SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
BY TASSANEEYA CHUENCHAROEN
จุดประสงค์การเรียนรู้
 สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปความหมายของของ
เสีย และการขับถ่าย
 สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายกระบวนการ
ขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด
 สืบค้นข้อมูล ทากิจกรรม และสรุปเกี่ยวกับ
โครงสร้างของไต และอวัยวะที่เกี่ยวข้อง
จุดประสงค์การเรียนรู้
 สืบค้นข้อมูล ทากิจกรรม และสรุปการทางานของ
ไตกับการรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุในร่างกาย
 สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายความผิดปกติที่
เกี่ยวเนื่องกับไตและโรคของไต พร้อมทั้งเสนอแนะ
แนวทางในการดูแลสุขภาพของระบบขับถ่ายของ
ตนเองให้ปกติ
 สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับการทางาน
ของผิวหนังกับการรักษาดุลยภาพ
...คาถามนี้มีคาตอบ...
Q1 : กระบวนการขับถ่ายมีความสาคัญต่อการรักษาดุลยภาพของ
สิ่งมีชีวิตอย่างไรและโครงสร้างของอวัยวะในการขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตมี
ความเหมาะสมต่อการทาหน้าที่อย่างไร
A1 : การที่สิ่งมีชีวิตจะสามารถดาเนินกิจกรรมต่างๆ ในสภาพแวดล้อม
ที่อาศัยอยู่อย่างปกติได้นั้น สิ่งมีชีวิตต้องสามารถรักษาดุลยภาพของ
ร่างกายไว้ให้ได้ การขับถ่ายเป็นกระบวนการสาคัญอย่างหนึ่งที่จะช่วย
รักษาดุลยภาพของร่างกายเพราะภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีปฏิกิริยา
ทางเคมีต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย ทาให้เกิดผลิตภัณฑ์หลายชนิดทั้งที่เป็น
ประโยชน์ต่อเซลล์ และบางชนิดไม่ต้องการ จาเป็นต้องกาจัด
ออก หรือมิฉะนั้นก็เปลี่ยนเป็นสารที่เป็นอันตรายน้อยลงแล้วกาจัดออก
จากร่างกายภายหลัง สารที่ร่างกายจาเป็นต้องกาจัดออกเหล่านี้
เรียกว่า ของเสีย
...คาถามนี้มีคาตอบ...
Q2 : ของเสียที่เกิดจากเมแทบอลิซึมได้แก่
อะไรบ้าง
A2 :คาร์บอนไดออกไซด์และสารประกอบ
ไนโตรเจน
Q3 :การถ่ายอุจาระออกจากร่างกายถือว่าเป็นการ
ขับถ่ายหรือไม่ เพราะเหตุใด
A3 : ???
ระบบขับถ่าย
 การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของคน
 อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นน้าหรือมีน้าเป็น
ส่วนประกอบอยู่มาก
 เมแทบอลิซึม
 จะสามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ออกสู่สิ่งแวดล้อม
 Anabolism เป็นกระบวนการสร้างสารอินทรีย์โมเลกุลใหญ่
จากสารโมเลกุลเล็กโดยใช้พลังงานจากเซลล์เช่นการสร้างโปรตีน
ไขมันคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ ซึ่งมีผลทาให้เซลล์เกิดการ
เติบโต
 Catabolism เป็นกระบวนการสลายสารโมเลกุลใหญ่ให้เป็น
สารโมเลกุลเล็ก เช่นการย่อยอาหารการหายใจโดยเฉพาะการ
หายใจจะทาให้ได้พลังงานในรูป ATP ( adenosine triphosphate )
เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งสารพลังงานสูงนี้สามารถนาไปใช้ใน
กระบวนการแอนาบอลิซึมต่อไป
 สภาพแวดล้อมที่เป็นแหล่งน้าจืดจะสภาพเป็น
ไฮโพทอนิก ( เมื่อเปรียบเทียบกับความเข้มของสาร
ภายในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว น้าจากสิ่งแวดล้อมจะแพร่
เข้าสู่เซลล์มากกว่าแพร่ออกจากเซลล์)
 เช่น พารามีเซียม และอะมีบา จะมีออร์แกเนลล์
เรียกว่า คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล ช่วยรักษาสมดุลของ
น้าและแร่ธาตุในเซลล์
คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล
คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล
 Sponges, Hydra
 Planaria
 Earthworm
 Insect
 Bird and Reptile
 Vertebrates
 เซลล์ทุกเซลล์สามารถสัมผัสกับน้าได้โดยตรง
 ของเสียพวกแอมโมเนีย (NH3)จึงถูกขับออกโดย
แพร่เข้าสู่สิ่งแวดล้อม
Sponges, Hydra
 เฟลมเซลล์(flame cell) ทาหน้าที่กาจัดของเสีย
 ซึ่งกระจายอยู่ทั้งสองข้างตลอดความยาวของลาตัว
และการเชื่อมต่อกับช่องขับถ่ายที่ผนังลาตัวทาง
ผิวหนัง
Planaria
Planaria
 เป็นสัตว์ที่มีลาตัวเป็นปล้อง
มีอวัยวะขับถ่ายของเสียเรียกว่า เนฟริเดียม
(nephridiun) ปล้องละ 1 คู่
nephridiun เป็นท่อขดไปมา มีปลายเปิดสอง
ข้าง ปลายข้างหนึ่งอยู่ในช่องของลาตัวมีลักษณะ
เหมือนปากแตร เรียกว่า เนโฟรสโตน (nephrostome)
Earthworm
 nephrostome ทาหน้าที่รับของเหลวจากช่องของลาตัว
ส่วยปลายอีกด้านหนึ่งเป็นช่องเปิดออกสู่ภายนอกทาง
ผิวหนัง
 nephridiun จะทาหน้าที่ขัยถ่ายของเสียพวกแอมโมเนีย
และยูเรีย ส่วนน้าและแร่ธาตุบาชนิดมีประโยชน์จะถูก
ดูดกลับโดยผนังท่อของ nephridiun เข้าสู่กระแสเลือด
Earthworm
nephridiun จึงทาหน้าที่ทั้งกรองและดูดสาร
กลับ ซึ่งลักษณะการทางานของ nephridiun
คล้ายคลึงกับหน่วยไตของสัตว์ที่มีกระดูสันหลัง
บางประเภท
Earthworm
Earthworm
Earthworm
 อวัยวะขับถ่ายเรียกว่า ท่อมัลพิเกียน (Malpinghian
tubule)
 Malpinghian tubule ประกอบด้วยท่อเล็กๆ จานวนมาก
 ท่อเหล่านี้มีลักษณะคล้ายถุงยื่นออกมาจากทางเดินอาหาร
ตรงบริเวณรอยต่อของทางเดินอาหารส่วนกลางกับ
ส่วนท้าย
Insect
 ปลายของท่อมัลพิเกียนจะลอยเป็นอิสระอยู่ในของเหลว
ภายในช่องของลาตัว
ในของเหลวจะมีของเสียน้าและสารต่างๆ ซึ่งจะถูก
ลาเลียงเข้าสู่ท่อมัลพิเกียนไปยังทางเดินอาหารโดยจะมีการ
ดูดสารที่มีประโยชน์กลับเข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือด
ส่วนของเสียพวกสารประกอบไนโตรเจนจะเปลี่ยนเป็น
ผลึกกรดยูกริกขับออกมาพร้อมกากอาหาร
Insect
Insect
 ส่วนใหญ่มีการป้องกันการสูญเสียน้าออกจากร่างกาย
 มีโครงสร้างร่างกายที่ป้องกันการสูญเสียน้า
 เช่น มีผิวหนังหนา มีเกล็ดหรือมีขนปกคลุมร่างกาย
 มีการขับถ่ายของเสียที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบใน
รูปกรดยูริก (C5H4N4O3) ซึ่งใช้น้าในการกาจัดน้อยมาก
Bird and Reptile
 สัตว์ที่มีกระดูกสันหลังมี ไต (kidney)
 kidney เป็นอวัยวะขับถ่ายทาหน้าที่ทั้งจากัดของ
เสียและรักษาสมดุลของน้าและแร่ธาตุ โดยทางาน
รวมกับระบบหมุนเวียนเลือด
Vertebrates
 Sponges, Hydra
 Planaria
 Earthworm
 Insect
 Bird and Reptile
 Vertebrates
 kidney ของคนเรามี 1 คู่ อยู่ในช่องท้องสองข้างของกระดูกสัน
หลังบริเวณเอว
 ยาวประมาณ 10-13 เซนติเมตร กว้าง 6 เซนติเมตร และหนา 3
เซนติเมตร
 ไตแต่ละข้างหนักประมาณ 150 กรัม ต่อจากไตทั้งสองข้างมี
ท่อไต (ureter) ทาหน้าที่ลาเลียงปัสสาวะจากไตไปเก็บไว้ที่
กระเพาะปัสสาวะ (urinry bladder) ก่อนที่จะ
ขับถ่ายออกนอกร่างกายทาง ท่อปัสสาวะ (urethra)
KIDNEY
KIDNEY
 หลอดเลือดเข้าสู่ไตคือ Renal artery
 หลอดเลือดที่รับเลือดที่กรองแล้วออกจากไตคือ
Renal vein
 Ureter:ท่อไต คือ ท่อที่ลาเลียงของเสียที่ผ่านการ
กรองจากไต 2 ข้าง โดยส่งต่อไปยัง
Urinary Bladder
KIDNEY
 Urinary Bladder คือ ที่สะสมปัสสาวะ มีเยื่อบุ
สามารถยืดหยุ่นได้บรรจุปัสสาวะได้ประมาณ 700-
800 ml.
 การควบคุมการปัสสาวะถูกควบคุมโดยก้านสมอง
 Urethra : ท่อปัสสาวะ คือ ที่ระบายปัสสาวะจาก
กระเพาะปัสสาวะสู่ภายนอก
KIDNEY
 Urethra ในผู้หญิงจะสั้นกว่าผู้ชาย (ผู้หญิง 5 cm.
ผู้ชาย 20 cm.) มีผลทาให้มีโอกาสติดเชื้อง่ายกว่า
กิจกรรมที่ 6.4 โครงสร้างของไต
อุปกรณ์
1. ไตหมูหรือไตวัว
2. เครื่องมือผ่าตัด
3. ถาดผ่าตัด
4. แว่นขยาย
วิธีการทดลอง
1. ศึกษาโครงสร้างภายนอกของไตหมูหรือไตวัว
2. ใช้มีดผ่าครึ่งไตตามยาวดังภาพ แล้วใช้แว่นขยาย
ส่องดูลักษณะโครงสร้างภายในไต
3. วาดภาพโครงสร้างของไต พร้อมทั้งชี้
ส่วนประกอบที่สาคัญ โดยเปรียบเทียบของจริงกับภาพที่ 6-20
* โครงสร้างภายนอกและภายในของไตเท่าที่
สังเกตและศึกษาได้มีลักษณะเป็นอย่างไรบ้างได้มีผู้ศึกษา
โครงสร้างภายในของไต และหน่วยของไต
Kidney แบ่งออกเป็น 2 บริเวณ คือ
1. บริเวณส่วนนอกเรียกว่า คอร์เทกซ์ (cortex)
2. บริเวณส่วนในเรียกว่า เมดัลลา (medolla)
(ส่วนปลายของเมดัลลาจะยื่นเข้าไป
จรดกับส่วนที่เป็นโพรงเรียกว่า
กรวยไต (pelvis))
โครงสร้างภายในของไตและส่วนประกอบของหน่วยไต
KIDNEY
1. Nephron
2. Bowman’s capsule
3. Glomerulus
4. proximal convoluted tubule
5. distal convoluted tubule
6. collecting duct
NEPHRON
หน้าที่ คือ
1. Filtration : การกรอง
2. Reabsoption : การดูดกลับ
3. Secretion : การคัดหลั่ง
FILTRATION : การกรอง
- เส้นเลือดมีการโป่งเป็นกระเปาะมีรูพรุน เรียกว่า
Glomorulus
Glomorulus
-ทาหน้าที่กรอง มีแรงดันสูงกว่าเส้นเลือดปกติ 2 เท่า
-สารส่วนใหญ่ที่ผ่านได้เป็นสารขนาดเล็ก(ของเหลว
ที่ผ่านได้Protien free filtrate) ส่วนสารที่ผ่านไม่ได้
คือ เม็ดเลือด และโปรตีนในเลือด
REABSOPTION : การดูดกลับ
- ยกเว้นน้า
-Active transport
-Mitochondria
-ท่อขดส่วนต้น (NaCl , K+, H2O, HCO3
- , Glucose, Amino,
Acid)
-ห่วงเฮนเลขาลง (H2O)
-ห่วงเฮนเลขาขึ้น (NaCl)
-ท่อขดส่วนท้าย (H2O, NaCl , HCO3
- )
-ท่อรวม (H2O, Urea , Salt)
SECRETION : การคัดหลั่ง
- ท่อขดส่วนต้น (H+, NH3, กรดบางชนิด)
-ห่วงเฮนเล (Na+ , Cl- , K+ , CA2+ , HCO3
- , Mg2+)
-ท่อขดส่วนท้าย (H2O , Na+ , Cl- , ยาและสารพิษ
หลายชนิด)
-ยาและสารพิษเช่น ยาบ้า มอร์ฟีน เฮโรอีน
- สารที่กรองผ่านโกลเมอรูลัสโดยเฉลี่ยประมาณ
วันละ 180 ลิตร
- ร่างกายขับถ่ายปัสสาวะประมาณวันละ 1.5-2.5
ลิตร
- แสดงว่าไตมีการดูดน้าและสารต่างๆ กลับ
ประมาณวันละ 178.5 ลิตร
-การดูดกลับน้าถูกควบคุมโดย ฮอร์โมนแอนติได
ยูเรติก (antidiuretic hormone) เรียกย่อๆ ว่า ADH
- สร้างจาก Hypothalamus
- ต่อมใต้สมองส่วนหลังทาหน้าที่เก็บฮอร์โมนคัด
หลัง
- สารนี้มีสมบัติทาให้เซลล์ในไตสูญเสียน้าออกไป
มากกว่าการดูดซึมน้าเข้ามา
- สารคาแฟอีน (ซึ่งพบได้ในกาแฟ ชา ช็อกโกแลต
น้าอัดลมประเภทโคล่า) และแอลกอฮอล์
น่ารู้:diuretic
-ADH จะดูดกลับน้า ที่ distal convoluted tubule
และ collecting duct
- โรคเบาจืด (diabetes insipidus) การหลั่ง
ADH ต่า ทาให้ปัสสาวะมาก และเจือจาง
- ผลของยับยั้งการหลั่ง ADH คือ การกิน
Alcohol
น่ารู้
- โรคเบาหวาน (diabetes mellitus)
กลูโคสมากกว่า 126
น่ารู้
- ถูกควบคุมโดย
Aldosterone จาก Adrenal
gland
- จะควบคุมสมดุลของ Na, P, K
-โดยกระตุ้นให้มีการดูดสาร
กลับเข้าสู่กระแสเลือดช่วยรักษา
สมดุลของกรด-เบสในร่างกาย
ด้วยการขับ H+ และดูดซึม
HCO3
- กลับจากท่อไตที่
proximal convoluted tubule
และ distal convoluted tubule
ระดับ
Aldosterone
ระดับ Na+
ในเลือด
ระดับ Na+
ในปัสสาวะ
สูง สูง ต่า
ต่า ต่า สูง
-กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis) พบบ่อยในเพศหญิง
ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียซึ่งปนเปื้อนจาก
อุจาระ
-หากไม่ได้รับการรักษา เชื้อแบคทีเรียจะสามารถเคลื่อน
ตัวผ่านไปทางท่อไต ทาให้ไตและกรวยไตเกิดการอักเสบ
(pyelonephritis) ได้
ความผิดปกติที่เกี่ยวเนื่องกับไตและโรคของไต
1. นักเรียนศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคที่เกี่ยวข้อง
กับความผิดปกติที่เกี่ยวเนื่องกับไตและโรคของ
ไต
2. ให้นักเรียนทาออกมาในรูปของชิ้นงาน 1 ชิ้น
(ครูและนักเรียนตกลงกันว่าจะเป็นชิ้นงานอะไร)
Excretory system ม.5
Excretory system ม.5

More Related Content

What's hot

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยTwatchai Tangutairuang
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)Miewz Tmioewr
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6sompriaw aums
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 

What's hot (20)

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
 
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุวัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมนชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
 
เครื่องหมายวรรคตอน
เครื่องหมายวรรคตอนเครื่องหมายวรรคตอน
เครื่องหมายวรรคตอน
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 

Similar to Excretory system ม.5

ระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory systemระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory systemพัน พัน
 
Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1vora kun
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกายชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกายO-SOT Kanesuna POTATO
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Utai Sukviwatsirikul
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1krujaew77
 

Similar to Excretory system ม.5 (20)

ระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory systemระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory system
 
Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกายชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
Ortho osteoarthritis
Ortho osteoarthritisOrtho osteoarthritis
Ortho osteoarthritis
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
แอโรบิกในทับแก้ว
แอโรบิกในทับแก้วแอโรบิกในทับแก้ว
แอโรบิกในทับแก้ว
 
แอโรบิกในทับแก้ว
แอโรบิกในทับแก้วแอโรบิกในทับแก้ว
แอโรบิกในทับแก้ว
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
Des sciencebiology
Des sciencebiologyDes sciencebiology
Des sciencebiology
 

More from Kantida SilverSoul

แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ตแผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ตKantida SilverSoul
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตKantida SilverSoul
 
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตKantida SilverSoul
 
IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1Kantida SilverSoul
 
แผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคมแผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคมKantida SilverSoul
 
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์Kantida SilverSoul
 
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคมปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคมKantida SilverSoul
 
ปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคมปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคมKantida SilverSoul
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศKantida SilverSoul
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ตKantida SilverSoul
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)Kantida SilverSoul
 

More from Kantida SilverSoul (14)

แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ตแผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
 
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
 
IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1
 
แผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคมแผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคม
 
Nerve system 5.5
Nerve system 5.5Nerve system 5.5
Nerve system 5.5
 
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
 
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคมปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
 
ปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคมปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคม
 
Excretory system ม.5
Excretory system ม.5Excretory system ม.5
Excretory system ม.5
 
Respiration m.5
Respiration m.5Respiration m.5
Respiration m.5
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
 

Excretory system ม.5