SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
ระบบสุริยะจักรวาล
ข้อมูลเกี่ยวกับระบบสุรยะจักรวาล
ิ
ระบบสุริยะ ( Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุ
อื่นๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8
ดวงกับดวงจันทร์บริวารทีค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5
่
ดวงกับดวงจันทร์บริวารทีค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่นๆ อีก
่
นับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึงดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาว
หาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ชนเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลาดับจากใกล้
ั้
ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาว
อังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
ดวงอาทิตย์
( Sun )
ดวงอาทิตย์ ( Sun )
ดวงอาทิตย์ คือดาวฤกษ์ดวงแม่ที่เป็นหัวใจของระบบสุริยะ มีขนาด
ประมาณ 332,830 เท่าของมวลของโลก ด้วยปริมาณมวลที่มีอยู่
มหาศาลทาให้ดวงอาทิตย์มีความหนาแน่นภายในที่สูงมากพอจะทาให้
เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันอย่างต่อเนื่อง และปลดปล่อยพลังงาน
มหาศาลออกมา โดยมากเป็นพลังงานที่แผ่ออกไปในลักษณะของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า เช่น แสง
ดวงอาทิตย์ ( Sun )
อยูห่างจากโลกเป็นระยะทางประมาณ 93 ล้านไมล์ และมี
่
ขนาดใหญ่กว่าโลกมากกว่า 1 ล้านเท่า มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางยาวกว่า
โลก 100 เท่า ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่มีแสงสว่างในตัวเอง ซึ่งเป็น
แหล่งพลังงานที่สาคัญของโลก อุณหภูมิของดวงอาทิตย์อยู่ระหว่าง
5,500 - 6,100 องศาเซลเซียส พลังงานของดวงอาทิตย์ทั้งหมดเกิด
จากก๊าซไฮโดรเจน โดยพลังงานดังกล่าวเกิดจากปฏิกริยานิวเคลียร์
ภายใต้สภาพความกดดันสูงของดวงอาทิตย์ ทาให้อะตอมของไฮโดรเจน
ซึ่งมีอยู่มากบนดวงอาทิตย์ทาปฏิกริยาเปลี่ยนเป็นฮีเลียม
ดาวพุธ
( Mercury )
ดาวพุธ ( Mercury )
ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดดังนั้นดาวพุธจึง
ร้อนจัดในเวลากลางวันและเย็นจัดในเวลวกลางคืนดาวพุธเป็นดาว
เคราะห์ดวงเล็กโตกว่าดวงจันทร์ของเราเพียงเล็กน้อย ภาพถ่าย
ทั้งหลายที่เกี่ยวกับดาวพุธได้จากยานอวกาศที่ส่งขึ้นไปขณะเข้าไปใกล้
ดาวพุธที่สุดก็จะถ่ายภาพส่งมายังโลก ทาให้รู้ว่าพื้นผิวดาวพุธคล้ายกับ
ผิวดวงจันทร์ ผิวดาวพุธส่วนใหญ่เป็นฝุ่นและหิน มีหลุมลึกมากมาย
ไม่มีอากาศ ไม่มีน้า ดาวพุธจึงเป็นดาวแห้งแล้ง ดาวแห่งความตาย
เป็นโลกแห่งทะเลทราย
ดาวพุธ ( Mercury )
ดาวพุธเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์เร็วที่สุด โดยใช้เวลาเพียง
87.969 วันในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ดาวพุธหมุนรอบ
ตัวเองในทิศทางเดียว กับการเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ คือ จากทิศ
ตะวันตกไป ทิศตะวันออก หมุนรอบตัวเองรอบละ 58.6461 วัน
เมื่อพิจารณาจากคาบของการหมุนรอบตัวเอง และการคาบการ
เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ จะพบว่าระยะเวลากลางวัน ถึงกลางคืนบน
ดาวพุธยาวนานถึง 176 วัน ซึ่งยาวนานที่สุดในระบบสุริยะ
ดาวพุธ ( Mercury )
พื้นผิวของดาวพุธมีลักษณะคล้ายดวงจันทร์ โดยเฉพาะด้านไกล
โลก เพราะต่างไม่มีบรรยากาศ แต่ดาวพุธมีขนาดใหญ่กว่า มีแรงโน้มถ่วง
สูงกว่า ขอบหลุมบนดาวพุธจึงเตี้ยกว่าบนดวงจันทร์ ยานอวกาศที่เข้าไป
เฉียดใกล้ๆ ดาวพุธและนาภาพมาต่อกันจนได้ภาพพื้นผิวดาวพุธดัง
กล่าวคือ ยานอวกาศมารีเนอร์ 10 ของสหรัฐอเมริกาเมื่อ พ.ศ. 2517
นับว่าเป็นยานลาแรกและลาเดียวที่ส่งไปสารวจดาวพุธ
ดาวศุกร์
( Venus )
ดาวศุกร์ ( Venus )
ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่ร้อนที่สุดในระบบสุริยะ บนดาวศุกร์ร้อน
ถึง 480 องศาเซลเซียส ความร้อนขนาดนี้มากจนทาให้ของทุกอย่างลุก
แดงดาวศุกร์มไอหมอกของกรดกามะถันปกคลุมอย่างหนาแน่น ไอหมอก
ี
นี้ไม่มีวนจางหายแม้วาแสงอาทิตย์จะจัดจ้าเพียงไร จึงเป็นไปไม่ได้ที่
ั
่
มนุษย์จะไปเยี่ยมดาวศุกร์ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างดวงอาทิตย์
เป็นลาดับที่ 2 มีขนาดเล็กกว่าโลกเล็กน้อย จึงได้ชื่อว่าเป็นดาวฝาแฝด
กับโลก เป็นดาวเคราะห์ที่ปรากฏสว่างที่สุด สว่างรองจากดวงอาทิตย์และ
ดวงจันทร์ ถ้าเห็นทางทิศตะวันตกในเวลาค่าเรียกว่า ดาวประจาเมือง
และถ้าเห็นทางทิศตะวันออกในเวลาก่อนรุ่งอรุณ เรียกว่า ดาว
ประกายพรึก
ดาวศุกร์ ( Venus )
ลักษณะพิเศษของดาวศุกร์คือ หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใช้เวลานานกว่าการ
เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ และถ้าเราอยู่บนดาวศุกร์เวลา 1 วัน จะไม่ยาว
เท่ากับเวลาที่ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเอง 1 รอบ นี่คือลักษณะพิเศษที่ดาวศุกร์ไม่
เหมือนดาวเคราะห์ดวงใดๆ นอกจากนี้ดาวศุกร์ยังหมุนตามเข็มนาฬิกาหรือหมุน
จากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ในขณะที่เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์จากทิศ
ตะวันตกไปทิศตะวันออก ดาวศุกร์จึงหมุนสวนทางกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และ
หมุนสวนทางกับการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเองรอบละ
243 วัน แต่ 1 วันของดาวศุกร์ยาวนานเท่ากับ 117 วันของโลก เพราะตั้งแต่ดวง
อาทิตย์ขึ้นจนถึงดวงอาทิตย์ตกยาวนาน 58.5 วันของโลก ดาวศุกร์เคลื่อนรอบ
ดวงอาทิตย์รอบละ 225 วัน 1 ปีของดาวศุกร์จงยาวนาน 225 วันของโลก
ึ
โลก
( Earth )
โลก ( Earth )
โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ เนื่องจากมี
ชั้นบรรยากาศและมีระยะห่าง จากดวงอาทิตย์ที่เหมาะสมต่อการ
เจริญเติบโตและการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต นักดาราศาสตร์อธิบาย
เกี่ยวกับการเกิดโลกว่า โลกเกิดจากการรวมตัวของกลุ่มก๊าซ และมี
การเคลื่อนทีสลับซับซ้อนมากโลกหมุนรอบดวงอาทิตย์เป็นวงโคจร
ซึ่งใช้เวลา 365.25 วัน เพื่อให้ครบ 1 รอบ ปฏิทินแต่ละปีมี 365
วัน ซึ่งหมายความว่าจะมี 1/4 ของวันที่เหลือในแต่ละปี ซึ่งทุกๆปีสี่ปี
จะมีวันพิเศษ คือจะมี 366 วัน กล่าวคือเดือนกุมภาพันธ์จะมี 29
วัน แทนที่จะมี 28 วันเหมือนปกติ
โลก ( Earth )
ในเดือนธันวาคมมันจะอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าเดือนมิถุนายน ซึ่ง
มันจะอยู่หางไกลจากดวงอาทิตย์มากที่สุดโลกจะเอียงไปตามเส้นแกน ใน
่
เดือนมิถุนายน ซีกโลกเหนือจะเอียงไปทางดวงอาทิตย์ดังนั้น ซีกโลก
เหนือจะเป็นฤดูร้อนและซีกโลกใต้จะเป็นฤดูหนาว ในเดือนธันวาคมจะ
เอียงจากดวงอาทิตย์ ทาให้ซีกโลกเหนือเป็นฤดูหนาวและซีกโลกใต้เป็นฤดู
ร้อน ในเดือนมีนาคมและกันยายน ซีกโลกทั้งสองไม่เอียงไปยังดวง
อาทิตย์ กลางวันและกลางคืนจึงมีความยาวเท่ากัน ในเดือนมีนาคม ซีก
โลกเหนือจะเป็นฤดูใบไม้ผลิ และซีกโลกใต้เป็นฤดูใบไม้ร่วง ในเดือน
กันยายน สถานการณ์จะกลับกัน
ดาวอังคาร
( Mars )
ดาวอังคาร ( Mars )
อยูห่างจากโลกของเราเพียง 35 ล้านไมล์ และ 234 ล้าน
่
ไมล์ เนื่องจากมีวงโคจรรอบดวง อาทิตย์เป็นวงรี พื้นผิวดาวอังคาร
มีปรากฏการณ์เมฆและพายุฝุ่นเสมอ เป็นที่น่าสนใจในการศึกษาของ
นักวิทยาศาสตร์เป็นอย่างมาก เนื่องจากมีลักษณะและองค์ประกอบที่
ใกล้เคียงกับโลก เช่น มีระยะเวลาในการหมุนรอบตัวเอง 1 วัน
เท่ากับ 24.6 ชั่วโมง และระยะเวลาใน 1 ปี เมื่อเทียบกับโลกเท่ากับ
1.9 มีการเอียงของแกน 25 องศา ดาวอังคารมีดวงจันทร์เป็น
บริวาร 2 ดวง
ดาวอังคาร ( Mars )
ดาวอังคารบางทีก็เรียกกันว่าดาวแดงเพราะผิวพื้นเป็นหินสีแดง
หินบนดาวอังคารที่มีสีแดงก็เพราะเกิดสนิมท้องฟ้าของดาวดังคารเป็นสี
ชมพูเพราะฝุ่นจากหินแดงที่วานี้ ผิวของดาวอังคารเหมือนกับทะเลหิน
่
แดง มีก้องหินใหญ่และหลุมลึก ภูเขาสูง หุบ เหว และเนินมากมาย หนึง
่
ปีบนดาวอังคารเกือบเทาสองปีโลก แต่หนึงวันบนดาวอังคารจะนานกว่า
่
ครึงชั่งโมงโลกเพียงเล็กน้อยดาวอังคารมีอากาศห่อหุ้มอยู่ไม่มากและเป็น
่
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ลมพัดแรงจัดทาให้ฝุ่นฟุ้ง ไปทั้งดวงดาว ดาว
อังคารมีขนาดโตประมาณครึ่งหนึ่งของโลก ดาวอังคารอยูไกลดวงอาทิตย์
มากกว่าโลกจึงทาให้มีบรรยากาศหนาวเย็น อุณหภูมิบนดาวดวงนี้จะต่า
กว่าจุดเยือกแข็ง
ดาวพฤหัสบดี
( Jupiter )
ดาวพฤหัสบดี ( Jupiter )
เป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สดในระบบสุริยะจักรวาล หมุนรอบ
ุ
ตัวเอง 1 รอบใช้เวลา 9.8 ชั่วโมง ซึ่งเร็วที่สุดในบรรดาดาว
เคราะห์ทั้งหลาย และโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลา12 ปี
นักดาราศาสตร์อธิบายว่า ดาวพฤหัสเป็นกลุ่มก้อนก๊าซหรือของเหลว
ขนาดใหญ่ ที่ไม่มีส่วนที่เป็นของแข็งเหมือนโลก และเป็นดาวเคราะห์
ที่มีดวงจันทร์เป็นดาวบริวารมากถึง 16 ดวง
ดาวพฤหัสบดี ( Jupiter )
ดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ยักษ์ เพราะมีขนาดใหญ่ที่สุดใน
ระบบสุริยะ มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11.2 เท่า นอกจากนี้ยัง
ได้ชื่อว่าเป็นดาวเคราะห์ก๊าซ เพราะมีองค์ประกอบเป็นก๊าซ
ไฮโดรเจนและฮีเลียมคล้ายในดวงอาทิตย์ ความหนาแน่นของดาว
พฤหัสบดีจึงต่า (1.33 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร) เมื่อดูในกล้อง
โทรทรรศน์ จะเห็นเป็นดวงกลมโตกว่าดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ พร้อม
สังเกตเห็นบริวาร 4 ดวงใหญ่เรียงกันอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตรด้วย
กาลิเลโอเป็นนักดาราศาสตร์คนแรกที่ใช้กล้องส่องพบบริวาร
สี่ดวงใหญ่นี้ จึงได้รับเกียรติว่าเป็นดวงจันทร์ของกาลิเลโอ
ดาวเสาร์
( Saturn )
ดาวเสาร์ ( Saturn )
เป็นดาวเคราะห์ที่เราสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เป็นดาว
ที่ประกอบไปด้วยก๊าซและของ เหลวสีค่อนข้างเหลือง หมุนรอบ
ตัวเอง 1 รอบใช้เวลา 10.2 ชั่วโมง และโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1
รอบใช้เวลา 29 ปี ลักษณะเด่นของดาวเสาร์ คือ มีวงแหวน
ล้อมรอบ ซึ่งวงแหวนดังกล่าวเป็นอนุภาคเล็กๆ หลายชนิดที่
หมุนรอบดาวเสาร์มีวงแหวนจานวน 3 ชั้น ดาวเสาร์มีดวงจันทร์
เป็นดาวบริวาร 1 ดวง และมีดวงจันทร์ดวงหนึ่งชื่อ Titan ซึ่งถือ
ว่าเป็นดวงจันทร์ที่ใหญ่ที่สดในระบบสุริยะจักรวาล
ุ
ดาวเสาร์ ( Saturn )
ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีความสวยงาม จากวงแหวนที่
ล้อมรอบ เมื่อดูในกล้องโทรทรรศน์จะเห็นวงแหวน ซึ่งทาให้ดาว
เสาร์มีลักษณะแปลกกว่าดาวดวงอื่นๆ ดาวเสาร์มีองค์ประกอบคล้าย
ดาวพฤหัสบดี เป็นดาวเคราะห์ก๊าซที่มีลมพายุพัดแรงความเร็วถึง
1,125 ไมล์ต่อชั่วโมง มีขนาดใหญ่รองจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์
เป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นน้อยทีสุด กล่าวคือมีความ
่
หนาแน่นเพียง 0.7 กรัมต่อลูกบาศก์ เซนติเมตร ซึ่งน้อยกว่าความ
หนาแน่นของน้า ดังนั้นหากมีน้าจานวนมากรองรับ ดาวเสาร์ก็จะ
ลอยน้าได้
ดาวยูเรนัส
( Uranus )
ดาวยูเรนัส ( Uranus )
ดาวเคราะห์ชั้นนอกดวงต่อไปถัดจากดาวเสาร์ได้แก่ดาว
ยูเรนัส ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่เป็นที่สามในระบบ
สุริยะ มันมีลักษณะเลือนลาง จะต้องมองดูด้วย
กล้องโทรทัศน์เท่านั้นจึงสามารถมองเห็น เราเคยคิดว่ามัน
เป็นดาวฤกษ์ ในปี 1781 William Herschel ได้ใช้
กล้องโทรทัศน์ค้นพบว่า ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์
ดาวยูเรนัส ( Uranus )
ดาวยูเรนัสหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ ใช้เวลา 16.8 ชั่วโมง และ
โคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลา 84 ปี ดาวยูเรนัส
ประกอบด้วยก๊าซและของเหลว เช่นเดียวกับ ดาวพฤหัส และดาว
เสาร์ 4.8 ดาวเนปจูน (Neptune) เป็นดาวเคราะห์ที่มีระยะเวลา
ในการหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ เท่ากับ 17.8 ชั่วโมง และระยะ เวลา
ในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ เท่ากับ 165 ปี มีดวงจันทร์
เป็นดาวบริวาร 2 ดวง
ดาวเนปจูน
( Neptune )
ดาวเนปจูน ( Neptune )
ดาวเนปจูนโตเกือบเท่าดาวยูเรนัส มันเป็นดาวเคราะห์ที่
ใหญ่เป็นอันดับสี่ในระบบสุริยะ มันอยู่ห่างไกลจากโลกมาก
จึงทาให้มองเห็นสลัวมาก ดาวเนปจูนสามารถมองเห็นได้
ด้วยกล้องสองตา มันดูคล้ายกับดาวฤกษ์ ยังไม่มียานอวกาศ
ที่เคยไปยังดาวเนปจูน สิ่งที่เรารู้ทั้งหมดก็คือ ดาวเคราะห์
ดวงนี้มองเห็นจากโลก
ดาวเนปจูน ( Neptune )
ในปี 1845 นักดาราศาสตร์สองคนที่ทางานคนละที่ในอังกฤษ
และฝรั่งเศสรู้ว่าดาวเคราะห์ดวงใหม่อยู่ทใหน ทั้งสองมีความเห็น
ี่
ตรงกัน คนอื่นๆก็เริ่มลงมือศึกษาดาวเคราะห์ดวงใหม่นี้ ในปี 1846
ชาวเยอรมันชื่อ Johann Galle ได้พบโลกใหม่ด้วย
กล้องโทรทัศน์ขนาดใหญ่ มันอยู่ในตาแหน่งที่นักดาราศาสตร์คนอื่น
ได้ระบุไว้ก่อนแล้ว ดาวเคราะห์ดวงใหม่มีสีน้าเงินมีชื่อว่าดาวเนปจูน
ตามชื่อเทพเจ้าแห่งทะเลโรมัน
ดาวพลูโต
( Pluto )
ดาวพลูโต ( Pluto )
เป็นดาวเคราะห์ดวงสุดท้ายของระบบสุริยะจักรวาล มีระยะ
เวลาในการหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ รอบ เท่ากับ 453 ชั่วโมง
ระยะเวลาในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ เท่ากับ 248 ปี เป็น
ดวงดาวที่มีขนาดใกล้เคียงกับดาวพุธ และมีระยะห่างจากดวงอาทิตย์
มากที่สุด ”แต่ปัจจุบันได้นักวิทยาศาสตร์ได้นาออกจากระบบสุริยะ
จักรวาลแล้ว”
ดาวพลูโต ( Pluto )

เมื่อมีการค้นพบดาวเนปจูน ได้ประมาณขนาดและการหมุนรอบ
ของมัน แต่ผลที่ออกมาไม่ได้เป็นไปตามที่คาดคิด ผลที่ได้ไม่สามารถ
อธิบายการหมุนที่ผิดปกติของดาวยูเรนัส บางทีอาจมีดาวเคราะห์อีก
ดวงที่อยู่ถัดจากดาวเนปจูน บางทีอาจเป็นแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์
ดวงนี้ดึงดูดดาวยูเรนัส ได้มีการเริ่มค้นหาดาวเคราะห์ดวงที่เก้าใน
ระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ดวงใหม่นี้ถูกค้นพบในปี 1930 ชาวอเมริกันชื่อ
Clyde Tombaugh ได้ถ่ายภาพของมันบนท้องฟ้า ดาวเคราะห์ดวง
นี้มีชื่อว่าดาวพูลโต สามารถมองเห็นได้โดยการใช้กล้องโทรทัศน์ขนาด
ใหญ่เท่านั้น
อ้างอิง
• http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/p
hitsanulok/suwicha_p/mercury.html
• http://hilight.kapook.com/view/19498
• http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0
%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E
0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B0

More Related Content

What's hot

ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกอิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกwattumplavittayacom
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)Jariya Jaiyot
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศthnaporn999
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...Prachoom Rangkasikorn
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวTeacher Sophonnawit
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม OWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกอิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถว
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 

Similar to ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)

งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิมPornthip Nabnain
 
งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5maitree khanrattaban
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลMeanz Mean
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 kanjana23
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2556
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.pangpon
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 

Similar to ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2) (20)

งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิม
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 

More from Miewz Tmioewr

ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลMiewz Tmioewr
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
Key onet m6_english_53
Key onet m6_english_53Key onet m6_english_53
Key onet m6_english_53Miewz Tmioewr
 
Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53Miewz Tmioewr
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Miewz Tmioewr
 
ความถนัดทางแพทย์
ความถนัดทางแพทย์ความถนัดทางแพทย์
ความถนัดทางแพทย์Miewz Tmioewr
 

More from Miewz Tmioewr (20)

ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
Key onet m6_english_53
Key onet m6_english_53Key onet m6_english_53
Key onet m6_english_53
 
06เฉลย onet
06เฉลย onet06เฉลย onet
06เฉลย onet
 
06 art53
06 art5306 art53
06 art53
 
06 art52
06 art5206 art52
06 art52
 
06 art51
06 art5106 art51
06 art51
 
03 eng53
03 eng5303 eng53
03 eng53
 
Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53
 
06 art50
06 art5006 art50
06 art50
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความถนัดทางแพทย์
ความถนัดทางแพทย์ความถนัดทางแพทย์
ความถนัดทางแพทย์
 
เฉลย Art
เฉลย Artเฉลย Art
เฉลย Art
 
Art
ArtArt
Art
 
เฉลยEng
เฉลยEngเฉลยEng
เฉลยEng
 
Eng
EngEng
Eng
 
เฉลย Sci
เฉลย Sciเฉลย Sci
เฉลย Sci
 
Sci
SciSci
Sci
 
เฉลยMath
เฉลยMathเฉลยMath
เฉลยMath
 

ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)

  • 2.
  • 3. ข้อมูลเกี่ยวกับระบบสุรยะจักรวาล ิ ระบบสุริยะ ( Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุ อื่นๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารทีค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5 ่ ดวงกับดวงจันทร์บริวารทีค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่นๆ อีก ่ นับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึงดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาว หาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ชนเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลาดับจากใกล้ ั้ ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาว อังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
  • 5. ดวงอาทิตย์ ( Sun ) ดวงอาทิตย์ คือดาวฤกษ์ดวงแม่ที่เป็นหัวใจของระบบสุริยะ มีขนาด ประมาณ 332,830 เท่าของมวลของโลก ด้วยปริมาณมวลที่มีอยู่ มหาศาลทาให้ดวงอาทิตย์มีความหนาแน่นภายในที่สูงมากพอจะทาให้ เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันอย่างต่อเนื่อง และปลดปล่อยพลังงาน มหาศาลออกมา โดยมากเป็นพลังงานที่แผ่ออกไปในลักษณะของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า เช่น แสง
  • 6. ดวงอาทิตย์ ( Sun ) อยูห่างจากโลกเป็นระยะทางประมาณ 93 ล้านไมล์ และมี ่ ขนาดใหญ่กว่าโลกมากกว่า 1 ล้านเท่า มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางยาวกว่า โลก 100 เท่า ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่มีแสงสว่างในตัวเอง ซึ่งเป็น แหล่งพลังงานที่สาคัญของโลก อุณหภูมิของดวงอาทิตย์อยู่ระหว่าง 5,500 - 6,100 องศาเซลเซียส พลังงานของดวงอาทิตย์ทั้งหมดเกิด จากก๊าซไฮโดรเจน โดยพลังงานดังกล่าวเกิดจากปฏิกริยานิวเคลียร์ ภายใต้สภาพความกดดันสูงของดวงอาทิตย์ ทาให้อะตอมของไฮโดรเจน ซึ่งมีอยู่มากบนดวงอาทิตย์ทาปฏิกริยาเปลี่ยนเป็นฮีเลียม
  • 8. ดาวพุธ ( Mercury ) ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดดังนั้นดาวพุธจึง ร้อนจัดในเวลากลางวันและเย็นจัดในเวลวกลางคืนดาวพุธเป็นดาว เคราะห์ดวงเล็กโตกว่าดวงจันทร์ของเราเพียงเล็กน้อย ภาพถ่าย ทั้งหลายที่เกี่ยวกับดาวพุธได้จากยานอวกาศที่ส่งขึ้นไปขณะเข้าไปใกล้ ดาวพุธที่สุดก็จะถ่ายภาพส่งมายังโลก ทาให้รู้ว่าพื้นผิวดาวพุธคล้ายกับ ผิวดวงจันทร์ ผิวดาวพุธส่วนใหญ่เป็นฝุ่นและหิน มีหลุมลึกมากมาย ไม่มีอากาศ ไม่มีน้า ดาวพุธจึงเป็นดาวแห้งแล้ง ดาวแห่งความตาย เป็นโลกแห่งทะเลทราย
  • 9. ดาวพุธ ( Mercury ) ดาวพุธเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์เร็วที่สุด โดยใช้เวลาเพียง 87.969 วันในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ดาวพุธหมุนรอบ ตัวเองในทิศทางเดียว กับการเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ คือ จากทิศ ตะวันตกไป ทิศตะวันออก หมุนรอบตัวเองรอบละ 58.6461 วัน เมื่อพิจารณาจากคาบของการหมุนรอบตัวเอง และการคาบการ เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ จะพบว่าระยะเวลากลางวัน ถึงกลางคืนบน ดาวพุธยาวนานถึง 176 วัน ซึ่งยาวนานที่สุดในระบบสุริยะ
  • 10. ดาวพุธ ( Mercury ) พื้นผิวของดาวพุธมีลักษณะคล้ายดวงจันทร์ โดยเฉพาะด้านไกล โลก เพราะต่างไม่มีบรรยากาศ แต่ดาวพุธมีขนาดใหญ่กว่า มีแรงโน้มถ่วง สูงกว่า ขอบหลุมบนดาวพุธจึงเตี้ยกว่าบนดวงจันทร์ ยานอวกาศที่เข้าไป เฉียดใกล้ๆ ดาวพุธและนาภาพมาต่อกันจนได้ภาพพื้นผิวดาวพุธดัง กล่าวคือ ยานอวกาศมารีเนอร์ 10 ของสหรัฐอเมริกาเมื่อ พ.ศ. 2517 นับว่าเป็นยานลาแรกและลาเดียวที่ส่งไปสารวจดาวพุธ
  • 12. ดาวศุกร์ ( Venus ) ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่ร้อนที่สุดในระบบสุริยะ บนดาวศุกร์ร้อน ถึง 480 องศาเซลเซียส ความร้อนขนาดนี้มากจนทาให้ของทุกอย่างลุก แดงดาวศุกร์มไอหมอกของกรดกามะถันปกคลุมอย่างหนาแน่น ไอหมอก ี นี้ไม่มีวนจางหายแม้วาแสงอาทิตย์จะจัดจ้าเพียงไร จึงเป็นไปไม่ได้ที่ ั ่ มนุษย์จะไปเยี่ยมดาวศุกร์ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างดวงอาทิตย์ เป็นลาดับที่ 2 มีขนาดเล็กกว่าโลกเล็กน้อย จึงได้ชื่อว่าเป็นดาวฝาแฝด กับโลก เป็นดาวเคราะห์ที่ปรากฏสว่างที่สุด สว่างรองจากดวงอาทิตย์และ ดวงจันทร์ ถ้าเห็นทางทิศตะวันตกในเวลาค่าเรียกว่า ดาวประจาเมือง และถ้าเห็นทางทิศตะวันออกในเวลาก่อนรุ่งอรุณ เรียกว่า ดาว ประกายพรึก
  • 13. ดาวศุกร์ ( Venus ) ลักษณะพิเศษของดาวศุกร์คือ หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใช้เวลานานกว่าการ เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ และถ้าเราอยู่บนดาวศุกร์เวลา 1 วัน จะไม่ยาว เท่ากับเวลาที่ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเอง 1 รอบ นี่คือลักษณะพิเศษที่ดาวศุกร์ไม่ เหมือนดาวเคราะห์ดวงใดๆ นอกจากนี้ดาวศุกร์ยังหมุนตามเข็มนาฬิกาหรือหมุน จากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ในขณะที่เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์จากทิศ ตะวันตกไปทิศตะวันออก ดาวศุกร์จึงหมุนสวนทางกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และ หมุนสวนทางกับการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเองรอบละ 243 วัน แต่ 1 วันของดาวศุกร์ยาวนานเท่ากับ 117 วันของโลก เพราะตั้งแต่ดวง อาทิตย์ขึ้นจนถึงดวงอาทิตย์ตกยาวนาน 58.5 วันของโลก ดาวศุกร์เคลื่อนรอบ ดวงอาทิตย์รอบละ 225 วัน 1 ปีของดาวศุกร์จงยาวนาน 225 วันของโลก ึ
  • 15. โลก ( Earth ) โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ เนื่องจากมี ชั้นบรรยากาศและมีระยะห่าง จากดวงอาทิตย์ที่เหมาะสมต่อการ เจริญเติบโตและการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต นักดาราศาสตร์อธิบาย เกี่ยวกับการเกิดโลกว่า โลกเกิดจากการรวมตัวของกลุ่มก๊าซ และมี การเคลื่อนทีสลับซับซ้อนมากโลกหมุนรอบดวงอาทิตย์เป็นวงโคจร ซึ่งใช้เวลา 365.25 วัน เพื่อให้ครบ 1 รอบ ปฏิทินแต่ละปีมี 365 วัน ซึ่งหมายความว่าจะมี 1/4 ของวันที่เหลือในแต่ละปี ซึ่งทุกๆปีสี่ปี จะมีวันพิเศษ คือจะมี 366 วัน กล่าวคือเดือนกุมภาพันธ์จะมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันเหมือนปกติ
  • 16. โลก ( Earth ) ในเดือนธันวาคมมันจะอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าเดือนมิถุนายน ซึ่ง มันจะอยู่หางไกลจากดวงอาทิตย์มากที่สุดโลกจะเอียงไปตามเส้นแกน ใน ่ เดือนมิถุนายน ซีกโลกเหนือจะเอียงไปทางดวงอาทิตย์ดังนั้น ซีกโลก เหนือจะเป็นฤดูร้อนและซีกโลกใต้จะเป็นฤดูหนาว ในเดือนธันวาคมจะ เอียงจากดวงอาทิตย์ ทาให้ซีกโลกเหนือเป็นฤดูหนาวและซีกโลกใต้เป็นฤดู ร้อน ในเดือนมีนาคมและกันยายน ซีกโลกทั้งสองไม่เอียงไปยังดวง อาทิตย์ กลางวันและกลางคืนจึงมีความยาวเท่ากัน ในเดือนมีนาคม ซีก โลกเหนือจะเป็นฤดูใบไม้ผลิ และซีกโลกใต้เป็นฤดูใบไม้ร่วง ในเดือน กันยายน สถานการณ์จะกลับกัน
  • 18. ดาวอังคาร ( Mars ) อยูห่างจากโลกของเราเพียง 35 ล้านไมล์ และ 234 ล้าน ่ ไมล์ เนื่องจากมีวงโคจรรอบดวง อาทิตย์เป็นวงรี พื้นผิวดาวอังคาร มีปรากฏการณ์เมฆและพายุฝุ่นเสมอ เป็นที่น่าสนใจในการศึกษาของ นักวิทยาศาสตร์เป็นอย่างมาก เนื่องจากมีลักษณะและองค์ประกอบที่ ใกล้เคียงกับโลก เช่น มีระยะเวลาในการหมุนรอบตัวเอง 1 วัน เท่ากับ 24.6 ชั่วโมง และระยะเวลาใน 1 ปี เมื่อเทียบกับโลกเท่ากับ 1.9 มีการเอียงของแกน 25 องศา ดาวอังคารมีดวงจันทร์เป็น บริวาร 2 ดวง
  • 19. ดาวอังคาร ( Mars ) ดาวอังคารบางทีก็เรียกกันว่าดาวแดงเพราะผิวพื้นเป็นหินสีแดง หินบนดาวอังคารที่มีสีแดงก็เพราะเกิดสนิมท้องฟ้าของดาวดังคารเป็นสี ชมพูเพราะฝุ่นจากหินแดงที่วานี้ ผิวของดาวอังคารเหมือนกับทะเลหิน ่ แดง มีก้องหินใหญ่และหลุมลึก ภูเขาสูง หุบ เหว และเนินมากมาย หนึง ่ ปีบนดาวอังคารเกือบเทาสองปีโลก แต่หนึงวันบนดาวอังคารจะนานกว่า ่ ครึงชั่งโมงโลกเพียงเล็กน้อยดาวอังคารมีอากาศห่อหุ้มอยู่ไม่มากและเป็น ่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ลมพัดแรงจัดทาให้ฝุ่นฟุ้ง ไปทั้งดวงดาว ดาว อังคารมีขนาดโตประมาณครึ่งหนึ่งของโลก ดาวอังคารอยูไกลดวงอาทิตย์ มากกว่าโลกจึงทาให้มีบรรยากาศหนาวเย็น อุณหภูมิบนดาวดวงนี้จะต่า กว่าจุดเยือกแข็ง
  • 21. ดาวพฤหัสบดี ( Jupiter ) เป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สดในระบบสุริยะจักรวาล หมุนรอบ ุ ตัวเอง 1 รอบใช้เวลา 9.8 ชั่วโมง ซึ่งเร็วที่สุดในบรรดาดาว เคราะห์ทั้งหลาย และโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลา12 ปี นักดาราศาสตร์อธิบายว่า ดาวพฤหัสเป็นกลุ่มก้อนก๊าซหรือของเหลว ขนาดใหญ่ ที่ไม่มีส่วนที่เป็นของแข็งเหมือนโลก และเป็นดาวเคราะห์ ที่มีดวงจันทร์เป็นดาวบริวารมากถึง 16 ดวง
  • 22. ดาวพฤหัสบดี ( Jupiter ) ดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ยักษ์ เพราะมีขนาดใหญ่ที่สุดใน ระบบสุริยะ มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11.2 เท่า นอกจากนี้ยัง ได้ชื่อว่าเป็นดาวเคราะห์ก๊าซ เพราะมีองค์ประกอบเป็นก๊าซ ไฮโดรเจนและฮีเลียมคล้ายในดวงอาทิตย์ ความหนาแน่นของดาว พฤหัสบดีจึงต่า (1.33 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร) เมื่อดูในกล้อง โทรทรรศน์ จะเห็นเป็นดวงกลมโตกว่าดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ พร้อม สังเกตเห็นบริวาร 4 ดวงใหญ่เรียงกันอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตรด้วย กาลิเลโอเป็นนักดาราศาสตร์คนแรกที่ใช้กล้องส่องพบบริวาร สี่ดวงใหญ่นี้ จึงได้รับเกียรติว่าเป็นดวงจันทร์ของกาลิเลโอ
  • 24. ดาวเสาร์ ( Saturn ) เป็นดาวเคราะห์ที่เราสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เป็นดาว ที่ประกอบไปด้วยก๊าซและของ เหลวสีค่อนข้างเหลือง หมุนรอบ ตัวเอง 1 รอบใช้เวลา 10.2 ชั่วโมง และโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบใช้เวลา 29 ปี ลักษณะเด่นของดาวเสาร์ คือ มีวงแหวน ล้อมรอบ ซึ่งวงแหวนดังกล่าวเป็นอนุภาคเล็กๆ หลายชนิดที่ หมุนรอบดาวเสาร์มีวงแหวนจานวน 3 ชั้น ดาวเสาร์มีดวงจันทร์ เป็นดาวบริวาร 1 ดวง และมีดวงจันทร์ดวงหนึ่งชื่อ Titan ซึ่งถือ ว่าเป็นดวงจันทร์ที่ใหญ่ที่สดในระบบสุริยะจักรวาล ุ
  • 25. ดาวเสาร์ ( Saturn ) ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีความสวยงาม จากวงแหวนที่ ล้อมรอบ เมื่อดูในกล้องโทรทรรศน์จะเห็นวงแหวน ซึ่งทาให้ดาว เสาร์มีลักษณะแปลกกว่าดาวดวงอื่นๆ ดาวเสาร์มีองค์ประกอบคล้าย ดาวพฤหัสบดี เป็นดาวเคราะห์ก๊าซที่มีลมพายุพัดแรงความเร็วถึง 1,125 ไมล์ต่อชั่วโมง มีขนาดใหญ่รองจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ เป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นน้อยทีสุด กล่าวคือมีความ ่ หนาแน่นเพียง 0.7 กรัมต่อลูกบาศก์ เซนติเมตร ซึ่งน้อยกว่าความ หนาแน่นของน้า ดังนั้นหากมีน้าจานวนมากรองรับ ดาวเสาร์ก็จะ ลอยน้าได้
  • 27. ดาวยูเรนัส ( Uranus ) ดาวเคราะห์ชั้นนอกดวงต่อไปถัดจากดาวเสาร์ได้แก่ดาว ยูเรนัส ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่เป็นที่สามในระบบ สุริยะ มันมีลักษณะเลือนลาง จะต้องมองดูด้วย กล้องโทรทัศน์เท่านั้นจึงสามารถมองเห็น เราเคยคิดว่ามัน เป็นดาวฤกษ์ ในปี 1781 William Herschel ได้ใช้ กล้องโทรทัศน์ค้นพบว่า ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์
  • 28. ดาวยูเรนัส ( Uranus ) ดาวยูเรนัสหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ ใช้เวลา 16.8 ชั่วโมง และ โคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลา 84 ปี ดาวยูเรนัส ประกอบด้วยก๊าซและของเหลว เช่นเดียวกับ ดาวพฤหัส และดาว เสาร์ 4.8 ดาวเนปจูน (Neptune) เป็นดาวเคราะห์ที่มีระยะเวลา ในการหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ เท่ากับ 17.8 ชั่วโมง และระยะ เวลา ในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ เท่ากับ 165 ปี มีดวงจันทร์ เป็นดาวบริวาร 2 ดวง
  • 30. ดาวเนปจูน ( Neptune ) ดาวเนปจูนโตเกือบเท่าดาวยูเรนัส มันเป็นดาวเคราะห์ที่ ใหญ่เป็นอันดับสี่ในระบบสุริยะ มันอยู่ห่างไกลจากโลกมาก จึงทาให้มองเห็นสลัวมาก ดาวเนปจูนสามารถมองเห็นได้ ด้วยกล้องสองตา มันดูคล้ายกับดาวฤกษ์ ยังไม่มียานอวกาศ ที่เคยไปยังดาวเนปจูน สิ่งที่เรารู้ทั้งหมดก็คือ ดาวเคราะห์ ดวงนี้มองเห็นจากโลก
  • 31. ดาวเนปจูน ( Neptune ) ในปี 1845 นักดาราศาสตร์สองคนที่ทางานคนละที่ในอังกฤษ และฝรั่งเศสรู้ว่าดาวเคราะห์ดวงใหม่อยู่ทใหน ทั้งสองมีความเห็น ี่ ตรงกัน คนอื่นๆก็เริ่มลงมือศึกษาดาวเคราะห์ดวงใหม่นี้ ในปี 1846 ชาวเยอรมันชื่อ Johann Galle ได้พบโลกใหม่ด้วย กล้องโทรทัศน์ขนาดใหญ่ มันอยู่ในตาแหน่งที่นักดาราศาสตร์คนอื่น ได้ระบุไว้ก่อนแล้ว ดาวเคราะห์ดวงใหม่มีสีน้าเงินมีชื่อว่าดาวเนปจูน ตามชื่อเทพเจ้าแห่งทะเลโรมัน
  • 33. ดาวพลูโต ( Pluto ) เป็นดาวเคราะห์ดวงสุดท้ายของระบบสุริยะจักรวาล มีระยะ เวลาในการหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ รอบ เท่ากับ 453 ชั่วโมง ระยะเวลาในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ เท่ากับ 248 ปี เป็น ดวงดาวที่มีขนาดใกล้เคียงกับดาวพุธ และมีระยะห่างจากดวงอาทิตย์ มากที่สุด ”แต่ปัจจุบันได้นักวิทยาศาสตร์ได้นาออกจากระบบสุริยะ จักรวาลแล้ว”
  • 34. ดาวพลูโต ( Pluto ) เมื่อมีการค้นพบดาวเนปจูน ได้ประมาณขนาดและการหมุนรอบ ของมัน แต่ผลที่ออกมาไม่ได้เป็นไปตามที่คาดคิด ผลที่ได้ไม่สามารถ อธิบายการหมุนที่ผิดปกติของดาวยูเรนัส บางทีอาจมีดาวเคราะห์อีก ดวงที่อยู่ถัดจากดาวเนปจูน บางทีอาจเป็นแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์ ดวงนี้ดึงดูดดาวยูเรนัส ได้มีการเริ่มค้นหาดาวเคราะห์ดวงที่เก้าใน ระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ดวงใหม่นี้ถูกค้นพบในปี 1930 ชาวอเมริกันชื่อ Clyde Tombaugh ได้ถ่ายภาพของมันบนท้องฟ้า ดาวเคราะห์ดวง นี้มีชื่อว่าดาวพูลโต สามารถมองเห็นได้โดยการใช้กล้องโทรทัศน์ขนาด ใหญ่เท่านั้น
  • 35. อ้างอิง • http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/p hitsanulok/suwicha_p/mercury.html • http://hilight.kapook.com/view/19498 • http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0 %E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E 0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B0