินน้าในแม่น้า ทาให้อหิวาตกโรคระบาด
ซ้าอีก ผู้คนยิ่งล้มตายเป็นทวีคูณ พวกอมนุษย์และภูตผีปีศาจทั้งหลายก็พากันเข้าเมืองก่อความเดือดร้อนให้ชาวบ้านทั้งกลางวันแล
ะกลางคืน
ชาวเมืองจึงพากันทูลให้เจ้าผู้ครองนคร คือเจ้าลิจฉวีทั้งหลายนิมนต์พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาประทับที่เมืองเวสาลีบ้าง ภัยทั้งหล
ายก็จะสงบเอง เจ้าลิจฉวีทั้งหลายก็เห็นพ้องด้วย จึงนิมนต์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จมาเมืองเวสาลี โดยผ่านทางพระเจ้าพิมพิสาร
กษัตริย์เมืองราชคฤห์ พระเจ้าพิมพิสารจึงทูลนิมนต์พระพุทธองค์ตามนั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงรับนิมนต์แล้วเสด็จไป
เมืองเวสาลีพร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์เป็นอันมาก โดยเสด็จทางเรือที่พระเจ้าพิมพิสาร และเจ้าลิจฉวีทั้งหลายถวายความสะดวกฝ่าย
ละครึ่งทาง เมื่อเรือเทียบท่าแล้ว พระพุทธองค์เสด็จด้วยพระบาทเปล่าเข้าแคว้นวัชชีต่อไป พอพระพุทธองค์และพระภิกษุสงฆ์เข้าเข
ตแคว้นวัชชีเท่านั้น ได้เกิดฝนตกลงมาห่าใหญ่ น้าฝนได้ไหลพัดพาเอาซากศพ และสิ่งปฏิกูลทั้งหลายลงแม่น้าคงคาจนหมด ถนนห
นทางก็สะอาดสะอ้านขึ้นเป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก
และเมื่อเสด็จถึงประตูเมืองเวสาลี ทรงรับสั่งให้พระอานนท์เรียนเอาพระพุทธมนต์ชื่อ
“รตนสูตร” แล้วเดินสวดพระปริตร รตนสูตรจนรอบพระนคร บรรดาอมนุษย์และภูตผีทั้งหลายพอถูกน้าพระพุทธมนต์เข้าก็พากันกลั
ว หนีไปสิ้น โรคภัยไข้เจ็บต่างๆ
ก็พอหมดสิ้นไปด้วย เมื่อปะพรมน้าพระพุทธมนต์แล้วพระอานนท์ก็กลับมาเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าต่อไป เมืองเวสาลีก็ปลอดภัยจา
กความพิบัติต่างๆ
ที่เกิดขึ้น ชาวเมืองก็อยู่เย็นเป็นสุข ทามาหากินได้สะดวกเหมือนเดิม ด้วยประการฉะนี้ ดังนั้นจึงได้ถือปฏิบัติต่อกันมาจนกระทั่งถึง
ปัจจุบันนี้ประเพณีการพรมน้ามนต์ก็ยังอยู่คู่กับชาวพุทธตลอดมา
๒๒
การประเคนของแด่พระภิกษุสงฆ์
พระวินัยบัญญัติห้ำมพระภิกษุสงฆ์รับหรือหยิบสิ่งของมำขบฉันเองโดยไม่มีผู้ประเคนให้ถูกต้องเสียก่อน
กำรประเคนหมำยถึงกำรมอบให้ด้วยควำมเคำรพ ใช้ปฎิบัติต่อพระภิกษุสงฆ์เท่านั้นมีวินัยบัญญัติห้ามพระภิกษุสงฆ์รับ
หรือหยิบสิ่งของมาขบฉันเองโดยไม่มีผู้ประเคนให้ถูกต้องเสียก่อนเพื่อตัดปัญหาเรื่องการถวายแล้วหรือยังไม่ได้ถวาย จึงให้พระภิก
ษุสงฆ์รับของประเคนเท่านั้น ยกเว้นน้าเปล่าที่ไม่ผสมสี เช่น น้าฝน น้าประปาเป็นต้น เพื่อเป็นการแสดงออกอย่างชัดเจนว่า
สิ่งของนั้นๆ
เป็นของจัดถวายพระภิกษุสงฆ์แน่นอน โดยมีผู้ประเคนเป็นพยานรู้เห็นด้วยผู้หนึ่งการประเคนของจึงเป็นการสนับสนุนให้พระภิกษุส
งฆ์ปฎิบัติตามพระวินัยได้ถูกต้อง
การประเคนที่ถูกต้องตามหลักพระวินัยมีลักษณะที่กาหนดไว้ 5 ประการ ดังนี้
1. สิ่งของที่จะประเคนต้องไม่ใหญ่จนเกินไปหรือหนักเกินไปขนาดคนพอมีกาลังปานกลางยกขึ้นได้ ถ้าหนักหรือใหญ่เกินไปไม่ต้องป
ระเคน
2. ผู้ประเคนต้องอยู่ในหัตถบาสคือเอามือประสานกันแล้วยื่นไปข้างหน้า ห่างจากพระภิกษุสงฆ์ผู้รับประมาณ 1ศอก
3. ผู้ประเคนน้อมสิ่งนั้นส่งให้พระภิกษุสงฆ์ด้วยกริยาอ่อนน้อมแสดงความเคารพ
๒๓
4. การน้อมสิ่งของเข้ามาให้นั้นจะส่งให้ด้วยมือก็ได้หรือใช้ขิงเนื่องด้วยกายก็ได้ เช่นใช้ทัพพี
หรือช้อนตักอาหารใส่บาตรที่ท่านถือหรือสะพายอยู่ก็ได้
5. ในกรณีผู้ประเคนเป็นชายพระภิกษุสงฆ์ผู้รับจะรับด้วยมือในกรณีผู้ประเคนเป็นผู้หญิงจะรับด้วยของเนื่องด้วยกายเช่น
ผ้าทอดรับใช้บาตรรับใช้จานรับ
การประเคนที่ถูกต้องตามหลักพระวินัยมีลักษณะที่กาหนดไว้ 5 ประการ
เมื่อการประเคนได้ลักษณะครบทั้ง5
ประการนี้จึงเป็นอันประเคนถูกต้องถ้าไม่ได้ลักษณะนี้เช่นของนั้นใหญ่และหนักจนยกไม่ขึ้นผู้ประเคนอยู่นอกหัตถบาสหรือผู้ประเค
นเสือกของส่งให้ เป็นต้น แม้จะส่งให้พระภิกษุสงฆ์แล้วก็ตาม ก็ได้ชื่อว่ายังไม่ได้ประเคนนั่นเอง
1. ถ้าเป็นชายให้คุกเข่าหน้าพระภิกษุสงฆ์ห่างจากท่านประมาณ1ศอก ยกของที่จะประเคนส่งให้ท่านไปเลย
2. ถ้าเป็นหญิง ให้วางของที่จะประเคน ลงบนผ้ารับประเคนที่ท่านทอดออกมารับ แล้วปล่อยมือเพื่อพระภิกษุสงฆ์จะได้หยิบของนั้
น
3. เมื่อประเคนเสร็จแล้ว ให้กราบ3 ครั้ง หรือไหว้ 1
ครั้งก็ได้ ถ้าของที่จะประเคนมีมากให้ประเคนของให้หมดเสียก่อน แล้วจึงกราบหรือไหว้ ไม่นิยมกราบหรือไหว้ทุกครั้งที่ประเคน
๒๔
4. ถ้าพระภิกษุสงฆ์รับประเคนนั่งเก้าอี้หรืออยู่บนอาสนะสูง ผู้ประเคนไม่อาจนั่งประเคนได้ให้ถอดรองเท้าเสียก่อนแล้วยืนประเคนต
ามวิธีที่กล่าวแล้ว
5. ของที่ประเคนแล้วห้ามคฤหัสถ์แตะต้องอีก
เป็นเรื่องพระภิกษุท่านจะหยิบส่งกันเองหากไปแตะต้องเข้าโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม ของนั้นถือว่าขาดประเคน จะต้องประเคนใหม่
6. สิ่งของที่ไม่ใช่ของเคี้ยวของฉันเช่นกระโถนจานช้อน แก้วเปล่ากระดาษเป็นต้น ไม่นิยมประเคน
การถวายภัตตาหารแด่คณะสงฆ์อย่างถูกวิธี
สิ่งของที่ไม่สมควรประเคนถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ คือ เงินและวัตถุที่ใช้แทนเงิน เช่น
ธนบัตร ไม่สมควรประเคนพระภิกษุสงฆ์โดยตรงแต่นิยมใช้ใบปวารณาดังตัวอย่างแทนตัวเงินส่วนตัวเงินนิยมมอบไว้กับไวยาวัจกร
ของพระภิกษุสงฆ์รูปนั้น
ใบปวารณานี้นิยมใส่ซองร่วมถวายไปกับเครื่องไทยธรรมส่วนเงินค่าจตุปัจจัยนั้นมอบไปกับศิษย์หรือไวยาวัจกรของพระภิกษุสง
ฆ์นั้นๆ
สิ่งของที่ต้องห้ามและสิ่งของที่ประเคนได้สาหรับพระภิกษุสงฆ์
1. อาหารที่ไม่สมควรแก่สมณบริโภค ได้แก่ เนื้อ 10 ชนิด และอาหารที่ปรุงด้วยเนื้อ 10 ชนิด ดังนี้
๒๕
1. เนื้อมนุษย์รวมถึงเลือดมนุษย์ด้วย
2. เนื้อช้าง
3. เนื้อม้า
4. เนื้อสุนัข
5. เนื้องู
6. เนื้อราชสีห์
7. เนื้อเสือโคร่ง
8. เนื้อเสือเหลือง
9. เนื้อหมี
10. เนื้อเสือดาว
ส่วนเนื้อสัตว์นอกเหนือจากนี้ถ้าเป็นเนื้อที่ยังดิบอยู่ ยังไม่สุกด้วยความร้อนจากไฟ ทรงห้ามฉันถ้าสุกแล้วอนุญาตให้ฉันได้ และ
เนื้อสัตว์ที่ฆ่าเจาะจงทาถวายพระภิกษุสงฆ์สามเณร ถ้าพระภิกษุสงฆ์ไม่ได้เห็นการฆ่านั้น
ไม่ได้ยินมาก่อนว่าฆ่าเจาะจงไม่ได้สงสัยว่าเขาฆ่าเพื่อเป็นของเฉพาะเจาะจงแก่ตนก็ขบฉันได้ไม่มีโทษ
2. สิ่งของที่ประเคนพระภิกษุสงฆ์ได้ในเวลาก่อนเที่ยง
เครื่องไทยธรรมประเภทอาหารคาวหวานทุกชนิด ได้แก่
1. อาหารสดเช่นอาหารคาวหวานรวมทั้งผลไม้ทุกชนิด
2. อาหารแห้งเช่น ปลาเค็มเนื้อเค็มข้าวสารฯลฯ
3. อาหารเครื่องกระป๋ องทุกประเภทเช่นนม โอวัลตินปลากระป๋ อง
สิ่งของดังกล่าวนิยมถวายพระภิกษุสงฆ์ได้ในช่วงเวลาก่อนเที่ยงเท่านั้น ถ้าจะนาไปถวายหลังเที่ยงวันไปแล้ว นิยมเพียงแต่แจ้งใ
ห้พระภิกษุสงฆ์ทราบแล้วมอบสิ่งของดังกล่าวให้ลูกศิษย์ของท่านเก็บรักษาไว้ถวายท่านในวันต่อไป
3. สิ่งที่ประเคนได้ตลอดเวลา เครื่องดื่มทุกชนิด ประเภทเครื่องยาบาบัดป่วยไข้ หรือประเภทเภสัชที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติไว้
คือ เนยใสเนยข้นน้ามันน้าผึ้งน้าอ้อย
4. วัตถุอนามาส สิ่งของที่พระพุทธองค์ทรงห้ามพระภิกษุสงฆ์จับต้องเรียกว่า วัตถุอนามาส
ห้ามนามาประเคนถวายพระภิกษุสงฆ์ เพราะผิดวินัยบัญญัติได้แก่
1. ผู้หญิง ทั้งที่เป็นเด็กทารกแรกเกิดและผู้ใหญ่ รวมทั้งเครื่องแต่งกายรูปภาพรูปปั้นทุกชนิดของผู้หญิง
2. รัตนะ 10 ประการ คือ ทอง เงิน แก้วมุกดาแก้วมณี แก้วประพาฬทับทิมบุษราคัมสังข์เลี่ยมทองศิลาเช่นหยก และโมรา
ฯลฯ
3. เครื่องศัตราวุธทุกชนิด อันเป็นเครื่องทาลายชีวิต
4. เครื่องดักสัตว์ทุกชนิด
5. เครื่องดนตรีทุกชนิด
๒๖
6. ข้าวเปลือกและผลไม้อันเกิดอยู่กับที่
การกรวดน้าและการรับพรพระ
การกรวดน้าในงานบุญ เป็นการอุทิศแผ่ส่วนกุศลที่ตนบาเพ็ญแล้วนั้นส่งไปให้บุรพชนตลอดจนสรรพสัตว์ และตั้งจิตอธิษฐานเพื่
อความดีต่อไป หรืออธิษฐานในสิ่งประสงค์ที่ดีงามให้สาเร็จตามความปรารถนา
การกรวดน้าเพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลแก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว
การกรวดน้าคือ
การรินน้าหลั่งลงให้เป็นสาย อันเป็นเครื่องหมายแห่งสายน้าใจอันบริสุทธิ์ ตั้งใจอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลที่ตนได้ทามาในวันนั้นให้แก่ผู้
ล่วงลับไปแล้วถ้าผู้ล่วงลับเป็นผู้อาวุโสมากกว่าเช่นเป็นบิดามารดาปู่ ย่า ตายายเป็นพี่
เป็นครูอาจารย์ เป็นต้น ก็ชื่อว่าได้แสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อท่านเหล่านั้น
การรับพรพระคืออาการที่เจ้าภาพนอบน้อมทั้งกายและใจรับความปรารถนาดีที่พระภิกษุสงฆ์ตั้งกัลยาณจิตสวดประสิทธิ์ประ
สาทให้เจ้าภาพรอดพ้นจากอันตรายภัยพิบัติทั้งหลายและเจริญด้วยอายุวรรณะสุขะพละเป็นต้น
ก่อนจะทราบถึงวิธีปฎิบัติในการกรวดน้า เราลองมาศึกษาถึงประวัติความเป็นมาของการกรวดน้าก่อน การกรวดน้ามีมาตั้งแต่อ
ดีตกาลครั้งสมัยพระผู้มีพระภาคเจ้ายังทรงพระชนมชีพอยู่ ดังเรื่องราวที่ปรากฎในพระไตรปิฏกในอรรถกถามงคลสูตรว่า
ในอดีตกาลเมื่อครั้งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่าปุสส ทรงอุบัติขึ้น พระราชบุตร3
พระองค์ของพระเจ้าชัยเสนแห่งกาสิกนคร มีศรัทธาที่จะถวายภัตตาหารแด่พระปุสสพุทธเจ้า และพระภิกษุสงฆ์สาวกติดต่อกันหล
ายวัน จึงประทานทรัพย์เป็นค่าใช้จ่ายเป็นอันมาก และขอความร่วมมือจากพระประยูรญาติและข้าทาสบริวาณรับใช้ ทั้งเพื่อนบ้าน
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา

More Related Content

What's hot

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวdawnythipsuda
 
การอ้างอิงและการสืบค้น
การอ้างอิงและการสืบค้นการอ้างอิงและการสืบค้น
การอ้างอิงและการสืบค้นKrapom Jiraporn
 
ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2Ponpirun Homsuwan
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏCUPress
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการWatcharapol Wiboolyasarin
 
โวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีโวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีSaimai Jitlang
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการjustymew
 
รวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีรวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีHahah Cake
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 

What's hot (20)

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
การอ้างอิงและการสืบค้น
การอ้างอิงและการสืบค้นการอ้างอิงและการสืบค้น
การอ้างอิงและการสืบค้น
 
ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
โวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีโวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดี
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
รวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีรวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดี
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 

Similar to พระพุทธศาสนา

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาlinda471129101
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาprimpatcha
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาprimpatcha
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาprimpatcha
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...Prachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...Prachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4pageสไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชาวันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา25Sura
 
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4pageใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1pageใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1pageสไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
งานอุปสมบท(หน้าที่พลเมือง)
งานอุปสมบท(หน้าที่พลเมือง)งานอุปสมบท(หน้าที่พลเมือง)
งานอุปสมบท(หน้าที่พลเมือง)Ge Ne
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาTongsamut vorasan
 

Similar to พระพุทธศาสนา (20)

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
 
San
SanSan
San
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
 
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4pageสไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4page
 
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชาวันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
 
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4pageใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4page
 
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1pageใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1page
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
 
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1pageสไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
 
9789740328667
97897403286679789740328667
9789740328667
 
งานอุปสมบท(หน้าที่พลเมือง)
งานอุปสมบท(หน้าที่พลเมือง)งานอุปสมบท(หน้าที่พลเมือง)
งานอุปสมบท(หน้าที่พลเมือง)
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชา
 

More from sangkeetwittaya stourajini

ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาsangkeetwittaya stourajini
 
ประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้าประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้าsangkeetwittaya stourajini
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยsangkeetwittaya stourajini
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์sangkeetwittaya stourajini
 

More from sangkeetwittaya stourajini (20)

พระไตรปิฏก
พระไตรปิฏกพระไตรปิฏก
พระไตรปิฏก
 
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
 
ประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้าประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้า
 
ชาดก
ชาดกชาดก
ชาดก
 
ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำ
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
 
โขน
โขนโขน
โขน
 
Dance
DanceDance
Dance
 
Thai music2
Thai music2Thai music2
Thai music2
 
Thai music3
Thai music3Thai music3
Thai music3
 
Thai music4
Thai music4Thai music4
Thai music4
 
Thai music5
Thai music5Thai music5
Thai music5
 
Thai music6
Thai music6Thai music6
Thai music6
 
Thai music7
Thai music7Thai music7
Thai music7
 
Thai music8
Thai music8Thai music8
Thai music8
 
Thai music9
Thai music9Thai music9
Thai music9
 
Thai music10
Thai music10Thai music10
Thai music10
 
Thai music11
Thai music11Thai music11
Thai music11
 
Thai music12
Thai music12Thai music12
Thai music12
 

พระพุทธศาสนา

  • 1. ๑ พระพุทธศาสนา ศาสนพิธีทางพระพุทธศาสนาและหน้าที่ชาวพุทธ ศาสนาพิธีต่างๆ ทางพระพุทธศาสนา การตักบาตร จัดเป็นศาสนพิธีอย่างหนึ่ง ศาสนพิธี หมายถึง ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่ถือปฎิบัติในศาสนา เมื่อนามาใช้ในพระพุทธศาสนา จึงหมายถึง ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่พึงปฎิบัติในพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีต่างๆ ช่วยทาให้ความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนิกชนมีความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้นเป็นสิ่งตอกย้าใจให้ระลึกถึงคุณของพระรัตนต รัยได้อย่างดีเยี่ยม จึงเป็นระเบียบแบบแผนอันดีงามที่ควรรักษาไว้คู่กับพระพุทธศาสนาตลอดไป ศาสนพิธีเป็นพิธีกรรมทางศาสนาซึ่งถือปฏิบัติเป็นแบบอย่างเป็นธรรมเนียมสืบต่อกันมา เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงามเป็นแบบเดียวกัน เหตุให้เกิดศาสนพิธีนี้คือความนิยมทาบุญของพุทธศาสนิกชนซึ่งไม่ว่าจะปรารภเหตุอะไรทากัน ก็มักจะให้ตรงและครบตามหลักวิธีทาบุญในทางพระพุทธศาสนาซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแนะแนวไว้ 3หลักคือ 1. ทาน การบริจาควัตถุสิ่งของของตนเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น 2. ศีลการรักษากายวาจาให้สงบเรียบร้อย 3. ภาวนาการยกระดับจิตให้สูงขึ้นด้วยการอบรมให้สงบนิ่งและให้เกิดปัญญา ดังนั้นในการทาบุญทุกครั้งชาวพุทธจึงถือคติว่าต้องให้เข้าหลัก 3ประการนี้โดยเริ่มต้นจะทาข้อ
  • 2. ๒ ไหนก่อนก็ได้ เช่น รับศีลแล้วฟังพระเจริญพระพุทธมนต์(ภาวนา)จบลงด้วยการถวายทานเป็นต้น ความนิยมนี้ได้แพร่หลายทั่วไปจนกลายเป็นประเพณีทางศาสนาไปพิธีกรรมแบบนี้จึงสมมติเรียกกันต่อมาว่า “ศาสนพิธี” ศาสนาพิธีทางพระพุทธศาสนา ประโยชน์ของศาสนพิธี ถ้าเปรียบศาสนาเหมือนกับต้นไม้ ศาสนพิธีก็เปรียบได้กับเปลือกนอกของต้นไม้ ตัวสัจธรรมคือคาสอนที่เป็นหลักปฏิบัติทางศาสนาเปรียบได้กับแก่นไม้ทั้งเปลือกทั้งแก่นไม้ย่อมมีประโยชน์ต่อต้นไม้เท่าๆกัน หากมีแต่แก่นไม่มีเปลือกห่อหุ้มต้นไม้นั้นก็จะอยู่ไม่ได้ หรือมีแต่เปลือกอย่างเดียวแก่นไม่มี หรือแก่นมีแต่เล็กเรียวเกินไปเพราะเปลือกหนามากต้นไม้นั้นก็ให้ประโยชน์น้อยดังนั้น ต้นไม้จึงต้องมีทั้งแก่นและเปลือกเพื่ออาศัยซึ่งกันและกันหากถึงคราวจะใช้ทาประโยชน์จริงๆค่อยกะเทาะเปลือกนอกออก นาเฉพาะแก่นเท่านั้นไปใช้ จึงจะได้รับประโยชน์จากต้นไม้นั้นอย่างแท้จริง ศาสนาก็มีลักษณะเช่นนี้พิธีกรรมต่างๆ ซึ่งเรียกในที่นี้ว่าศาสนพิธีนั้นเป็นเพียงองค์ประกอบภายนอกที่ห่อหุ้มแก่นศาสนาคือตัวสัจธรรมไว้ หากจะเลือกใช้เลือกสอนกันแต่แก่นๆแล้วคงเป็นไปและเข้าใจได้ยาก จาต้องเริ่มต้นจากเปลือกกระพี้ไปก่อนเพราะความนิยมของคนและพื้นฐานความรู้ของคนไม่เหมือนกันและไม่เท่ากัน แต่พิธีกรรมนั้นต้องเป็นไปพอเหมาะพอควรไม่มากไม่น้อยเกินไปหากพิธีกรรมมีมากเกินไปแก่นธรรมก็จะเล็กเรียวลงเหมือนต้นไม้ ถ้ามีเปลือกกระพี้หนามากแก่นของต้นไม้นั้นมักจะเล็กเรียวมากพิธีกรรมนั้นจะต้องเป็นพิธีกรรมที่ดีด้วย เพราะพิธีกรรมที่ดีจะส่อให้เห็นว่าแก่นธรรมนั้นดีเปรียบเหมือนต้นไม้ที่มีเปลือกดีส่อให้เห็นว่าแก่นข้างในย่อมดี
  • 3. ๓ หรือผลไม้ที่มีเปลือกนอกดีก็ส่อให้เห็นว่าเนื้อข้างในจะไม่เน่าไม่เสียด้วยตรงข้ามหากเปลือกนอกมีจุดด่างดาหรือมีรอยเน่า ก็ส่อให้เห็นว่าเนื้อข้างในยังวางใจไม่ได้ ดังนั้น ศาสนพิธีจึงต้องคงคู่ไว้กับแก่นธรรมแต่การประกอบศาสนพิธีอย่าติดเพียงแค่พิธีกรรมเท่านั้น ทั้งไม่ควรคิดว่าพิธีกรรมต่างๆที่ทากันอยู่นั้นเป็นตัวแท้เป็นแก่นศาสนา ความจริงพิธีกรรมเป็นเพียงส่วนประกอบภายนอกเพื่อเป็นทางผ่านให้เข้าถึงแก่นธรรมหรือตัวแท้แห่งศาสนาเท่านั้นรวมความแล้ว ศาสนพิธีมีประโยชน์2อย่างคือ 1. รักษาความเป็นเอกลักษณ์ของชาติคือพิธีกรรมทางศาสนานั้นมีแบบแผนเป็นของตัวเองโดยเฉพาะจึงเป็นจุดเด่นอย่างหนึ่ งในแบบวัฒนธรรมของชาติอาจเชิดชูเอกลักษณ์ของชาติไว้ได้ด้วยแบบอย่างนั้นเพราะเป็นเอกลักษณ์ของตัวเองโดยเฉพาะ นับว่าเป็นเครื่องเชิดหน้าชูตาของชาติได้ทางหนึ่งที่พอจะอวดผู้อื่นได้ว่าชาติเรานั้นได้สะสมระเบียบประเพณีอันดีงามมานานแสนนา นแล้วซึ่งแสดงถึงว่าเรามีวัฒนธรรมมานานแสนนานแล้วนั่นเอง 2. ส่งเสริมคุณค่าทางด้านจิตใจคือทาให้ผู้ประกอบพิธีกรรมนั้นๆเบิกบานใจ เกิดความปีติสดชื่นขึ้นเพราะได้ประกอบพิธีกรรมนั้นแล้วเป็นการเตรียมใจไว้รองรับบุญกุศลหรือความดีอื่นๆต่อไป และเป็นเหตุจูงใจให้ผู้พบเห็นปรารถนาจะทาตามอย่างบ้าง ตัวอย่างในการส่งเสริมคุณค่าทางด้านจิตใจของศาสนพิธีเช่นเมื่อต้องการจะทาบุญเลี้ยงพระที่บ้านแบบแรกตัดพิธีกรรมออกหมด คือเมื่อพระมาถึงบ้านก็นาอาหารคาวหวานมาถวายท่านเลยเมื่อพระท่านฉันเสร็จแล้วก็อาลากลับวัดเลยเช่นกัน นี่แบบตัดพิธีกรรมออกอีกแบบหนึ่งเป็นแบบทาตามพิธีกรรมคือ เมื่อพระมาถึงแล้วเจ้าของบ้านจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยได้กราบพระได้รับศีลได้ฟังพระเจริญพระพุทธมนต์ ได้ถวายทานด้วยมือตนเองพระท่านฉันเสร็จแล้วก็ได้รับพรจากพระได้กรวดน้าได้รับประพรมน้าพระพุทธมนต์ตามลาดับ ในสองแบบนี้แบบแรกไม่มีพิธีกรรมแบบหลังมีพิธีกรรมเพิ่มขึ้นตามความนิยม แบบไหนจะเป็นเหตุให้ผู้เป็นเจ้าภาพหรือผู้กระทาประทับใจและเกิดความแช่มชื่นเป็นสุขใจมากกว่ากัน
  • 4. ๔ การถวายภัตตาหารแก่คณะสงฆ์เป็นศาสนพิธีทางพระพุทธศาสนาอย่างหนึ่งอย่างหนึ่ง ผลจากการเรียนรู้ศาสนพิธี ผู้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องศาสนพิธีดีแล้วย่อมเป็นผู้ฉลาดในการจัดทาพิธีกรรมต่างๆในทางศาสนา เป็นผู้สามารถในการประกอบพิธีกรรมนั้นๆได้ถูกต้องตามแบบแผนที่นิยมกันทั่วไป เป็นเหตุให้ผู้ได้พบเห็นเกิดศรัทธาในผู้นั้นว่าเป็นผู้ช่าชองได้รับการฝึกฝนอบรมมาดีแล้ว ไม่มีความเคอะเขินในการจัดทาเป็นการเพิ่มเสน่ห์และบุคลิกภาพให้แก่ตัวเองอย่างหนึ่ง และนอกจากนั้นยังได้ชื่อว่าช่วยสืบต่ออายุพระศาสนาโดยปริยายด้วยเพราะแบบอย่างหรือธรรมเนียมที่ดีงามมีเหตุมีผลเป็นพิธีกรรม นั้นๆเมื่อยังรักษากันไว้ได้เพียงใดตัวศาสนาก็ยังชื่อว่าได้รับการรักษาอยู่เพียงนั้น เหมือนเปลือกกระพี้ของต้นไม้ยังคงสดอยู่ตราบใดต้นไม้นั้นก็จะยังมีชีวิตอยู่ตราบนั้น การประกอบศาสนพิธี ดังกล่าวมาแล้วว่าพิธีกรรมนั้นเป็นเพียงส่วนประกอบไม่ใช่ตัวหลักการศาสนา เวลาจะประกอบพิธีกรรมจึงควรยึดถือเฉพาะที่เป็นหลักศาสนพิธีคือให้เข้าหลักการทาบุญทางศาสนา ๓ประการข้างต้นนั้นเท่านั้น ตัดพิธีกรรมส่วนเกินซึ่งเป็นเหตุฟุ่มเฟือยเป็นสิ่งที่ทาต่อกันมาโดยไม่ทราบเหตุผลออกเสีย นอกจากต้องคานึงถึงหลักศาสนพิธีแล้วต้องคานึงถึงหลักเศรษฐกิจและหลักสังคมด้วย สรุปแล้ว การประกอบพิธีกรรมทุกประเภทควรคานึงถึงหลักอย่างน้อย 4 ประการ คือ 1. ต้องประหยัดคือใช้จ่ายเฉพาะในสิ่งที่จาเป็นไม่ฟุ่มเฟือยไม่ทาแบบตาน้าพริกละลายแม่น้า ตัดสิ่งที่ไม่เกิดบุญไม่เกิดกุศลออกเสียยิ่งสิ่งที่เป็นอบายมุขต่างๆด้วยแล้วไม่ควรจัดให้มีขึ้นในพิธีกรรมเป็นเด็ดขาด เพราะนอกจากจะไม่เป็นบุญเป็นกุศลแล้ว ยังจะพลอยเป็นบาปเป็นกรรมไปเสียอีกด้วย
  • 5. ๕ 2. ต้องให้ได้ประโยชน์และคุ้มค่า คือสิ่งที่ทาที่ลงทุนไปนั้นต้องให้ได้ให้เป็นประโยชน์ต่อตัวเองหรือผู้อื่นที่เราต้องการให้ได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง ทาแล้วให้มีกาไรมากกว่าขาดทุนหรือให้เป็นกาไรทั้งหมดคือให้เป็นบุญมากกว่าเป็นบาปหรือให้เป็นบุญล้วนๆไม่มีบาปเข้ามาปน 3. ต้องถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมคือทาให้ถูกหลักเกณฑ์แห่งการทาบุญนั้นๆ ตัดพิธีกรรมส่วนเกินออกเสียแต่เมื่อตัดแล้วต้องไม่เสียแบบแผนที่ดีงามที่มีเหตุมีผลต้นปลายซึ่งนิยมกันมา ทั้งนี้มิใช่ว่าต้องทาตามอย่างที่เขาทามาทั้งหมดเสมอไป เพราะพิธีกรรมที่ทาตามอย่างกันมานั้นมักจะเป็นพิธีกรรมส่วนเกินเสียเป็นส่วนใหญ่ บางทีก็ทากันไปโดยไม่รู้ว่าทากันไปทาไมก็มี เห็นเขาทาก็ทาตามเขาบ้างหรือทาไปด้วยความจาใจถ้าไม่ทาก็กลัวว่าเขาจะตาหนิหรือติฉินเอาก็มี 4. ต้องให้เหมาะสมคือเวลาทาต้องดูฐานะความเป็นอยู่ดูกาลังของตัวก่อนว่าควรทาได้เพียงไรแค่ไหนมีแค่ไหนก็ควรทาแค่นั้น ไม่จาเป็นต้องทาให้เท่าเขาหรือให้เหมือนเขาเสมอไปอย่าถึงกับต้องไปกู้หนี้ยืมสินเขามาทา เพราะจะทาให้เดือดร้อนในภายหลังได้การประกอบพิธีกรรมที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ย่อมได้ผลไม่น้อยและทาได้ไม่ยากนัก เป็นทางบุญแน่แท้ ทาแล้วย่อมได้บุญสมประสงค์ แต่ถ้าประกอบไม่ถูกต้องหรือประกอบโดยไม่เข้าใจอาจจะไม่ได้ผลบุญเท่าที่ควรจะได้ ทั้งยังจะขาดทุนเสียด้วยซ้าไป ศาสนพิธีมี4 หมวดใหญ่ ในพระพุทธศาสนาแบ่งศาสนพิธีออกเป็น 4 หมวดใหญ่ๆ ดังนี้ 1. กุศลพิธี เป็นพิธีเกี่ยวกับการอบรมความดีงามทางพระพุทธศาสนาเฉพาะบุคคลเช่น การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การเวียนเทียนในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา และการรักษาศีลประเภทต่างๆเป็นต้น 2. บุญพิธี เป็นพิธีทาบุญเนื่องด้วยประเพณีในครอบครัวซึ่งเป็นประเพณีที่เกี่ยวกับการดาเนินชีวิตของคนทั่วไปมี2ประเภท คือ 2.1 พิธีทาบุญในงานมงคล ได้แก่การทาบุญในโอกาสต่างๆ 2.2 พิธีทาบุญในงานอวมงคล เช่นบุญหน้าศพเป็นต้น 3. ทานพิธี เป็นพิธีถวายทานต่างๆเช่นการถวายทานเครื่องนุ่งห่มยารักษาโรค เป็นต้น 4. ปกิณกะพิธี เป็นพิธีเบ็ดเตล็ด ได้แก่ การอาราธนาศีลการประเคนของพระเป็นต้น ในบทนี้จะนามาเฉพาะพิธีที่สาคัญๆ อันเกี่ยวกับชีวิตประจาวันของชาวพุทธเสมอๆ ดังต่อไปนี้
  • 6. ๖ พิธีการตักบาตรเป็นหนึ่งในศาสนพิธีของชาวพุทธ ศาสนพิธีของศาสนาพุทธ พิธีตักบาตร คือการนาข้าวและอาหารคาวหวานใส่บาตรพระภิกษุสงฆ์หรือสามเณร โดยอาจทาเป็นประจาวันในท้องถิ่นชุมชนที่มีพระภิกษุส งฆ์และสามเณรออกบิณฑบาตจะทาในวันเกิดของตนหรือวันสาคัญทางศาสนารวามทั้งวันพระ 8ค่าและ14,15 ค่า เป็นต้น เบื้องต้นของการตักบาตร ต้องเตรียมใจให้ผ่องใสเป็นกุศล เปี่ยมด้วยความเต็มใจ บุญจะได้บังเกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มคิด ขณะทาก็ไม่ นึกเสียดาย ให้มีใจเป็นสุข หลังจากให้ไปแล้วก็ปลื้มปิติยินดีในทานนั้นไม่นึกเสียดายในภายหลัง บุญกุศลจึงจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อ ง ในการเตรียมของตักบาตร เช่น ข้าวสารอาหารแห้งหรือคาวหวาน ถ้าของสดพึงระวังอย่าให้ข้าวและอาหารนั้นๆ ร้อนหรือเย็นจน เกินไป เพราะอาจทาให้เกิดความลาบากแก่พระภิกษุหรือสามเณร ที่ต้องอุ้มบาตรต่อไปในระยะทางไกล ของที่ใส่บาตรนั้นนิยมปฏิ บัติธรรมเนียมว่าให้ยกขึ้นจบ (ยกขึ้นสูงระดับหน้าผาก ด้วยท่าประนมมือโดยอนุโลม) แล้วนิมนต์พระภิกษุสงฆ์หรือสามเณรว่า นิมนต์ครับ หรือนิมนต์ค่ะ เมื่อท่ านเดินผ่านมาในระยะใกล้แล้วใส่บของลงบาตร กล่าวคาถวายทานว่า สุทินนัง วะตะ เม ทานัง อาสะวักขะยาวะหัง โหตุฯ แปลว่า ทานที่ข้าพเจ้าให้แล้วด้วยดีหนอ จงเป็นเครื่องกาจัดอาสวกิเลส ออกไปจากใจของข้าพเจ้าด้วยเถิด เมื่อใส่บาตรเสร็จแล้วนิยมทาการกรวดน้าเพื่ออุทิศส่วนกุศลผลบุญแก่ผู้อื่นอันเป็นที่รักด้วย ช่วยทาให้เกิดความอิ่มเอิบใจ เป็นสุ ขแก่ผู้ปฎิบัติ คำถวำยสังฆทำน พิธีกำรถวำยสังฆทำน
  • 7. ๗ การถวายสังฆทานเป็นการถวายที่มิได้เจาะจงแก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง คำถวำยสังฆทำน พิธีถวำยสังฆทำน คือ การถวายทานวัตถุที่ควรเป็นทานแก่สงฆ์ มิได้เจาะจงแก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง หากเจาะจงเฉพาะรูป เรีย กว่า ปาฎิบุคลิกทาน ไม่ต้องมีพิธีกรรมอะไรในการถวาย ส่วนสังฆทานนั้นเป็นการถวายกลางๆ ให้สงฆ์เฉลี่ยกันใช้สอย จึงมีพิ ธีกรรมเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย โดยเฉพาะการถวายทานและการอนุโมทนาของสงฆ์ สังฆทำนมีแบบแผนมาตั้งแต่ครั้งสมัยพุทธกาล ผู้รับจะเป็นพระภิกษุหรือสามเณร หรือพระสังฆเถระหรือพระอันดับชนิดไรๆ เมื่อสงฆ์จัดไปให้ ผู้ถวายต้องตั้งใจต่ออริยสงฆ์ คือ อุทิศถวายเป็นสงฆ์จริงๆ ผู้รัรรับในนามของสงฆ์เป็นส่วนรวม จึงเป็นการ ถวายสังฆทานด้วยใจที่เป็นกุศล อิ่มเอิบเบิกบานในการถวายทาน วัตถุที่ถวายจะมากหรือน้อยอย่างไรตามแต่สมควร ประกอบด้วย ภัตตาหารและบริวาณของใช้ที่เหมาะสมแก่สมณบริโภค ถวายกี่รูปก็ได้แล้วแต่ศรัทธา จะถวายที่วัดหรือสถานที่อื่นๆ เช่น ที่บ้ านหรือสถานที่ประกอบพิธีก็ได้ พิธีถวำยสังฆทำนเริ่มด้วยกำรจุดเทียนธูปบูชำพระรัตนตรัย พิธีกำรถวำยสังฆทำน
  • 8. ๘ พิธีการถวายสังฆทานนั้น เริ่มด้วยการจุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัย (ถ้ามี) แล้วอาราธนาศีล และสมาทานศีล จากนั้นผู้ถวายทานประนมมือ ตั้งนะโม 3 จบ กล่าวคาถวายสังฆทาน เสร็จแล้วประเคนทานวัตถุแด่พระภิกษุสงฆ์ หลังจากประเคนถวายพระภิกษุสงฆ์แล้ว เมื่อพระสงฆ์ผู้นาสวดอนุโมทนาด้วยบท ”ยะถา วาริวหา...” ผู้ถวายทานเริ่มกรวดน้า ถึงบทที่พระสงฆ์ผู้นาสวดถึง “มณีโชติรโส ยะถา” ก็ให้หยุดการกรวดน้า แล้วประนมมือรับพรพระต่อไปจนจบ (การกรวดน้าจะได้กล่าวรายละเอียดในหัวข้อถัดไป) พิธีถวำยสังฆทำนกระทำหลังจำกประธำนจุดเทียนธูปแล้วจะทำกำรอำรำธนำศีล สมำทำนศีล กำรอำรำธนำศีลและสมำทำนศีล เบื้องต้นของการบาเพ็ญกุศลของพุทธศาสนิกชน ต้องมีพิธีรับสมณคมน์และศีลก่อนจากนั้นจึงอาราธนาพระปริตร ถ้าบาเพ็ญเ กี่ยวกับเทศน์จึงจะอาราธนาธรรม การที่ขอเบญจศีลก่อนเสมอไปทุกพิธีนั้น เพื่อชาระจิตให้บริสุทธิ์ ให้เป็นผู้มีศีลสมควรแก่การรองรับพระธรรม สรณคมน์ หมายความว่า ขอถึงพระพุทธ ขอถึงพระธรรม ขอถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่งก่อนอาราธนาควรกราบพระพุทธรูปที่โต๊ะหมู่บูชาและบูช าพระก่อนแล้วจึงกล่าวคาอาราธนาตามด้วยการสมาทานศีล วิธีการอาราธนานั้น บางแห่งให้ผู้กล่าวอาราธนาแต่ผู้เดียว บางแห่งอาราธนาพร้อมกันทั้งหมด คำอำรำธนำเบญศีลหรือศีล 5
  • 9. ๙ (คากล่าวก่อน) บัณฑิตทั้งหลายกล่าวว่า ศีลเป็นเบื้องต้น เป็นที่ตั้ง เป็นบ่อเกิดแห่งคุณความดีทั้งหลาย และเป็นประธานแ ห่งธรรมทั้งปวง บุคคลใดชาระศีลให้บริสุทธิ์แล้ว จะเป็นเหตุให้เว้นจากความทุจริต จิตจะร่าเริงแจ่มใส และเป็นท่าหยั่งลงมหาส มุทร คือ นิพพาน ดังนั้น ขอเรียนเชิญทุกท่าน พึงตั้งใจกล่าวคาอาราธนาศีล 5 โดยพร้อมเพรียงกัน(นะครับหรือนะค่ะ) มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ, ติสะระเณนะสะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ, ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ, ติสะระเณนะสะหะ,ปัญจะสีลานิ ยาจามะ, ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ, ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะสีลานิ ยาจามะ, คำถวำยสังฆทำน กำรถวำยสังฆทำนผู้ให้เครื่องบริโภคนั้นได้ชื่อว่ำให้ฐำนะห้ำประกำรแก่ปฎิคำหก คำถวำยสังฆทำน (บทกล่าวนา) พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า สัปบุรุษย่อมให้ทานเช่นข้าวและน้าที่สะอาดประณีตตามกาลสมควรอยู่เป็นนิตย์ แ ก่ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ซึ่งเป็นบุญเขตอันเยี่ยม สาหรับผู้ให้เครื่องบริโภคนั้นได้ชื่อว่าให้ฐานะห้าประการแก่ปฎิคาหก ดังต่อไป นี้คือ ให้อายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฎิภาณ ผู้ให้ย่อมได้รับฐานะห้าประการนั้นด้วย ท่านสาธุชนทั้งหลาย บุญเท่านั้นที่เ ป็นที่พึ่งของพวกเราทั้งหลาย ดังนั้นขอเรียนเชิญทุกท่านพึงตั้งใจ กล่าวคาถวายภัตตาหารเป็นสังฆทานโดยพร้อมเพรียงกัน (นะครับหรือนะค่ะ) คำถวำยสังฆทำนเป็นภำษำบำลีและคำแปล (กล่าวนา-หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการังกะโรมะเส.)
  • 10. ๑๐ อิมานิ มะยัง ภันเต, ภัตตานิ, สะปะริวารานิ,ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ,สาธุ โนภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ, ภัตตานิ, สะปะริวารานิ,ปะฎิคคัณหาตุ,อัมหากัง , ฑีฆะรัตตัง,หิตายะ,สุขายะ,นิพพานายะ จะฯ คำแปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย,ขอน้อมถวาย,ภัตตาหาร,พร้อมด้วยบริ วารทั้งหลายเหล่านี้, แด่พระภิกษุสงฆ์,ขอพระภิกษุสงฆ์,จงรับ,ภัตตาหาร,พร้อมด้วยบริวารทั้งหลายเหล่านี้,ของข้าพเจ้าทั้งหลาย,เพื่อประโยชน์, เพื่อความสุข, เพื่อมรรคผลนิพพาน, แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย,ตลอดกาลนานเทอญ. คำกล่ำวถวำยเครื่องไทยธรรม อิมานิ มะยัง ภันเต, จะตุปัจจะยาทีนิ, สะปะริวารานิ,ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ,สาธุ โนภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ, จะตุปัจจะยาทีนิ,สะปะริวารานิ, ปะฎิคคัณหาตุ,อัมหากัง, ฑีฆะรัตตัง,หิตายะ,สุขายะ, นิพพานายะ จะฯ คำแปล ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย,ขอน้อมถวาย, เครื่องไทยธรรม,มีปัจจัยสี่เป็นต้น,พร้อมด้วยบริวารทั้งหลายเหล่านี้, แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์, จงรับ, เครื่องไทยธรรม, มีปัจจัยสี่เป็นต้น,พร้อมด้วยบริวารทั้งหลายเหล่านี้, ของข้าพเจ้าทั้งหลาย,เพื่อประโยชน์, เพื่อความสุข, เพื่อมรรคผลนิพพาน, แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ตลอดกาลนานเทอญ. นอกจากนี้ยังมีบทสวดสาคัญที่ควรรู้และจดจา เพราะเป็นบทที่ต้องใช้สาหรับอาราธนาก่อนพระภิกษุสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ คือ บทอาราธนาพระปริตรและบทอาราธนาธรรม ซึ่งใช้อาราธนาก่อนพระภิกษุสงฆ์แสดงธรรมหรือสวดอภิธรรม คำอำรำธนำพระปริตร วิปัตติปะฎิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สัพพะทุกขะวินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคลัง
  • 11. ๑๑ วิปัตติปะฎิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สัพพะภะยะวินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคลัง วิปัตติปะฎิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สัพพะโรคะวินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคลัง คำอำรำธนำธรรม พรัหมา จะ โลกาธิปะติ สะหัมปะติ กัตอัญชะลี อันธิวะรัง อะยาจะถะ สันตีธะ สัตตาปปะระชักขะชาติกา เทเสตุ ธัมมัง อะนุกัมปิ มังปะชังฯ
  • 12. ๑๒ พิธีกรรมในงานมงคล พิธีกรรมในงำนมงคล ขั้นตอนพิธีกรรมเนื่องในงำนมงคล งานมงคล ได้แก่ การทาบุญ เพื่อความสุขความเจริญ โดยปรารภเหตุดี เช่น ทาบุญวันเกิด ทาบุญฉลองอายุครบ ทาบุญขึ้น บ้านใหม่ ทาบุญเนื่องในงานมงคลสมรส ทาบุญฉลองเกียรติยศ เหล่านี้เป็นต้น ในงานมงคลมีวิธีปฎิบัติดังนี้ 1. อาราธนาพระสงฆ์ เมื่อกาหนดวันงานที่แน่นอนแล้ว ไปอาราธนาพระตามจานวนที่ต้องการก่อนถึงวันงานอย่างน้อย 3ถึง7 วัน การอาราธนานั้น ถ้าสามารถเขียนหรือพิมพ์เป็นฎีกานิมนต์ได้ เป็นการดีที่สุด โดยบอกกาหนด วันเดือน ปี เวลา และงานให้ละเอียด 2. จานวนพระที่นิมนต์ ตามปกติจานวนนี้คือ5 รูป 7 รูป9 รูป แต่ส่วนมากนิยมนิมนต์9รูป ถือกันว่าเลข9 เป็นเลขมงคลขลังดี งานนั้นจะได้เจริญก้าวหน้ายิ่งๆขึ้นไป ถ้าเป็นงานมงคลสมรสนิยมนิมนต์จานวนคู่คือ6รูป8 รูป 10 รูป ส่วนมากงานมงคลสมรสนิยม8รูป ถ้าเป็นพระราชพิธีนิยม10รูป เป็นอย่างน้อย
  • 13. ๑๓ งานบุญพิธี ณ วัดพระธรรมกาย 3. ตั้งโต๊ะหมู่บูชา นิยมจัดไว้ทางด้านขวามือของพระสงฆ์ โดยให้พระพุทธผินพระพักตร์ไปด้านเดียวกับพระสงฆ์ ถ้าสถานที่อานว ยให้ผินพระพุทธรูปไปทางด้านทิศตะวันออก หรือทิศเหนือ ได้ยิ่งดี ถ้าสถานที่ไม่พอก็ให้จัดตามความเหมาะสมกับสถานที่ พระพุ ทธรูปที่จะนามาตั้งโต๊ะบูชานั้นไม่ให้มีครอบหรือขนาดเล็กจนเกินไป หรือใหญ่จนเกินไป โต๊ะหมู่บูชาขนาดใหญ่ หรือเล็ก ก็ให้จัดพร ะบูชาเหมาะสมตามส่วน มีแจกันดอกไม้ พานดอกไม้จัด3 พาน หรือ5 พาน แจกันจะใช้ 1-2 คู่ก็ได้ แล้วแต่ขนาดของโต๊ะ กระถางธูปให้ปักไว้ 3ดอก เชิงเทียน1 คู่ พร้อมเทียน 4. ขันน้ามนต์ จะใช้ขัน หรือบาตรหม้อน้ามนต์มีเชิงก็ได้ ใส่น้าสะอาดพอควร มีเทียนน้ามนต์ควรเป็นเทียนขี้ผึ้งอย่างดี1-2 เล่ม ใบเงินทองอย่างละ5 ใบ มัดหญ้าคาหรือก้านมะยมสาหรับประพรมน้าพระพุทธมนต์ 1มัด ถ้าใช้ใบมะยมใช้ก้านสด9 ก้าน ถ้ามีการเจิม ก็เตรียมแป้งกระแจะ ใส่น้าหอมในผอบเจิมด้วย ถ้ามีการปิดทองด้วย ก็เตรียมทองคาเปลว ไว้ตามต้องการวาง ใส่พาน ตั้งไว้ข้างบาตรน้ามนต์ 5. ด้ายสายสิญจน์ ใช้ด้ายดิบจับ9 เส้น 1 ม้วน โยงรอบบ้านหรือบริเวณพิธี เวียนจากซ้ายไปขวา โยงเข้าหาพระประธานที่โต๊ะหมู่บูชา เวียนซ้ายไปขวาเช่นเดียวกัน ไม่ควรเอาพัน ไว้ที่องค์พระประธานควรเวียนรอบฐานพระโยงมาที่ขันหรือบาตรน้ามนต์เวียนขวา แล้วนาด้ายสายสิญจน์วางไว้บนพานรองตั้งไว้ข้า งโต๊ะบูชาใกล้กับพระเถระองค์ประธานในสงฆ์ เรื่องด้ายสายสิญจน์นี้มีข้อควรระวังเป็นพิเศษคือ ห้ามข้ามกรายเป็นเด็ดขาด แม้ที่สุด จะหยิบของข้าม หรือบ้วนน้าลาย ก็ไม่ควรข้ามด้ายสายสิญจน์อย่างยิ่ง เพราะนอกจากเป็นการแสดงความไม่เคารพในพระสัมมาสั มพุทธเจ้า หรือถ้าเป็นงานศพก็ไม่เป็นการเคารพในผู้ตาย และยังเป็นผู้ที่ถูกติเตียนด้วย หากมีความจาเป็นจริงๆ ก็ควรสอดมือไปท างใต้สายสิญจน์
  • 14. ๑๔ วิธีการปูอาสนะสงฆ์ 6. การปูอาสนะสาหรับสงฆ์ ควรใช้เสื่อหรือพรมปูเสียชั้นหนึ่งก่อน นิยมใช้กัน2 วิธี คือยกพื้นอาสนะสงฆ์ให้สูงขึ้น โดยใช้เตียงหรือแคร่ม้ายาววางต่อกันให้พอจานวนแก่สงฆ์ และอีกวิธีหนึ่งปูลาดอาสนะบนพื้นธร รมดา อาสนะสงฆ์นิยมใช้ผ้าขาวปูลาด จะมีผ้านิสีทนะ ปูอีกชั้นหนึ่งหรือไม่ก็ได้โดยอาสน์สงฆ์ยกพื้นนี้ มักจัดในสถานที่ที่ฝ่ายเจ้าภ าพนั่งเก้าอี้กัน ส่วนอาสนะชนิดที่ปูลาดบนพื้นธรรมดาจะใช้เสื่อหรือพรมผ้าที่สมควรก็สุดแท้แต่ที่จะหาได้ ข้อสาคัญควรระวัง อย่าให้อาสนะพระสงฆ์หรืออาสนะของคฤหัสถ์ฝ่ายเจ้าภาพเป็นอันเดียวกัน ควรปูลาดให้แยกจากัน ถ้า จาเป็นแยกกันไม่ได้ เพราะปูเสื่อหรือพรมไว้เต็มห้อง เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วสาหรับอาสนะสงฆ์ ควรปูทับด้วยเสื่อหรือพรมอีกชั้นหนึ่งจึง จะเหมาะสม โดยใช้ผ้าขาวหรือผ้าสีทนะก็ได้ ปูเรียงรูปเป็นระยะให้ห่างกันพอสมควร อย่าให้ชิดกันเกินไป มีหมอนอิงข้างหลังเรียงเ ท่าจานวนที่นิมนต์มาในงานนั้นๆ 7. เครื่องรับรองพระภิกษุสงฆ์ ประกอบด้วย กระโถน ภาชนะน้าเย็น วางไว้ทางด้านขวามือของพระภิกษุสงฆ์เป็นรายรูป ถ้าขอ งมีจากัดจะวาง2รูปต่อ 1 ที่ก็ได้ วางเรียงจากด้านในมาหาข้างนอกตามลาดับ คือกระโถนไว้ในที่สุด ถัดมาภาชนะน้าเย็น ส่วนน้าชาและเครื่องดื่ม เมื่อพระ ภิกษุสงฆ์เข้านั่งเรียบร้อยแล้ว ค่อยถวายก็ได้ 8. ล้างเท้า – เช็ดเท้าพระภิกษุสงฆ์ เมื่อพระภิกษุสงฆ์เข้าประจาที่เรียบร้อยแล้ว พึงเข้าประเคนของรับรองที่เตรียมไว้แล้ว คือภาชนะน้าเย็น ป ระเคนของที่อยู่ด้านในก่อน ตามด้วยน้าชาหรือน้าหวานต่างๆ ถวายทีละรูปจนครบ 9. ประเคนเครื่องรับรองแด่พระภิกษุสงฆ์ เมื่อพระภิกษุสงฆ์เข้าประจาที่เรียบร้อยแล้ว พึงเข้าประเคนของรับรองที่เตรียมไว้แล้ว คือภาชนะน้าเย็น ประเคนของที่อยู่ด้านในก่อน ตามด้วยน้าชาหรือน้าหวานต่างๆ ถวายทีละรูปจนครบ
  • 15. ๑๕ การจุดเทียนธูปให้จุดเทียนด้านซ้ายก่อนแล้วจึงจุดเล่มขวา 10.จุดเทียนธูปและเครื่องสักการะ เมื่อได้เวลาแล้วเจ้าภาพเริ่มต้นจุดเทียน ธูปที่โต๊ะบูชาด้วยตัวเอง ไม่ควรให้คนอื่นจุดแทน ให้ถือว่าเราทาเพื่อสิริมงคลของผู้ทาของเจ้าของงานนั้นๆ และควรจุดเทียนเล่มที่อยู่ทางซ้ายมือของเราก่อน แล้วจึงจุดเทียนเล่มขวา มือ เทียนไม่ควรให้เล่มเล็กเกินไป เสร็จแล้วจุดธูป ธูปควรปักไว้ในกระถางธูป ให้ตั้งตรง ถ้าเป็นงานมงคลสมรสคู่บ่าวสาวจุดเทียน กันคนละเล่ม ธูปคนละ3 ดอก ผู้หญิงให้นั่งทางซ้าย ผู้ชายนั่งทางขวา แล้วกราบลงพร้อมกัน3 ครั้ง ประเคนด้ายสายสิญจน์แก่พระเถระผู้เป็นประธานสงฆ์ในพิธี 11.อาราธนาศีล ถ้าเจ้าภาพสามารถอาราธนาศีลได้ด้วยตนเองยิ่งดี ถ้าอาสนะสงฆ์สูง ยืนอาราธนาก็ได้ ถ้าพระภิกษุสงฆ์นั่งกับ พื้น ควรคุกเข้าประนมมืออาราธนา จบแล้วพึงตั้งใจรับศีลด้วยการเปล่งวาจาตามไป การเปล่งวาจานี้ควรให้พระเถระผู้ให้ศีลได้ยิน ด้วย ไม่ใช่รับศีลในใจ เมื่อท่านให้ศีลจบพึงรับด้วยคาว่า “อามะภันเต” หรือว่า “สาธุ ภันเต” 12. อาราธนาพระปริตร เมื่อรับศีลจบแล้ว พึงกราบลง3ครั้ง หรือยืนไหว้แล้วแต่กรณี อาราธนาพระปริตรต่อไป
  • 16. ๑๖ 13. จุดเทียนน้ามนต์ เมื่อพระภิกษุสงฆ์สวดมนต์ถึงบทมงคลสูตร ขึ้นบทว่า “อะเสวะนา จะพาลานัง” ให้เจ้าภาพจุดเทียนน้ามนต์ติดกับบาตรหรือขันน้ามนต์ ยกขันน้ามนต์ถวายแด่ประธานสงฆ์ เหตุที่จุดเที ยนน้ามนต์ตอนนี้เพราะเทียนน้ามนต์ใช้แทนเทียนมงคลจึงต้องจุด เมื่อพระท่านสวดถึงบทมงคลสูตร ก็เพื่อให้เป็นสิริมงคลในงานนั้ น 14.ถวายสารับบูชาพระพุทธ ถ้ามีการฉันเช้าหรือฉันเพลหลังจากพระเจริญพุทธมนต์เสร็จแล้ว เมื่อพระท่านสวดถึงบท “พาหุงส ะหัสสะมะ ภินิมมิตะสาวุธันตัง” ถ้าเป็นงานมงคลสมรส ให้คู่บ่าวสาวออกไปตักบาตร โดยจับด้ามทัพพีเดียวกัน มีคนคอยส่งข้าว ของใส่บาตรแล้ว ก็ควรนาสารับบูชาพระพุทธมาถวายในขณะนั้น คาว่าบูชาว่าดังนี้ อิมัง สูปะพยัญชนะสัมปันนัง สาลีนัง โภชะนัญจะ อุทะกัง วะรัง สัมพุทธัสสะ ปูเชมิฯ ข้าพเจ้าขอบูชาพระพุทธ ด้วยโภชนาหารอันประณีต ด้วยน้าสะอาด ประเสริฐแด่พระพุทธเจ้า (จบแล้วกราบ3 ครั้ง) ขณะประเคนอาหารควรเข้าใกล้พระสงฆ์ประมาณ 1 ศอก 15. ประเคนอาหารพระภิกษุสงฆ์ ขณะประเคนอาหาร ควรเข้าใกล้พระสงฆ์ประมาณ1 ศอก ยกของที่ประเคนให้สูงขึ้นจากพื้น ไม่ควรกระทบต่อสิ่งกีดขวางอย่างอื่นสูงพอประมาณ ของที่ประเคนแล้ว ห้ามมิให้ถูกต้องอี ก ถ้าถูกด้วยความพลาดพลั้งต้องรีบยกประเคนใหม่ ประเคนของทีละอย่างๆ ถ้าเป็นของเล็กๆ จะประเคนด้วยมือเดียวก็ได้ แต่ต้อ งประเคนด้วยมือขวา ถ้าเป็นงานมงคลสมรส คู่สมรสประเคนวางบนผ้าที่พระท่านปูรับ
  • 17. ๑๗ ขณะพระกาลังฉัน เจ้าภาพควรนั่งปฎิบัติด้วยการดูแลให้ทั่วถึง และควรปวารณาว่า สิ่งใดขาดตกบกพร่องขอให้เรียกได้ตามประ สงค์ เมื่อพระฉันอาหารเสร็จแล้ว ถอนสารับคาวออกก่อน นาของหวานประเคนต่อไป ถ้ามีน้าชาก็ควรรีบถวายตอนนี้ด้วย ช้อนส้อ มของหวานไม่ควรลืม 16. การถวายเครื่องไทยธรรม เมื่อพระฉันเสร็จเรียบร้อยแล้ว กรุณานาเครื่องไทยธรรมที่จะถวายมา เช่น ดอกไม้ธูปเทียน ห่อของถวายที่จัดเตรียมไว้ ถวายตามลาดับ เริ่มตั้งแต่ประธานสงฆ์ลงไป หากมีคนคอยช่วย ก็นาสิ่งของไทย ธรรมนั้นวางไว้ข้างหน้าพระภิกษุสงฆ์เป็นชุดๆ ไป เจ้าภาพก็ค่อยประเคนตาม บางแห่งจะกล่าวคาถวายก่อน พอจบแล้วก็นาถวายเลย ส่วนปัจจัย(เงิน) ควรแยกไว้ต่างหาก ไม่ สมควรประเคนพระถึงแม้ว่าจะใส่ย่ามก็ไม่ควร ทางที่ควรประเคนใบปวารณาแทนปัจจัย(เงินควรมอบให้กับไวยาวัจกร) การกรวดน้าหลังประเคนของเรียบร้อยแล้ว 17. กรวดน้า เมื่อประเคนของเรียบร้อยแล้วพึงตั้งใจกรวดน้าอุทิศส่วนกุศลที่เราทาบุญครั้งนี้ ให้แก่บุพการีชน แก่เทวดา แก่คู่กร รมคู่เวร ขอให้กุศลผลบุญที่กระทาในวันนี้ จงเป็นผลสาเร็จแก่ตนเองและครอบครัว ตลอดจนสรรพสัตว์ทั้งหลายด้วยความปรารถ นานั้นๆ น้าที่กรวดนั้นต้องเป็นน้าสะอาดไม่มีสิ่งเจือปน ควรเตรียมไว้ล่วงหน้าซึ่งมีคนโทสาหรับกรวดน้าโดยเฉพาะ หรือภาชนะที่ส มควรอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ เป็นการดีที่สุด เพราะเป็นสิ่งจาเป็นต้องใช้ในทุกๆ งาน ในขณะพระเถระผู้เป็นประธานสงฆ์เริ่มสวดอนุโมทนากถาว่า “ยะถา วาริวะหา” เป็นต้นไป ก็เริ่มกรวดน้าให้ไหลลงโดยไม่ขา ดระยะ ไม่ควรเอานิ้วมือรองน้า ควรให้น้าไหลลงภาชนะโดยตรง เมื่อพระสงฆ์รับสวดว่า สัพพีติโย พร้อมกัน พึงเทน้าลงให้หมดแล้วประนมมือรับพรต่อไปด้วยใจเ ป็นสมาธิ(Meditation) น้าที่กรวดแล้วควรนาไปเทลงบนพื้นดินที่สะอาดหมดจด หรือใบเสมา และกล่าวคาอธิษฐานอีกครั้งว่า ข ออุทิศส่วนบุญที่ทาในวันนี้จงไปถึงแก่ดวงวิญญาณผู้มีพระคุณทั้งหลาย ด้วยความถนัดใจ ไม่ควรเทหรือสาดทิ้งทางหน้าต่างประตู หรือในสถานที่ที่ไม่ควร เช่น กระโถน ใต้ถุนบ้านเหล่านี้ เป็นต้น
  • 18. ๑๘ การประพรมน้าพระพุทธมนต์ งานมงคลสมรสคู่บ่าวสาวควรหมอบให้น้ามนต์ 18. การประพรมน้าพระพุทธมนต์ ก่อนพระภิกษุท่านจะกลับวัด เจ้าภาพที่มีความประสงค์จะให้พรมน้าพระพุทธมนต์ให้ ก็พึงเ รียนท่านและบอกญาติพี่น้องให้เข้ามารวมกัน นั่งประนมมือ หรือหมอบลงรับน้าพระพุทธมนต์พร้อมกัน ในโอกาสเช่นนี้พระภิกษุท่ านจะสวด ชะยันโต เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่เจ้าภาพและแขกที่มาร่วมงาน ฉะนั้นผู้เป็นเจ้าภาพพึงคอยรับความเคารพ โดยหมอ บลงตรงพระเถระถ้ามีคนมาก ผู้ที่ประพรมแล้วก็ควรให้โอกาสแก่คนอื่นบ้าง เจ้าภาพประสงค์ให้พระท่านประพรมณที่ใด ก็พึงอุ้มบาตรหรือขันน้ามนต์นั้น นาท่านไป ถ้าต้องการจะให้ท่านเจิม หรือปิดทอง ก็เตรียมในช่วงนั้น สิ่งที่ควรเตรียมก็มี แป้งเจิม แผ่นทองคาเปลว ถ้าเป็นงานมงคลสมรส คู่บ่าวสาวควรหมอบให้น้ามนต์ ตั้งแต่พระเถระหัวแถวถึงพระภิกษุรูปสุดท้าย มากน้อยตามความเหมาะ สม หลังจากคู่บ่าวสาวแล้วจึงพรมให้แขกอื่นที่มาร่วมงาน ส่วนเจ้าสาวต้องให้ญาติผู้ใหญ่ หรือบิดามารดาเจิมหน้าให้ 19. ส่งพระภิกษุสงฆ์กลับวัด เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว พระภิกษุสงฆ์ลากลับวัด เจ้าภาพพึงตามส่งถึงรถ หรือประตูบ้านซึ่งเตรียมไ ว้แล้ว 20. นาของที่ยืมมาคืนวัดให้เรียบร้อย เสื่อ หมอน หรือพรม โต๊ะบูชาเครื่องใช้ที่ยืมมาจากวัดก็พยายามอย่างยิ่งอย่าให้แปดเปื้อน หรือแตกหักเสียหาย เพราะเป็นสมบัติของส งฆ์ ถ้าเกิดเสียหายไปด้วยประการใดก็ดี เจ้าภาพพึงสานึก ของเหล่านี้เป็นของสาธารณสมบัติ ไม่ควรดูดายต้องหามาชดใช้แทนแ ละทาความสะอาดให้เรียบร้อย นาส่งตรวจสอบให้ถูกต้อง เท่าที่ยืมมาใช้ เพื่อเป็นตัวอย่างต่อไป
  • 19. ๑๙ ด้ายสายสิญจน์มีความสาคัญกับการประกอบพิธีทั้งงานมงคลและงานอวมงคล ในงานมงคลที่กล่าวถึงข้างต้นหรืองานอวมงคลที่จะได้กล่าวถึงในหัวข้อต่อไปนั้นจะมีอุปกรณ์อยู่ชิ้นหนึ่งที่ใช้บ่อย และมีความสา คัญกับการประกอบพิธีกรรมอย่างมาก นั่นคือ “ด้ายสายสิญจน์” ซึ่งส่วนใหญ่อาจจะยังไม่ทราบถึงความเป็นมาของด้ายสายสิญจ น์นี้ เพื่อเป็นความรู้ประดับสติปัญญาของเราเอง และเพื่อเป็นข้อมูลในการอธิบายให้คนอื่นได้ทราบถึงความเป็นมา จะได้นาประวั ติของด้ายสายสิญจน์ที่ปรากฎอยู่ในพระไตรปิฎกมากล่าวถึงในบทนี้ ดังนี้ ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์บังเกิดเป็นพระราชโอรสสุดท้องของพระเจ้าพรหมทัตแห่งเมืองพาราณสี ทรงศรัทธาบารุงพระปัจเจ กพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นประจา วันหนึ่งได้ทูลถามพระปัจเจกพุทธเจ้าว่าต่อภายหน้าพระองค์จะได้เสวยราชสมบัติในเมืองพาราณสีหรื อไม่พระปัจเจกพุทธเจ้าพิจารณาดูแล้วก็ทราบว่าจะไม่ได้เป็นกษตริย์ในเมืองนี้ แต่จะได้ครองเมืองตักสิลา ทว่าการไปตักสิลานั้นมีอั นตรายมากจากนางยักษิณีระหว่างทาง จึงถวายพระพรเรื่องนี้ให้ทรงทราบพร้อมกาชับว่าให้ระวังตัวในเรื่องรูปเสียงกลิ่นรส สัมผัส ที่นางยักษิณีจะปลอมแปลงมาหลอกลวง ถ้าหลงใหลจะเป็นอันตรายถึงชีวิต พระโพธิสัตว์ก็รับคาเป็นอันดี แล้วได้อาราธนา พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายสวดพระปริตร แล้วรับเอาปริตตวาลิกะ(ทรายเสกด้วยพระปริตร)และปริตต-สุตตะ(ด้ายเสก- สายสิญจน์) ที่พระปัจเจกพุทธเจ้ามอบให้ ทูลลาพระราชบิดาออกเดินทางไปเมืองตักสิลาพร้อมด้วยคนสนิท5คน ซึ่งขอติดตามไปด้วยโดยมิฟังคาทัดทาน หลังจากกาชับกาชาให้ระวังตัวให้ดีเหมือนคาพระปัจเจกพุทธเจ้า และทุกคนรับคาเป็นอันดี แล้วก็เดินทางไปตามลาดับ ครั้นถึงกลางดงใหญ่อันเป็นถิ่นที่อยู่ของนางยักษิณี นางยักษิณีเห็นบุรุษเหล่านั้นพักอยู่จึงจาแลงเพศมาเป็นหญิงสาวรุ่นงดงาม น่าพึงใจด้วย รูปเสียงกลิ่น รส และสัมผัส พวกคนสนิทของพระโพธิสัตว์เห็เข้าก็เกิดความลุ่มหลง ลืมสัญญาเสียสิ้น คนที่ชอบรูปร่าง ก็ถูกนางยักษิณีลวงรูปส
  • 20. ๒๐ วยแล้วจับกินเสีย คนที่ชอบเสียงก็ลวงด้วยเสียง แล้วถูกจับกิน คนทั้งห้าถูกลวงด้วยกามคุณทั้ง5 อย่างนี้แล้วถูกจับกินจนหมดเหลือพระโพธิสัตว์เพียงคนเดียวเท่านั้น แม้ยักษิณีจะลวงด้วยอาการอย่างไรก็ไม่ประมาท ไม่ยอมติดใจ ยินดีด้วยอานาจบุญบารมีที่เคยสั่งสมอบรมมา นางยักษิณีก็ทาอะไรไม่ได้ ได้แต่ติดตามไปห่างๆ จะเข้าก็ไม่ได้เพราะอานุภาพแห่ง ทรายเสก และด้ายเสกที่ติดตัวพระโพธิสัตว์อยู่ พอถึงเมืองตักสิลา พระโพธิสัตว์ก็เข้าพักณ ศาลาแห่งหนึ่ง เอาทรายเสกโรยบนศรีษะ แล้วเอาด้ายเสกวนรอบที่พัก นางยักษิณีก็เข้าศาลาไม่ได้จึงพักอยู่ข้างนอกจนกระทั่งรุ่งเช้ า พระราชาเมืองตักสิลาเสด็จผ่านมาเห็นนางเข้าจึงเกิดความสิเน่หา นานางเข้าไปเป็นสนมในวัง ภายหลังถูกนางยักษิณีหลอกจับ กินเสียอีก เมื่อขาดพระราชาประชาชนจึงพร้อมใจกันเลือกพระราชาองค์ใหม่ เห็นพระโพธิสัตว์มีรูปร่างงดงาม มีสง่าน่าเลื่อมใส จึง อัญเชิญให้เป็นพระราชาเมืองนั้นสืบต่อไป ด้วยเหตุนี้ ด้ายสาญสิญจน์จึงนิยมใช้วงสถานที่อยู่ และสถานที่ทาพิธี ตลอดจนสวมศรีษะ สวมคอ ผูกข้อมือในงานมงคลทั้งป วง โดยนับถือว่าเป็นของศักดิ์สิทธิ์ประดุจข่าย หรือเกราะเพชรป้องกันสรรพอันตราย เป็นประเพณีสืบมาจนทุกวันนี้ ด้ายสาญสิญจน์นิยมใช้วงสถานที่อยู่ และสถานที่ทาพิธี ตลอดจนสวมศรีษะ สวมคอ ผูกข้อมือในงานมงคลทั้งปวง อีกอย่างหนึ่งที่ต้องมีเวลางานมงคลคือน้ามนต์ ซึ่งถือว่าเป็นมงคล ดังนั้นเมื่อรับพรจากพระภิกษุสงฆ์แล้ว จึงนิยมมีการพรมน้า มนต์เพื่อเป็นสิริมงคลแก่เจ้าภาพและผู้มาร่วมงาน เนื่องจากเป็นการขับไล่สิ่งไม่ดีออกไป โดยถือคติตามในพระไตรปิฎกที่กล่าวถึงป ระวัติของน้ามนต์ดังจะกล่าวต่อไปนี้
  • 21. ๒๑ ในสมัยที่สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ณ พระนครราชคฤห์ ขณะนั้นที่เมืองเวสาลีซึ่งเป็นเมืองหลวงของแคว้นวัชชี เกิดทุกขภัยข้าวยากหมากแพงฝนแล้ง ข้าวกล้าเสียหายเหลือคณานับ ผู้คนจึงอดอยากล้มตายลงเป็นอันมาก ที่เหลือก็นาศพเหล่านั้นไปทิ้งนอกเมืองเพราะเผาหรือฝังไม่ไ หว นอกเมืองจึงเหม็นคลุ้งด้วยซากศพ ฝูงนกกาและสุนัยก็มาลากกินศพเหล่านั้น แล้วลงกินน้าในแม่น้า ทาให้อหิวาตกโรคระบาด ซ้าอีก ผู้คนยิ่งล้มตายเป็นทวีคูณ พวกอมนุษย์และภูตผีปีศาจทั้งหลายก็พากันเข้าเมืองก่อความเดือดร้อนให้ชาวบ้านทั้งกลางวันแล ะกลางคืน ชาวเมืองจึงพากันทูลให้เจ้าผู้ครองนคร คือเจ้าลิจฉวีทั้งหลายนิมนต์พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาประทับที่เมืองเวสาลีบ้าง ภัยทั้งหล ายก็จะสงบเอง เจ้าลิจฉวีทั้งหลายก็เห็นพ้องด้วย จึงนิมนต์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จมาเมืองเวสาลี โดยผ่านทางพระเจ้าพิมพิสาร กษัตริย์เมืองราชคฤห์ พระเจ้าพิมพิสารจึงทูลนิมนต์พระพุทธองค์ตามนั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงรับนิมนต์แล้วเสด็จไป เมืองเวสาลีพร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์เป็นอันมาก โดยเสด็จทางเรือที่พระเจ้าพิมพิสาร และเจ้าลิจฉวีทั้งหลายถวายความสะดวกฝ่าย ละครึ่งทาง เมื่อเรือเทียบท่าแล้ว พระพุทธองค์เสด็จด้วยพระบาทเปล่าเข้าแคว้นวัชชีต่อไป พอพระพุทธองค์และพระภิกษุสงฆ์เข้าเข ตแคว้นวัชชีเท่านั้น ได้เกิดฝนตกลงมาห่าใหญ่ น้าฝนได้ไหลพัดพาเอาซากศพ และสิ่งปฏิกูลทั้งหลายลงแม่น้าคงคาจนหมด ถนนห นทางก็สะอาดสะอ้านขึ้นเป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก และเมื่อเสด็จถึงประตูเมืองเวสาลี ทรงรับสั่งให้พระอานนท์เรียนเอาพระพุทธมนต์ชื่อ “รตนสูตร” แล้วเดินสวดพระปริตร รตนสูตรจนรอบพระนคร บรรดาอมนุษย์และภูตผีทั้งหลายพอถูกน้าพระพุทธมนต์เข้าก็พากันกลั ว หนีไปสิ้น โรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ก็พอหมดสิ้นไปด้วย เมื่อปะพรมน้าพระพุทธมนต์แล้วพระอานนท์ก็กลับมาเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าต่อไป เมืองเวสาลีก็ปลอดภัยจา กความพิบัติต่างๆ ที่เกิดขึ้น ชาวเมืองก็อยู่เย็นเป็นสุข ทามาหากินได้สะดวกเหมือนเดิม ด้วยประการฉะนี้ ดังนั้นจึงได้ถือปฏิบัติต่อกันมาจนกระทั่งถึง ปัจจุบันนี้ประเพณีการพรมน้ามนต์ก็ยังอยู่คู่กับชาวพุทธตลอดมา
  • 22. ๒๒ การประเคนของแด่พระภิกษุสงฆ์ พระวินัยบัญญัติห้ำมพระภิกษุสงฆ์รับหรือหยิบสิ่งของมำขบฉันเองโดยไม่มีผู้ประเคนให้ถูกต้องเสียก่อน กำรประเคนหมำยถึงกำรมอบให้ด้วยควำมเคำรพ ใช้ปฎิบัติต่อพระภิกษุสงฆ์เท่านั้นมีวินัยบัญญัติห้ามพระภิกษุสงฆ์รับ หรือหยิบสิ่งของมาขบฉันเองโดยไม่มีผู้ประเคนให้ถูกต้องเสียก่อนเพื่อตัดปัญหาเรื่องการถวายแล้วหรือยังไม่ได้ถวาย จึงให้พระภิก ษุสงฆ์รับของประเคนเท่านั้น ยกเว้นน้าเปล่าที่ไม่ผสมสี เช่น น้าฝน น้าประปาเป็นต้น เพื่อเป็นการแสดงออกอย่างชัดเจนว่า สิ่งของนั้นๆ เป็นของจัดถวายพระภิกษุสงฆ์แน่นอน โดยมีผู้ประเคนเป็นพยานรู้เห็นด้วยผู้หนึ่งการประเคนของจึงเป็นการสนับสนุนให้พระภิกษุส งฆ์ปฎิบัติตามพระวินัยได้ถูกต้อง การประเคนที่ถูกต้องตามหลักพระวินัยมีลักษณะที่กาหนดไว้ 5 ประการ ดังนี้ 1. สิ่งของที่จะประเคนต้องไม่ใหญ่จนเกินไปหรือหนักเกินไปขนาดคนพอมีกาลังปานกลางยกขึ้นได้ ถ้าหนักหรือใหญ่เกินไปไม่ต้องป ระเคน 2. ผู้ประเคนต้องอยู่ในหัตถบาสคือเอามือประสานกันแล้วยื่นไปข้างหน้า ห่างจากพระภิกษุสงฆ์ผู้รับประมาณ 1ศอก 3. ผู้ประเคนน้อมสิ่งนั้นส่งให้พระภิกษุสงฆ์ด้วยกริยาอ่อนน้อมแสดงความเคารพ
  • 23. ๒๓ 4. การน้อมสิ่งของเข้ามาให้นั้นจะส่งให้ด้วยมือก็ได้หรือใช้ขิงเนื่องด้วยกายก็ได้ เช่นใช้ทัพพี หรือช้อนตักอาหารใส่บาตรที่ท่านถือหรือสะพายอยู่ก็ได้ 5. ในกรณีผู้ประเคนเป็นชายพระภิกษุสงฆ์ผู้รับจะรับด้วยมือในกรณีผู้ประเคนเป็นผู้หญิงจะรับด้วยของเนื่องด้วยกายเช่น ผ้าทอดรับใช้บาตรรับใช้จานรับ การประเคนที่ถูกต้องตามหลักพระวินัยมีลักษณะที่กาหนดไว้ 5 ประการ เมื่อการประเคนได้ลักษณะครบทั้ง5 ประการนี้จึงเป็นอันประเคนถูกต้องถ้าไม่ได้ลักษณะนี้เช่นของนั้นใหญ่และหนักจนยกไม่ขึ้นผู้ประเคนอยู่นอกหัตถบาสหรือผู้ประเค นเสือกของส่งให้ เป็นต้น แม้จะส่งให้พระภิกษุสงฆ์แล้วก็ตาม ก็ได้ชื่อว่ายังไม่ได้ประเคนนั่นเอง 1. ถ้าเป็นชายให้คุกเข่าหน้าพระภิกษุสงฆ์ห่างจากท่านประมาณ1ศอก ยกของที่จะประเคนส่งให้ท่านไปเลย 2. ถ้าเป็นหญิง ให้วางของที่จะประเคน ลงบนผ้ารับประเคนที่ท่านทอดออกมารับ แล้วปล่อยมือเพื่อพระภิกษุสงฆ์จะได้หยิบของนั้ น 3. เมื่อประเคนเสร็จแล้ว ให้กราบ3 ครั้ง หรือไหว้ 1 ครั้งก็ได้ ถ้าของที่จะประเคนมีมากให้ประเคนของให้หมดเสียก่อน แล้วจึงกราบหรือไหว้ ไม่นิยมกราบหรือไหว้ทุกครั้งที่ประเคน
  • 24. ๒๔ 4. ถ้าพระภิกษุสงฆ์รับประเคนนั่งเก้าอี้หรืออยู่บนอาสนะสูง ผู้ประเคนไม่อาจนั่งประเคนได้ให้ถอดรองเท้าเสียก่อนแล้วยืนประเคนต ามวิธีที่กล่าวแล้ว 5. ของที่ประเคนแล้วห้ามคฤหัสถ์แตะต้องอีก เป็นเรื่องพระภิกษุท่านจะหยิบส่งกันเองหากไปแตะต้องเข้าโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม ของนั้นถือว่าขาดประเคน จะต้องประเคนใหม่ 6. สิ่งของที่ไม่ใช่ของเคี้ยวของฉันเช่นกระโถนจานช้อน แก้วเปล่ากระดาษเป็นต้น ไม่นิยมประเคน การถวายภัตตาหารแด่คณะสงฆ์อย่างถูกวิธี สิ่งของที่ไม่สมควรประเคนถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ คือ เงินและวัตถุที่ใช้แทนเงิน เช่น ธนบัตร ไม่สมควรประเคนพระภิกษุสงฆ์โดยตรงแต่นิยมใช้ใบปวารณาดังตัวอย่างแทนตัวเงินส่วนตัวเงินนิยมมอบไว้กับไวยาวัจกร ของพระภิกษุสงฆ์รูปนั้น ใบปวารณานี้นิยมใส่ซองร่วมถวายไปกับเครื่องไทยธรรมส่วนเงินค่าจตุปัจจัยนั้นมอบไปกับศิษย์หรือไวยาวัจกรของพระภิกษุสง ฆ์นั้นๆ สิ่งของที่ต้องห้ามและสิ่งของที่ประเคนได้สาหรับพระภิกษุสงฆ์ 1. อาหารที่ไม่สมควรแก่สมณบริโภค ได้แก่ เนื้อ 10 ชนิด และอาหารที่ปรุงด้วยเนื้อ 10 ชนิด ดังนี้
  • 25. ๒๕ 1. เนื้อมนุษย์รวมถึงเลือดมนุษย์ด้วย 2. เนื้อช้าง 3. เนื้อม้า 4. เนื้อสุนัข 5. เนื้องู 6. เนื้อราชสีห์ 7. เนื้อเสือโคร่ง 8. เนื้อเสือเหลือง 9. เนื้อหมี 10. เนื้อเสือดาว ส่วนเนื้อสัตว์นอกเหนือจากนี้ถ้าเป็นเนื้อที่ยังดิบอยู่ ยังไม่สุกด้วยความร้อนจากไฟ ทรงห้ามฉันถ้าสุกแล้วอนุญาตให้ฉันได้ และ เนื้อสัตว์ที่ฆ่าเจาะจงทาถวายพระภิกษุสงฆ์สามเณร ถ้าพระภิกษุสงฆ์ไม่ได้เห็นการฆ่านั้น ไม่ได้ยินมาก่อนว่าฆ่าเจาะจงไม่ได้สงสัยว่าเขาฆ่าเพื่อเป็นของเฉพาะเจาะจงแก่ตนก็ขบฉันได้ไม่มีโทษ 2. สิ่งของที่ประเคนพระภิกษุสงฆ์ได้ในเวลาก่อนเที่ยง เครื่องไทยธรรมประเภทอาหารคาวหวานทุกชนิด ได้แก่ 1. อาหารสดเช่นอาหารคาวหวานรวมทั้งผลไม้ทุกชนิด 2. อาหารแห้งเช่น ปลาเค็มเนื้อเค็มข้าวสารฯลฯ 3. อาหารเครื่องกระป๋ องทุกประเภทเช่นนม โอวัลตินปลากระป๋ อง สิ่งของดังกล่าวนิยมถวายพระภิกษุสงฆ์ได้ในช่วงเวลาก่อนเที่ยงเท่านั้น ถ้าจะนาไปถวายหลังเที่ยงวันไปแล้ว นิยมเพียงแต่แจ้งใ ห้พระภิกษุสงฆ์ทราบแล้วมอบสิ่งของดังกล่าวให้ลูกศิษย์ของท่านเก็บรักษาไว้ถวายท่านในวันต่อไป 3. สิ่งที่ประเคนได้ตลอดเวลา เครื่องดื่มทุกชนิด ประเภทเครื่องยาบาบัดป่วยไข้ หรือประเภทเภสัชที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติไว้ คือ เนยใสเนยข้นน้ามันน้าผึ้งน้าอ้อย 4. วัตถุอนามาส สิ่งของที่พระพุทธองค์ทรงห้ามพระภิกษุสงฆ์จับต้องเรียกว่า วัตถุอนามาส ห้ามนามาประเคนถวายพระภิกษุสงฆ์ เพราะผิดวินัยบัญญัติได้แก่ 1. ผู้หญิง ทั้งที่เป็นเด็กทารกแรกเกิดและผู้ใหญ่ รวมทั้งเครื่องแต่งกายรูปภาพรูปปั้นทุกชนิดของผู้หญิง 2. รัตนะ 10 ประการ คือ ทอง เงิน แก้วมุกดาแก้วมณี แก้วประพาฬทับทิมบุษราคัมสังข์เลี่ยมทองศิลาเช่นหยก และโมรา ฯลฯ 3. เครื่องศัตราวุธทุกชนิด อันเป็นเครื่องทาลายชีวิต 4. เครื่องดักสัตว์ทุกชนิด 5. เครื่องดนตรีทุกชนิด
  • 26. ๒๖ 6. ข้าวเปลือกและผลไม้อันเกิดอยู่กับที่ การกรวดน้าและการรับพรพระ การกรวดน้าในงานบุญ เป็นการอุทิศแผ่ส่วนกุศลที่ตนบาเพ็ญแล้วนั้นส่งไปให้บุรพชนตลอดจนสรรพสัตว์ และตั้งจิตอธิษฐานเพื่ อความดีต่อไป หรืออธิษฐานในสิ่งประสงค์ที่ดีงามให้สาเร็จตามความปรารถนา การกรวดน้าเพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลแก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว การกรวดน้าคือ การรินน้าหลั่งลงให้เป็นสาย อันเป็นเครื่องหมายแห่งสายน้าใจอันบริสุทธิ์ ตั้งใจอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลที่ตนได้ทามาในวันนั้นให้แก่ผู้ ล่วงลับไปแล้วถ้าผู้ล่วงลับเป็นผู้อาวุโสมากกว่าเช่นเป็นบิดามารดาปู่ ย่า ตายายเป็นพี่ เป็นครูอาจารย์ เป็นต้น ก็ชื่อว่าได้แสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อท่านเหล่านั้น การรับพรพระคืออาการที่เจ้าภาพนอบน้อมทั้งกายและใจรับความปรารถนาดีที่พระภิกษุสงฆ์ตั้งกัลยาณจิตสวดประสิทธิ์ประ สาทให้เจ้าภาพรอดพ้นจากอันตรายภัยพิบัติทั้งหลายและเจริญด้วยอายุวรรณะสุขะพละเป็นต้น ก่อนจะทราบถึงวิธีปฎิบัติในการกรวดน้า เราลองมาศึกษาถึงประวัติความเป็นมาของการกรวดน้าก่อน การกรวดน้ามีมาตั้งแต่อ ดีตกาลครั้งสมัยพระผู้มีพระภาคเจ้ายังทรงพระชนมชีพอยู่ ดังเรื่องราวที่ปรากฎในพระไตรปิฏกในอรรถกถามงคลสูตรว่า ในอดีตกาลเมื่อครั้งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่าปุสส ทรงอุบัติขึ้น พระราชบุตร3 พระองค์ของพระเจ้าชัยเสนแห่งกาสิกนคร มีศรัทธาที่จะถวายภัตตาหารแด่พระปุสสพุทธเจ้า และพระภิกษุสงฆ์สาวกติดต่อกันหล ายวัน จึงประทานทรัพย์เป็นค่าใช้จ่ายเป็นอันมาก และขอความร่วมมือจากพระประยูรญาติและข้าทาสบริวาณรับใช้ ทั้งเพื่อนบ้าน