SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
แนวคิดที่เชื่อว่าถิ่นกาเนิดของไทยอยู่บริเวณเทือกเขาอัลไต
เจ้าของแนวความคิดที่เชื่อว่าชนชาติไทยมีถิ่นกาเนิดอยู่
บริเวณเทือกเขาอัลไต ซึ่งอยู่ในมองโกเลียทางตอนเหนือของ
ประเทศจีนนี้ คือ ดร.วิเลียม คลิฟตัน (Dr. William
Clifton Dodd) หมอสอนศาสนาชาวอเมริกัน ซึ่งอยู่ใน
เมืองไทยนานถึง 32 ปี และได้เดินทางสารวจจาก
ภาคเหนือของไทยไปในพม่า ลาว เวียดนาม จนถึง
มณฑลยูนนาน กวางสี ไกวเจา และกวางตุ้งในจีน
ภายหลังได้เขียนไว้ในหนังสือชื่อ The Tai Race :
Elder Brother of the Chinese ว่า คนไทยมี
เชื้อสายมองโกล แล้วต่อมาได้อพยพลงมาทางตอนใต้จนถึง
ดินแดนซึ่งปัจจุบันเรียกว่า คาบสมุทรอินโดจีน
ความคิดที่ว่ากาเนิดของชนชาติไทยอยู่ที่เทือกเขาอัลไตนี้ ขุน
วิจิตรมาตรา (รองอามาตย์โท สง่า กาญจนาคพันธุ์)
ข้าราชการที่มีความสนใจประวัติศาสตร์ไทย มีความเห็น
สอดคล้องกับแนวความคิดนี้ จึงได้นามาขยายความต่อ โดย
ได้ศึกษาค้นคว้าและเขียนผลงานออกเผยแพร่ในหนังสือชื่อ
หลักไทย ซึ่งพิมพ์เผยแพร่เมื่อ พ.ศ. 2471
ปัจจุบันมีผู้คัดค้านแนวความคิดนี้มาก เนื่องจาก
หลักฐานที่มีอยู่ไม่เพียงพอ ประเกอบกับเทือกเขาอัลไตอยู่ใน
เขตหนาว ซึ่งอยู่ห่างไกลจากประเทศไทยในปัจจุบันมาก
หากมีการอพยพโยกย้ายลงมาจริงก็จะต้องผ่านอากาศหนาวเย็น
และทะเลทรายอันกว้างใหญ่ที่เต็มไปด้วยความทุรกันดาร
เป็นระยะทางยาวไกลยากที่จะมีชีวิตรอดมาเป็นจานวนมากได้
แนวคิดที่เชื่อว่าถิ่นกาเนิดของไทยอยู่ในบริเวณมณฑลเสฉวน
(ตอนกลางของจีน)
มณฑลเสฉวนอยู่ในตอนกลางของประเทศจีนปัจจุบัน
ศาสตราจารย์ แตร์รีออง เดอ ลาคูเปอรี (Terrien ‘e
Lacouprie) แห่งมหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นผู้เสนอ
แนวความคิดนี้ เมื่อ พ.ศ. 2428
ลาคูเปอรี่ได้แนวความคิดนี้จากการค้นคว้าประวัติศาสตร์
และภาษาโบราณาของจีน โด่ยเสนอความเห็นไว้ในบทนาของ
หนังสือ Amongst the Shans ตีพิมพ์ที่อังกฤษใน
พ.ศ. 2428 ในบทความนี้ลาคูเปอรีสรุปว่าคนเชาติไทยเดิม
ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลเสฉวน
ความเป็นมาของชนชาติไทยตามแนวความคิดของลาคู
เปอรีนี้ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุ
ภาพ ได้ทรงแสดงทัศนะในแนวเดียวกันไว้ในพระนิพนธ์เรื่อง
แสดงบรรยายพงศาวดารสยาม ซึ่งเป็นหนังสือรวมบท
บรรยายของพระองค์ที่ทรงบรรยายไว้ที่จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2467 ว่า ดินแดนแถบประเทศ
ไทยแต่เดิมเป็นถิ่นที่อยู่ของพวกละว้า มอญ เขมร คน
ไทยอยู่แถบทิเบตติดต่อกับเขตแดนจีน (มณฑลเสฉวน
ปัจจุบัน) ราว พ.ศ. 500 ถูกจีนรุกราน จึงอพยพมาอยู่ที่
ยูนนาน และแยกย้ายกันไปทางตะวันตก คือ เงี้ยว ฉาน
ทางใต้คือ สิบสองจุไทย และทางตอนล่างคือ ล้านนา
ล้านช้าง
ปัจจุบันได้มีหลักฐานการค้นคว้าใหม่ๆ แย้ง
แนวความคิดนี้ว่าคนไทยเป็นพวกประกอบอาชีพการเพาะปลูก
พืชเมืองร้อน โดยเฉพาะการปลูกข้าว จึงน่าจะอยู่ในที่ราบ
ลุ่มในเขตร้อนชื้นมากกว่าบริเวณที่เป็นภูเขาอันฮุยหรือที่ราบสูง
ซึ่งมีอากาศหนาว

More Related Content

More from Kantida SilverSoul

ปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคมปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคมKantida SilverSoul
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศKantida SilverSoul
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ตKantida SilverSoul
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)Kantida SilverSoul
 

More from Kantida SilverSoul (7)

ปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคมปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
 
Excretory system ม.5
Excretory system ม.5Excretory system ม.5
Excretory system ม.5
 
Excretory system ม.5
Excretory system ม.5Excretory system ม.5
Excretory system ม.5
 
Respiration m.5
Respiration m.5Respiration m.5
Respiration m.5
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
 

ปกด้านในแผ่นพับสังคม

  • 1. แนวคิดที่เชื่อว่าถิ่นกาเนิดของไทยอยู่บริเวณเทือกเขาอัลไต เจ้าของแนวความคิดที่เชื่อว่าชนชาติไทยมีถิ่นกาเนิดอยู่ บริเวณเทือกเขาอัลไต ซึ่งอยู่ในมองโกเลียทางตอนเหนือของ ประเทศจีนนี้ คือ ดร.วิเลียม คลิฟตัน (Dr. William Clifton Dodd) หมอสอนศาสนาชาวอเมริกัน ซึ่งอยู่ใน เมืองไทยนานถึง 32 ปี และได้เดินทางสารวจจาก ภาคเหนือของไทยไปในพม่า ลาว เวียดนาม จนถึง มณฑลยูนนาน กวางสี ไกวเจา และกวางตุ้งในจีน ภายหลังได้เขียนไว้ในหนังสือชื่อ The Tai Race : Elder Brother of the Chinese ว่า คนไทยมี เชื้อสายมองโกล แล้วต่อมาได้อพยพลงมาทางตอนใต้จนถึง ดินแดนซึ่งปัจจุบันเรียกว่า คาบสมุทรอินโดจีน ความคิดที่ว่ากาเนิดของชนชาติไทยอยู่ที่เทือกเขาอัลไตนี้ ขุน วิจิตรมาตรา (รองอามาตย์โท สง่า กาญจนาคพันธุ์) ข้าราชการที่มีความสนใจประวัติศาสตร์ไทย มีความเห็น สอดคล้องกับแนวความคิดนี้ จึงได้นามาขยายความต่อ โดย ได้ศึกษาค้นคว้าและเขียนผลงานออกเผยแพร่ในหนังสือชื่อ หลักไทย ซึ่งพิมพ์เผยแพร่เมื่อ พ.ศ. 2471 ปัจจุบันมีผู้คัดค้านแนวความคิดนี้มาก เนื่องจาก หลักฐานที่มีอยู่ไม่เพียงพอ ประเกอบกับเทือกเขาอัลไตอยู่ใน เขตหนาว ซึ่งอยู่ห่างไกลจากประเทศไทยในปัจจุบันมาก หากมีการอพยพโยกย้ายลงมาจริงก็จะต้องผ่านอากาศหนาวเย็น และทะเลทรายอันกว้างใหญ่ที่เต็มไปด้วยความทุรกันดาร เป็นระยะทางยาวไกลยากที่จะมีชีวิตรอดมาเป็นจานวนมากได้ แนวคิดที่เชื่อว่าถิ่นกาเนิดของไทยอยู่ในบริเวณมณฑลเสฉวน (ตอนกลางของจีน) มณฑลเสฉวนอยู่ในตอนกลางของประเทศจีนปัจจุบัน ศาสตราจารย์ แตร์รีออง เดอ ลาคูเปอรี (Terrien ‘e Lacouprie) แห่งมหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นผู้เสนอ แนวความคิดนี้ เมื่อ พ.ศ. 2428 ลาคูเปอรี่ได้แนวความคิดนี้จากการค้นคว้าประวัติศาสตร์ และภาษาโบราณาของจีน โด่ยเสนอความเห็นไว้ในบทนาของ หนังสือ Amongst the Shans ตีพิมพ์ที่อังกฤษใน พ.ศ. 2428 ในบทความนี้ลาคูเปอรีสรุปว่าคนเชาติไทยเดิม ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลเสฉวน ความเป็นมาของชนชาติไทยตามแนวความคิดของลาคู เปอรีนี้ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุ ภาพ ได้ทรงแสดงทัศนะในแนวเดียวกันไว้ในพระนิพนธ์เรื่อง แสดงบรรยายพงศาวดารสยาม ซึ่งเป็นหนังสือรวมบท บรรยายของพระองค์ที่ทรงบรรยายไว้ที่จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2467 ว่า ดินแดนแถบประเทศ ไทยแต่เดิมเป็นถิ่นที่อยู่ของพวกละว้า มอญ เขมร คน ไทยอยู่แถบทิเบตติดต่อกับเขตแดนจีน (มณฑลเสฉวน ปัจจุบัน) ราว พ.ศ. 500 ถูกจีนรุกราน จึงอพยพมาอยู่ที่ ยูนนาน และแยกย้ายกันไปทางตะวันตก คือ เงี้ยว ฉาน
  • 2. ทางใต้คือ สิบสองจุไทย และทางตอนล่างคือ ล้านนา ล้านช้าง ปัจจุบันได้มีหลักฐานการค้นคว้าใหม่ๆ แย้ง แนวความคิดนี้ว่าคนไทยเป็นพวกประกอบอาชีพการเพาะปลูก พืชเมืองร้อน โดยเฉพาะการปลูกข้าว จึงน่าจะอยู่ในที่ราบ ลุ่มในเขตร้อนชื้นมากกว่าบริเวณที่เป็นภูเขาอันฮุยหรือที่ราบสูง ซึ่งมีอากาศหนาว