SlideShare a Scribd company logo
การวัด (measurement)
เป็นกระบวนการเชิงปริมาณหรือการกาหนดตัวเลขให้กับสิ่งที่ปฏิบัติหรือสิ่งที่ต้อง
การวัด การประเมิน (Assessment)
เป็นการเก็บรวบรวมสังเคราะห์ และตีความหมายข้อมูล
เพื่อช่วยครูในการตัดสินใจ เช่น ช่วยวินิจฉัยปัญหาการเรียนของนักเรียน
หรืออาจ ประเมินผลเพื่อจุดประสงค์เฉพาะบางประการ
ขั้นตอนการวัดทางการศึกษา
1. ระบุจุดประสงค์และขอบเขตของการวัด ว่าวัดอะไร วัดใคร
2. นิยามคุณลักษณะที่ต้องการวัดให้เป็นพฤติกรรมที่วัดได้
3. กาหนดวิธีการวัดและเครื่องมือวัด
4. จัดหาหรือสร้างเครื่องมือวัด กรณีสร้างเครื่องมือใหม่ดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
...
5. ดาเนินการวัดตามวิธีการที่กาหนด
6. ตรวจสอบและวิเคราะห์ผลการวัด
ความสาคัญของการวัดผลและการประเมินผล
การวัดผล (Measurement / Assessment) และการประเมินผล
(Evaluation)
เป็นองค์ประกอบหนึ่ง ของไตรยางค์ การศึกษา (Educational Trilogy)
ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ
วัตถุประสงค์การศึกษา(EducationalObjectives)
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้(Learning Experiences)
การวัดผลการประเมินผล (Evaluation)
และรู้จักกันโดย ทั่วไปว่า OLE
(O = Objectives; L = Learning experiences; E = Evaluation)
ทั้ง 3 องค์ประกอบนี้ มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันดังแผนภูมิ
อาจแบ่งความสาคัญได้เป็นข้อๆ ดังนี้
1. ช่วยชี้ให้เห็นว่าการดาเนินงานเหมาะสมเพียงใด
2. ทาให้ทราบว่าการดาเนินงานบรรลุตามจุดประสงค์หรือไม่
3. ช่วยกระตุ้นให้มีการเร่งรัด ปรับปรุง และการดาเนินงาน
4.
ช่วยเห็นข้อบกพร่องในการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอนเป็ นหลักในการปรับปรุงใ
นการดาเนินงาน
5. ช่วยควบคุมการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพ
6. เป็นแนวทางในการกาหนดวิธีการในการดาเนินงานครั้งต่อไป
องค์ประกอบของการวัดและประเมินผล
1. ผลการวัด( Measurement)
ทาให้ทราบสภาพความจริงของสิ่งที่จะประเมินว่ามีปริมาณเท่าไร
มีคุณสมบัติอย่างไร เพื่อนาข้อมูลไปพิจารณา
2. เกณฑ์การพิจารณา ( criteria)
ในการที่จะตัดสินใจหรือลงสรุปสิ่งใดจะต้องมีมาตรฐานสาหรับสิ่งที่จะเปรียบเทีย
บกับสิ่งที่ได้จากการวัด
3. การตัดสินใจ ( Decision )
เป็นการชี้ขาดหรือสรุปผลการเปรียบเทียบระหว่างผลการวัดกับเกณฑ์ที่กาหนดว่า
สอดคล้องกันหรือไม่ การตัดสินใจที่ดีต้องอาศัยการพิจารณาอย่างถี่ถ้วน
กระทาอย่างยุติธรรม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม (Bloom) ได้แบ่งการเรียนรู้ออกเป็น 6 ระดับ ได้แก่
1. ความรู้ที่เกิดจากความจา (knowledge) ซึ่งเป็นระดับล่างสุด
2. ความเข้าใจ (Comprehend)
3. การประยุกต์(Application)
4. การวิเคราะห์ ( Analysis) สามารถแก้ปัญหา ตรวจสอบได้
5. การสังเคราะห์ ( Synthesis) สามารถนาส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นรูปแบบ
ใหม่ได้ให้แตกต่างจากรูปเดิม เน้นโครงสร้างใหม่
6. การประเมินค่า ( Evaluation) วัดได้ และตัดสินได้ว่าอะไรถูกหรือผิด
ประกอบการตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลและเกณฑ์ที่แน่ชัด
การจาแนกจุดมุ่งหมายการเรียนรู้แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ
1.พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจาก
พฤติกรรมด้านสมองเป็น พฤติกรรมเกี่ยวข้องกับสติปัญญา ความรู้ ความคิด
ความเฉลียวฉลาด ความสามารถในการคิด เรื่องราวต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
ซึ่งเป็นความสามารถทางสติปัญญา
พฤติกรรมทางพุทธิพิสัยแบ่งเป็น6ระดับได้แก่
1.1 ความรู้ความจา ความสามารถในการเก็บรักษาประสบการณ์ต่าง
ๆ จากการที่ได้รับรู้ไว้และ
ระลึกถึงสิ่งนั้นได้เมื่อต้องการ
1.2 ความเข้าใจเป็นความสามารถในการจับใจความสาคัญของสื่อ
และ สามารถแสดงออกมาใน
รูปของการแปลความ การ ตีความ การคาดคะเน การขยายความ หรือ การ
กระทาอื่น ๆ
1.3 การน าความรู้ไปใช้
เป็นขั้นที่ผู้บริโภคสามารถนาความรู้ประสบการณ์ ไปใช้ในการแก้ไข
ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ จึงจะสามารถ
นาไปใช้ได้
1.4 การวิเคราะห์ ผู้บริโภคมีความสามารถในการคิด หรือ
การแยกแยะ เรื่องราวสิ่งต่าง ๆ
ออกเป็นส่วนย่อย เป็นองค์ประกอบที่สาคัญได้
และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วน ที่เกี่ยวข้องกัน
ความสามารถในการวิเคราะห์จะแตกต่างกันไปแล้วแต่ความคิดของแต่ละคน
1.5 การสังเคราะห์คือ ความสามารถในการที่ผสมผสานส่วนย่อย ๆ
เข้า เป็นเรื่องราวเดียวกันได้
อย่างมีระบบ เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ที่สมบูรณ์และดีกว่าเดิม อาจเป็นการถ่ายทอด
ความคิดออกมาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย
การกาหนดวางแผนวิธีการดาเนินงานขึ้นใหม่ หรือ อาจจะเกิด
ความคิดในอันที่จะสร้างความสัมพันธ์ของสิ่งที่เป็นนามธรรมขึ้นมาในแบบที่เป็น
รูปแบบ หรือ แนวคิด ใหม่
1.6 การประเมินค่า เป็นความสามารถในการตัดสิน ตีราคา หรือ
สรุป เกี่ยวกับคุณค่าของสิ่ง
ต่างๆ ออกมาในรูปของคุณธรรมอย่างมีกฎเกณฑ์ที่เหมาะสม ซึ่งอาจเป็นไปตาม
เนื้อหาสาระในเรื่องนั้น ๆ หรืออาจเป็นกฎเกณฑ์ที่สังคมยอมรับ
2. จิตพิสัย ( Affective Domain) หมายถึง พฤติกรรมทางด้านจิตใจ เช่น
ค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึ้ง ทัศนคติความเชื่อ ความสนใจและคุณธรรม
พฤติกรรมด้านนี้อาจไม่เกิดขึ้น ทันทีทันใด ดังนั้น
การส่งข่าวสารที่สอดแทรกสิ่งที่ดีงามอยู่ตลอดเวลาโดยใช้รูปแบบการโฆษณาที่
เหมาะสม จะทาให้พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนไปในแนวทางที่พึงประสงค์ได้
ด้านจิตพิสัยจะ ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อยๆ5ระดับได้แก่
2.1 การรับรู้
เป็นกระบวนการที่ผู้บริโภคเลือกที่จะให้ความสนใจต่อข่าวสาร
ใดข่าวสารหนึ่ง
เลือกที่จะรับรู้และตีความหมายของข่าวสาร
โดยการใช้ประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ของ แต่ละบุคคล ตลอดจน ความเชื่อ ทัศนคติ
แรงจูงใจในขณะนั้น และหลังจากเลือกตีความข่าวสารแล้ว
ผู้บริโภคจะเลือกที่จะจดจาข่าวสารบางอย่างไว้ในความทรงจาของตน
2.2 การตอบสนอง
เป็นการกระทาที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอมและพอใจต่อ
สิ่งเร้านั้นซึ่งเป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเลือกสรรแล้ว
2.3 การเกิดค่านิยม การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม
การ ยอมรับนับถือใน
คุณค่านั้น ๆ หรือปฏิบัติตามในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จนกลายเป็นความเชื่อ
แล้วจึงเกิด ทัศนคติที่ดีในสิ่งนั้น
2.4 การจัดระบบ การสร้างแนวคิด
จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัย ความสัมพันธ์ ถ้าเข้า
กันได้กับวิถีการดาเนินชีวิตผู้บริโภคหรือเข้ากันได้กับค่านิยมเดิมก็จะมีการยึดถือ
ต่อไป แต่ถ้าค่านิยมใหม่ขัดกันกับค่านิยมเดิมอาจเกิดการไม่ยอมรับ
หรืออาจรับค่านิยมใหม่แล้วเลิก ค่านิยมเดิมไป
2.5 บุคลิกภาพ
การนาค่านิยมที่ยึดถือมาแสดงพฤติกรรมที่เป็นนิสัยประจาตัว ให้ประพฤติ
ปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงามพฤติกรรมด้านนี้ จะเกี่ยวกับความรู้สึกและจิตใจ
ซึ่งจะเริ่มจาก การได้รับรู้จากสิ่งแวดล้อม แล้วจึงเกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ
ขยายกลายเป็นความรู้สึกด้านต่าง ๆ จนกลายเป็นค่านิยม
และยังพัฒนาต่อไปเป็นความคิด อุดมคติ ซึ่งจะเป็นควบคุมทิศทางพฤติกรรม
ของผู้บริโภค โดยแต่ละคนจะรู้ดีรู้ชั่วอย่างไรนั้น ก็เป็นผลของพฤติกรรมด้านนี้
3.ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ
พฤติกรรมด้านกล้ามเนื้อประสาท ซึ่ง
แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่ว ชานิชานาญ
เป็นการแสดงออกมา
ได้โดยตรงโดยมีเวลาและคุณภาพของงานเป็นตัวชี้ระดับของทักษะพฤติกรรมด้า
นทักษะพิสัย ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อยๆ5ขั้นดังนี้
3.1 การรับรู้เป็นการให้ผู้บริโภคได้รับรู้เกี่ยวกับข่าวสารที่น่าสนใจ
3.2 กระทาตามแบบ หรือ ตามข่าวสารโฆษณา
3.3 การหาความถูกต้อง พฤติกรรมสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง
โดยไม่ต้อง อาศัยเครื่องชี้แนะ
เมื่อได้กระทาซ้า แล้วก็พยายามหาความถูกต้องในการปฏิบัติ
3.4
การกระทาอย่างต่อเนื่องหลังจากตัดสินใจเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับ
ตนเอง และ จะ
กระทาตามรูปแบบนั้นอย่างต่อเนื่อง
จนปฏิบัติงานที่ยุ่งยากซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องคล่องแคล่ว
ซึ่งต้องอาศัยการฝึกฝนและกระทาอย่างสม่าเสมอ
3.5 การกระทาได้อย่างเป็นธรรมชาติ
สามารถปฏิบัติได้คล่องแคล่วว่องไว โดยอัตโนมัติเป็นไป
อย่างธรรมชาติ

More Related Content

What's hot

การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
งานบทที่ 8
งานบทที่ 8งานบทที่ 8
งานบทที่ 8hadesza
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8sirinan120
 
งานบทที่8
งานบทที่8งานบทที่8
งานบทที่8tum521120935
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
Navie Bts
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
Chainarong Maharak
 
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้ยัยบ้อง ตาบร้า
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8sirinan120
 

What's hot (18)

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
งานบทที่ 8
งานบทที่ 8งานบทที่ 8
งานบทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
งานบทที่8
งานบทที่8งานบทที่8
งานบทที่8
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 

Similar to การวัด.docx

งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
onnichabee
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
Tsheej Thoj
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Bert Nangngam
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7sangkom
 

Similar to การวัด.docx (19)

งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

การวัด.docx

  • 1. การวัด (measurement) เป็นกระบวนการเชิงปริมาณหรือการกาหนดตัวเลขให้กับสิ่งที่ปฏิบัติหรือสิ่งที่ต้อง การวัด การประเมิน (Assessment) เป็นการเก็บรวบรวมสังเคราะห์ และตีความหมายข้อมูล เพื่อช่วยครูในการตัดสินใจ เช่น ช่วยวินิจฉัยปัญหาการเรียนของนักเรียน หรืออาจ ประเมินผลเพื่อจุดประสงค์เฉพาะบางประการ ขั้นตอนการวัดทางการศึกษา 1. ระบุจุดประสงค์และขอบเขตของการวัด ว่าวัดอะไร วัดใคร 2. นิยามคุณลักษณะที่ต้องการวัดให้เป็นพฤติกรรมที่วัดได้ 3. กาหนดวิธีการวัดและเครื่องมือวัด 4. จัดหาหรือสร้างเครื่องมือวัด กรณีสร้างเครื่องมือใหม่ดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ ... 5. ดาเนินการวัดตามวิธีการที่กาหนด 6. ตรวจสอบและวิเคราะห์ผลการวัด ความสาคัญของการวัดผลและการประเมินผล การวัดผล (Measurement / Assessment) และการประเมินผล (Evaluation) เป็นองค์ประกอบหนึ่ง ของไตรยางค์ การศึกษา (Educational Trilogy) ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ วัตถุประสงค์การศึกษา(EducationalObjectives) การจัดประสบการณ์การเรียนรู้(Learning Experiences) การวัดผลการประเมินผล (Evaluation) และรู้จักกันโดย ทั่วไปว่า OLE (O = Objectives; L = Learning experiences; E = Evaluation) ทั้ง 3 องค์ประกอบนี้ มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันดังแผนภูมิ
  • 2. อาจแบ่งความสาคัญได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1. ช่วยชี้ให้เห็นว่าการดาเนินงานเหมาะสมเพียงใด 2. ทาให้ทราบว่าการดาเนินงานบรรลุตามจุดประสงค์หรือไม่ 3. ช่วยกระตุ้นให้มีการเร่งรัด ปรับปรุง และการดาเนินงาน 4. ช่วยเห็นข้อบกพร่องในการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอนเป็ นหลักในการปรับปรุงใ นการดาเนินงาน 5. ช่วยควบคุมการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพ 6. เป็นแนวทางในการกาหนดวิธีการในการดาเนินงานครั้งต่อไป องค์ประกอบของการวัดและประเมินผล 1. ผลการวัด( Measurement) ทาให้ทราบสภาพความจริงของสิ่งที่จะประเมินว่ามีปริมาณเท่าไร มีคุณสมบัติอย่างไร เพื่อนาข้อมูลไปพิจารณา 2. เกณฑ์การพิจารณา ( criteria) ในการที่จะตัดสินใจหรือลงสรุปสิ่งใดจะต้องมีมาตรฐานสาหรับสิ่งที่จะเปรียบเทีย บกับสิ่งที่ได้จากการวัด 3. การตัดสินใจ ( Decision ) เป็นการชี้ขาดหรือสรุปผลการเปรียบเทียบระหว่างผลการวัดกับเกณฑ์ที่กาหนดว่า สอดคล้องกันหรือไม่ การตัดสินใจที่ดีต้องอาศัยการพิจารณาอย่างถี่ถ้วน กระทาอย่างยุติธรรม ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม (Bloom) ได้แบ่งการเรียนรู้ออกเป็น 6 ระดับ ได้แก่ 1. ความรู้ที่เกิดจากความจา (knowledge) ซึ่งเป็นระดับล่างสุด 2. ความเข้าใจ (Comprehend) 3. การประยุกต์(Application) 4. การวิเคราะห์ ( Analysis) สามารถแก้ปัญหา ตรวจสอบได้ 5. การสังเคราะห์ ( Synthesis) สามารถนาส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นรูปแบบ ใหม่ได้ให้แตกต่างจากรูปเดิม เน้นโครงสร้างใหม่ 6. การประเมินค่า ( Evaluation) วัดได้ และตัดสินได้ว่าอะไรถูกหรือผิด ประกอบการตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลและเกณฑ์ที่แน่ชัด การจาแนกจุดมุ่งหมายการเรียนรู้แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ
  • 3. 1.พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจาก พฤติกรรมด้านสมองเป็น พฤติกรรมเกี่ยวข้องกับสติปัญญา ความรู้ ความคิด ความเฉลียวฉลาด ความสามารถในการคิด เรื่องราวต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นความสามารถทางสติปัญญา พฤติกรรมทางพุทธิพิสัยแบ่งเป็น6ระดับได้แก่ 1.1 ความรู้ความจา ความสามารถในการเก็บรักษาประสบการณ์ต่าง ๆ จากการที่ได้รับรู้ไว้และ ระลึกถึงสิ่งนั้นได้เมื่อต้องการ 1.2 ความเข้าใจเป็นความสามารถในการจับใจความสาคัญของสื่อ และ สามารถแสดงออกมาใน รูปของการแปลความ การ ตีความ การคาดคะเน การขยายความ หรือ การ กระทาอื่น ๆ 1.3 การน าความรู้ไปใช้ เป็นขั้นที่ผู้บริโภคสามารถนาความรู้ประสบการณ์ ไปใช้ในการแก้ไข ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ จึงจะสามารถ นาไปใช้ได้ 1.4 การวิเคราะห์ ผู้บริโภคมีความสามารถในการคิด หรือ การแยกแยะ เรื่องราวสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นส่วนย่อย เป็นองค์ประกอบที่สาคัญได้ และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วน ที่เกี่ยวข้องกัน ความสามารถในการวิเคราะห์จะแตกต่างกันไปแล้วแต่ความคิดของแต่ละคน 1.5 การสังเคราะห์คือ ความสามารถในการที่ผสมผสานส่วนย่อย ๆ เข้า เป็นเรื่องราวเดียวกันได้ อย่างมีระบบ เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ที่สมบูรณ์และดีกว่าเดิม อาจเป็นการถ่ายทอด ความคิดออกมาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย การกาหนดวางแผนวิธีการดาเนินงานขึ้นใหม่ หรือ อาจจะเกิด ความคิดในอันที่จะสร้างความสัมพันธ์ของสิ่งที่เป็นนามธรรมขึ้นมาในแบบที่เป็น รูปแบบ หรือ แนวคิด ใหม่ 1.6 การประเมินค่า เป็นความสามารถในการตัดสิน ตีราคา หรือ สรุป เกี่ยวกับคุณค่าของสิ่ง ต่างๆ ออกมาในรูปของคุณธรรมอย่างมีกฎเกณฑ์ที่เหมาะสม ซึ่งอาจเป็นไปตาม เนื้อหาสาระในเรื่องนั้น ๆ หรืออาจเป็นกฎเกณฑ์ที่สังคมยอมรับ 2. จิตพิสัย ( Affective Domain) หมายถึง พฤติกรรมทางด้านจิตใจ เช่น ค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึ้ง ทัศนคติความเชื่อ ความสนใจและคุณธรรม พฤติกรรมด้านนี้อาจไม่เกิดขึ้น ทันทีทันใด ดังนั้น
  • 4. การส่งข่าวสารที่สอดแทรกสิ่งที่ดีงามอยู่ตลอดเวลาโดยใช้รูปแบบการโฆษณาที่ เหมาะสม จะทาให้พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนไปในแนวทางที่พึงประสงค์ได้ ด้านจิตพิสัยจะ ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อยๆ5ระดับได้แก่ 2.1 การรับรู้ เป็นกระบวนการที่ผู้บริโภคเลือกที่จะให้ความสนใจต่อข่าวสาร ใดข่าวสารหนึ่ง เลือกที่จะรับรู้และตีความหมายของข่าวสาร โดยการใช้ประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ของ แต่ละบุคคล ตลอดจน ความเชื่อ ทัศนคติ แรงจูงใจในขณะนั้น และหลังจากเลือกตีความข่าวสารแล้ว ผู้บริโภคจะเลือกที่จะจดจาข่าวสารบางอย่างไว้ในความทรงจาของตน 2.2 การตอบสนอง เป็นการกระทาที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอมและพอใจต่อ สิ่งเร้านั้นซึ่งเป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเลือกสรรแล้ว 2.3 การเกิดค่านิยม การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม การ ยอมรับนับถือใน คุณค่านั้น ๆ หรือปฏิบัติตามในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จนกลายเป็นความเชื่อ แล้วจึงเกิด ทัศนคติที่ดีในสิ่งนั้น 2.4 การจัดระบบ การสร้างแนวคิด จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัย ความสัมพันธ์ ถ้าเข้า กันได้กับวิถีการดาเนินชีวิตผู้บริโภคหรือเข้ากันได้กับค่านิยมเดิมก็จะมีการยึดถือ ต่อไป แต่ถ้าค่านิยมใหม่ขัดกันกับค่านิยมเดิมอาจเกิดการไม่ยอมรับ หรืออาจรับค่านิยมใหม่แล้วเลิก ค่านิยมเดิมไป 2.5 บุคลิกภาพ การนาค่านิยมที่ยึดถือมาแสดงพฤติกรรมที่เป็นนิสัยประจาตัว ให้ประพฤติ ปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงามพฤติกรรมด้านนี้ จะเกี่ยวกับความรู้สึกและจิตใจ ซึ่งจะเริ่มจาก การได้รับรู้จากสิ่งแวดล้อม แล้วจึงเกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ ขยายกลายเป็นความรู้สึกด้านต่าง ๆ จนกลายเป็นค่านิยม และยังพัฒนาต่อไปเป็นความคิด อุดมคติ ซึ่งจะเป็นควบคุมทิศทางพฤติกรรม ของผู้บริโภค โดยแต่ละคนจะรู้ดีรู้ชั่วอย่างไรนั้น ก็เป็นผลของพฤติกรรมด้านนี้ 3.ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ พฤติกรรมด้านกล้ามเนื้อประสาท ซึ่ง แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่ว ชานิชานาญ เป็นการแสดงออกมา ได้โดยตรงโดยมีเวลาและคุณภาพของงานเป็นตัวชี้ระดับของทักษะพฤติกรรมด้า นทักษะพิสัย ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อยๆ5ขั้นดังนี้
  • 5. 3.1 การรับรู้เป็นการให้ผู้บริโภคได้รับรู้เกี่ยวกับข่าวสารที่น่าสนใจ 3.2 กระทาตามแบบ หรือ ตามข่าวสารโฆษณา 3.3 การหาความถูกต้อง พฤติกรรมสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้อง อาศัยเครื่องชี้แนะ เมื่อได้กระทาซ้า แล้วก็พยายามหาความถูกต้องในการปฏิบัติ 3.4 การกระทาอย่างต่อเนื่องหลังจากตัดสินใจเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับ ตนเอง และ จะ กระทาตามรูปแบบนั้นอย่างต่อเนื่อง จนปฏิบัติงานที่ยุ่งยากซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องคล่องแคล่ว ซึ่งต้องอาศัยการฝึกฝนและกระทาอย่างสม่าเสมอ 3.5 การกระทาได้อย่างเป็นธรรมชาติ สามารถปฏิบัติได้คล่องแคล่วว่องไว โดยอัตโนมัติเป็นไป อย่างธรรมชาติ