SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับ การบริบาลทางเภสัชกรรม 
โรงพยาบาลบางละมุง จังหวัดชลบุรี 
ภญ.ชนิกา ชูพันธ์ 
ภก.รชานนท์ หิรัญวงษ์
หลักการและเหตุผล 
โรคหืดเป็นโรคที่พบบ่อยในประเทศไทย และเป็นโรคที่มี ผลกระทบต่อผู้ป่วยและระบบสาธารณสุขค่อนข้างสูง อุบัติการณ์ของ โรคหืดในผู้ใหญ่คือร้อยละ 6.9 
ผู้ป่วยมากกว่าครึ่งไม่สามารถทากิจกรรมต่างๆ ได้เช่นคน ปกติ ผู้ป่วยมักมีอาการไอ แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีดหรือหอบ เหนื่อยเกิดขึ้น เมื่อได้รับสารก่อโรค หรือสิ่งกระตุ้น และอาการเหล่านี้ อาจ หายไปได้เอง หรือหายไปเมื่อได้รับยาขยายหลอดลม1,2
ประเทศไทยได้มีการจัดทาแนวทางการรักษาโรคหืดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2537 โดยมีเนื้อหาตาม GINA guideline 1995 แต่ถึงจะมีการนาแนว ทางการรักษาดังกล่าวมาใช้อย่างแพร่หลาย กลับพบว่าการควบคุมโรค หืดยังต่ากว่ามาตรฐานที่ตั้งไว้ ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลของโรงพยาบาล บางละมุง จังหวัดชลบุรี ที่มีการรวบรวมข้อมูลของผู้ป่วยที่ได้รับยาพ่น ขยายหลอดลมฉับพลัน (reliever) ณ ห้องฉุกเฉิน ระหว่างเดือนมกราคม ถึงมิถุนายน 2555 คิดเป็นร้อยละ 17 ของจานวนผู้ป่วยทั้งหมด 
หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล 
ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลบางละมุง จึงได้มีการจัดตั้งคลินิกโรค หืด โดยจัดให้มีเภสัชกรให้การบริบาลทางเภสัชกรรมร่วมกับทีมสห วิชาชีพ โดยมีการให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วยให้ตระหนักต่อโรค การ หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่อโรค ความสาคัญของยา วิธีการพ่นยาที่ถูกต้อง เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมโรคหืดได้ จึงได้ดาเนินการวิจัยเพื่อประเมิน ผลลัพธ์ และนาผลที่ได้มาพัฒนาการดาเนินงานต่อไป
วัตถุประสงค์การศึกษา 
1.ประเมินผลในการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัช กรรม 
2.ประเมินผลต่อทักษะและความสามารถในการใช้ยาสูดของผู้ป่วย 
3.ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับการใช้ยาของผู้ป่วย
วิธีการศึกษา 
การศึกษาแบบไปข้างหน้า 
ประชากรคือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหืดและเข้ารับการ รักษาในคลินิกโรคหืด แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลบางละมุง ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วิธีการศึกษา 
การประเมิน 
ผลการประเมิน 
(คะแนน) 
1.1 เขย่าขวดยาให้ยากระจายตัวดี 
1.2 เปิดฝาครอบออกแล้วต่อท่อช่วยพ่นยา (ถ้ามี) เข้ากับหลอดยาจนแน่น 
1.3 หายใจเข้า - ออก 1 ครั้ง 
1.4 ตั้งหลอดยาขึ้น อมปลายหลอดยา และหุบปากให้สนิท 
1.5 หายใจเข้าทางปากพร้อมกดพ่นยา 1 ครั้งกับสูดยาเข้าปอดช้าๆ ลึกๆ 
1.6 กลั้นหายใจไว้อย่างน้อย 5 - 10 วินาที 
1.7 หายใจออกทางจมูกช้าๆ 
1.8 หากต้องการพ่นยาซ้า ควรทิ้งช่วงจากครั้งแรกประมาณ 1 นาที 
1.9 กรณีพ่นยาสูดสเตียรอยด์ให้บ้วนปากด้วยน้าสะอาด หรือแปรงฟันหลัง พ่นยาทุกครั้ง
วิธีการศึกษา
ขั้นตอนการดาเนินการ 1. ทาการประเมินและเก็บข้อมูลเมื่อได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมครั้ง แรก ที่ 3 เดือน และ 6 เดือนหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม โดย ทุกครั้งก่อนเก็บข้อมูลจะให้การบริบาลดังต่อไปนี้ อธิบายวิธีการพ่นยา, ยา รักษาโรค, สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงและการปฏิบัติตัว 2. วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ chi-squared และ paired t-test 
วิธีการศึกษา
ผลการศึกษา 
ข้อมูลทั่วไป (n = 62) 
จานวน (ราย) 
ร้อยละ 
เพศ 
ชาย 
หญิง 
14 
48 
22.6 
77.4 
อายุ (ปี) 
ต่ากว่า 15 
15 – 40 
41 – 60 
มากกว่า 60 
ค่าเฉลี ย + SD 
1 
12 
36 
13 
49.1 + 12.4 
1.6 
19.4 
58.1 
20.9
ข้อมูลทั่วไป (n = 62) 
จานวน (ราย) 
ร้อยละ 
ประเภทยาที ผู้ป่วยได้รับ 
Inhaled corticosteroid (ICS) 
ICS + short acting beta 2 agonist (SABA) 
ICS / long acting beta 2 agonist (LABA) + SABA 
4 
31 
27 
6.5 
50 
33.5 
ผลการศึกษา
ผลลัพธ์ 
จ่านวนผู้ป่วย (ร้อยละ) 
ก่อนได้รับการ บริบาล 
3 เดือนหลัง ได้รับการ บริบาล 
p-value 
6 เดือนหลัง ได้รับการบริบาล 
p-value 
ผลการควบคุมโรคหืด 
Controlled 
Partly control 
Uncontrolled 
9 (14.5) 
38 (61.3) 
15 (24.2) 
11 (17.7) 
39 (62.9) 
12 (19.4) 
0.625 
0.853 
0.514 
14 (22.6) 
36 (58.1) 
12 (19.4) 
0.248 
0.714 
0.514 
- 3 และ 6 เดือนหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม มีผู้ป่วยที่ สามารถควบคุมโรคหืดได้ เพิ่มมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเริ่มต้น การศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมา4,5
ผลลัพธ์ 
จ่านวนผู้ป่วย (ร้อยละ) 
ก่อนได้รับการ บริบาล 
3 เดือนหลัง ได้รับการ บริบาล 
p-value 
6 เดือนหลัง ได้รับการบริบาล 
p-value 
สามารถใช้ยาสูดได้ถูกต้อง 
47 (75.8) 
52 (83.8) 
0.263 
56 (90.3) 
0.031* 
- ที่ 3 และ 6 เดือนหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม มีผู้ป่วยสามารถใช้ ยาสูดได้ถูกต้อง เพิ่มมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเริ่มต้นการศึกษา โดยเฉพาะที่ 6 เดือนหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมพบว่าเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ สอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมา4,6,7
ผลลัพธ์ 
จ่านวนผู้ป่วย (ร้อยละ) 
ก่อนได้รับการ บริบาล 
3 เดือนหลัง ได้รับการ บริบาล 
p-value 
6 เดือนหลัง ได้รับการบริบาล 
p-value 
ปัญหาเกี ยวกับการใช้ยา 
ไม่พ่นยาตามสั ง 
ขาดยา 
เกิดผลข้างเคียงจากยา 
2 (3.2) 
1 (1.6) 
1 (1.6) 
1 (3.2) 
0 
1 (3.2) 
0.559 
0.315 
1 
0 
0 
0 
0.154 
0.315 
0.315 
- ปัญหาเกี่ยวกับการใช้ยานั้นพบได้น้อยกว่าการศึกษาอื่น4 เป็นเพราะผู้วิจัยเก็บ ข้อมูลเฉพาะปัญหาที่เกิดจากตัวผู้ป่วยเองได้แก่ การไม่พ่นยาตามสั่งหรือขาดยา ไม่ได้เก็บข้อมูลในส่วนของปัญหาที่เกิดจากการเลือกใช้ยา
สรุปผลการศึกษา 
การศึกษานี้สามารถประเมินผลในการควบคุมโรคหืด ทักษะและ ความสามารถในการใช้ยาสูดของผู้ป่วยหลังจากได้รับการบริบาลทาง เภสัชกรรมได้ โดยพบว่า การบริบาลทางเภสัชกรรม สามารถเพิ่ม ความสามารถในการใช้ยาสูดของผู้ป่วย ซึ่งส่งผลให้ผู้ป่วยสามารถ ควบคุมโรคหืดได้มากขึ้น และสามารถลดปัญหาเกี่ยวกับการใช้ยาที่เกิด จากผู้ป่วยได้
ข้อเสนอแนะและการนาไปใช้ประโยชน์ 
เนื่องจากการศึกษานี้ไม่ได้มีการเก็บข้อมูลในเรื่องของการเลือกใช้ ยาว่าเป็นไปตามแนวทางการรักษา GINA guideline หรือไม่ และไม่ได้ ศึกษาความตระหนักต่อปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมโรคหืดของผู้ป่วย ได้แก่ ความรู้ด้านโรค การใช้ยา การมาคลินิกตามนัด สิ่งกระตุ้นให้โรค กาเริบ และการออกกาลังกาย ทั้งก่อนและหลังการบริบาลทางเภสัช กรรม จึงไม่สามารถบอกได้ว่าผลลัพธ์ในการควบคุมโรคที่ดีขึ้น เกิดจาก การเพิ่มขึ้นในปัจจัยด้านใด จึงเสนอแนะให้มีการเก็บข้อมูลเหล่านี้ใน การศึกษาที่จะทาต่อไปในอนาคต
1.อภิชาต คณิตทรัพย์ และ มุกดา หวังวีรวงศ์, แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย สาหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555, 5th ed. กรุงเทพฯ: สมาคมสภา โรคหืดแห่งประเทศไทย; 2555. 
2.The Global Initiative for Asthma. GINA report, Global Strategy for Asthma Management and Prevention. Available at: http://www.ginasthma.org/documents/4. Accessed Aug 31, 2013. 
3.World Health Organization. Fact sheet No 307 Asthma. Available at: http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs307/en. Accessed Aug 31, 2013. 
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง 
4.ปิยวรรณ กุวลัยรัตน์, ภารดี มยาเศส, อนุ ทองแดง, ณกานต์ชญาน์ นววัชรินทร์. การประเมินผลการบริบาลทางเภสัชกรรมสาหรับผู้ป่วยโรคหืดโดยเภสัชกรใน ทีมสหวิชาชีพ. วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล. 2555; 22(1): 22 – 32. 
5.Boonsawat W, Charoenphan P, Kiatboonsri S, Wongtim S, Viriyachaiyo V, Pothirat C, Survey of asthma control in Thailand. Respirology 2004; 9:373-8. 6.ชาญชัย จันทร์วรชัยกุล. ผลลัพธ์ของการจัดคลินิกโรคหืดอย่างง่ายในโรงพยาบาล ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์. ศรีนครินทร์เวชสาร. 2550; 22(4):449-58. 7.เกรียงศักดิ์ หาญสิทธิพร. ผลลัพธ์ของการจัดคลินิกโรคหืดแบบง่ายใน โรงพยาบาลเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม. ศรีนครินทร์เวชสาร. 2555; 27(2):167- 71.
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม

More Related Content

What's hot

แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2Techin Pha-In
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...MedicineAndHealth
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
The health behavior of obesity of student health
The health behavior of obesity of student healthThe health behavior of obesity of student health
The health behavior of obesity of student healthUtai Sukviwatsirikul
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Lek Suthida
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆTuanthon Boonlue
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาduangkaew
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 

What's hot (17)

แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
The health behavior of obesity of student health
The health behavior of obesity of student healthThe health behavior of obesity of student health
The health behavior of obesity of student health
 
Asthma guideline for children
Asthma guideline for childrenAsthma guideline for children
Asthma guideline for children
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
Cpg mdd-gp
Cpg mdd-gpCpg mdd-gp
Cpg mdd-gp
 

Similar to ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม

2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 sspravina Chayopan
 
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdf
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdfReview of the drug treatment of binge eating disorder.pdf
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdfssuser7a65a6
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesUtai Sukviwatsirikul
 
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าsucheera Leethochawalit
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 

Similar to ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม (20)

Aerius drug monograph
Aerius drug monograph Aerius drug monograph
Aerius drug monograph
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
Analytical Study
Analytical StudyAnalytical Study
Analytical Study
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss
 
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdf
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdfReview of the drug treatment of binge eating disorder.pdf
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdf
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
Rama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public PolicyRama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public Policy
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
Cpg obesity
Cpg obesityCpg obesity
Cpg obesity
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 
Drospirenone
Drospirenone Drospirenone
Drospirenone
 
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 

More from Rachanont Hiranwong

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับRachanont Hiranwong
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงRachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...Rachanont Hiranwong
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...Rachanont Hiranwong
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558Rachanont Hiranwong
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานRachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง Rachanont Hiranwong
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดRachanont Hiranwong
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาRachanont Hiranwong
 

More from Rachanont Hiranwong (20)

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
 
RDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung HospitalRDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung Hospital
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 

ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม

  • 2. หลักการและเหตุผล โรคหืดเป็นโรคที่พบบ่อยในประเทศไทย และเป็นโรคที่มี ผลกระทบต่อผู้ป่วยและระบบสาธารณสุขค่อนข้างสูง อุบัติการณ์ของ โรคหืดในผู้ใหญ่คือร้อยละ 6.9 ผู้ป่วยมากกว่าครึ่งไม่สามารถทากิจกรรมต่างๆ ได้เช่นคน ปกติ ผู้ป่วยมักมีอาการไอ แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีดหรือหอบ เหนื่อยเกิดขึ้น เมื่อได้รับสารก่อโรค หรือสิ่งกระตุ้น และอาการเหล่านี้ อาจ หายไปได้เอง หรือหายไปเมื่อได้รับยาขยายหลอดลม1,2
  • 3. ประเทศไทยได้มีการจัดทาแนวทางการรักษาโรคหืดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2537 โดยมีเนื้อหาตาม GINA guideline 1995 แต่ถึงจะมีการนาแนว ทางการรักษาดังกล่าวมาใช้อย่างแพร่หลาย กลับพบว่าการควบคุมโรค หืดยังต่ากว่ามาตรฐานที่ตั้งไว้ ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลของโรงพยาบาล บางละมุง จังหวัดชลบุรี ที่มีการรวบรวมข้อมูลของผู้ป่วยที่ได้รับยาพ่น ขยายหลอดลมฉับพลัน (reliever) ณ ห้องฉุกเฉิน ระหว่างเดือนมกราคม ถึงมิถุนายน 2555 คิดเป็นร้อยละ 17 ของจานวนผู้ป่วยทั้งหมด หลักการและเหตุผล
  • 4. หลักการและเหตุผล ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลบางละมุง จึงได้มีการจัดตั้งคลินิกโรค หืด โดยจัดให้มีเภสัชกรให้การบริบาลทางเภสัชกรรมร่วมกับทีมสห วิชาชีพ โดยมีการให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วยให้ตระหนักต่อโรค การ หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่อโรค ความสาคัญของยา วิธีการพ่นยาที่ถูกต้อง เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมโรคหืดได้ จึงได้ดาเนินการวิจัยเพื่อประเมิน ผลลัพธ์ และนาผลที่ได้มาพัฒนาการดาเนินงานต่อไป
  • 5. วัตถุประสงค์การศึกษา 1.ประเมินผลในการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัช กรรม 2.ประเมินผลต่อทักษะและความสามารถในการใช้ยาสูดของผู้ป่วย 3.ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับการใช้ยาของผู้ป่วย
  • 6. วิธีการศึกษา การศึกษาแบบไปข้างหน้า ประชากรคือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหืดและเข้ารับการ รักษาในคลินิกโรคหืด แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลบางละมุง ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
  • 7. วิธีการศึกษา การประเมิน ผลการประเมิน (คะแนน) 1.1 เขย่าขวดยาให้ยากระจายตัวดี 1.2 เปิดฝาครอบออกแล้วต่อท่อช่วยพ่นยา (ถ้ามี) เข้ากับหลอดยาจนแน่น 1.3 หายใจเข้า - ออก 1 ครั้ง 1.4 ตั้งหลอดยาขึ้น อมปลายหลอดยา และหุบปากให้สนิท 1.5 หายใจเข้าทางปากพร้อมกดพ่นยา 1 ครั้งกับสูดยาเข้าปอดช้าๆ ลึกๆ 1.6 กลั้นหายใจไว้อย่างน้อย 5 - 10 วินาที 1.7 หายใจออกทางจมูกช้าๆ 1.8 หากต้องการพ่นยาซ้า ควรทิ้งช่วงจากครั้งแรกประมาณ 1 นาที 1.9 กรณีพ่นยาสูดสเตียรอยด์ให้บ้วนปากด้วยน้าสะอาด หรือแปรงฟันหลัง พ่นยาทุกครั้ง
  • 9. ขั้นตอนการดาเนินการ 1. ทาการประเมินและเก็บข้อมูลเมื่อได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมครั้ง แรก ที่ 3 เดือน และ 6 เดือนหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม โดย ทุกครั้งก่อนเก็บข้อมูลจะให้การบริบาลดังต่อไปนี้ อธิบายวิธีการพ่นยา, ยา รักษาโรค, สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงและการปฏิบัติตัว 2. วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ chi-squared และ paired t-test วิธีการศึกษา
  • 10. ผลการศึกษา ข้อมูลทั่วไป (n = 62) จานวน (ราย) ร้อยละ เพศ ชาย หญิง 14 48 22.6 77.4 อายุ (ปี) ต่ากว่า 15 15 – 40 41 – 60 มากกว่า 60 ค่าเฉลี ย + SD 1 12 36 13 49.1 + 12.4 1.6 19.4 58.1 20.9
  • 11. ข้อมูลทั่วไป (n = 62) จานวน (ราย) ร้อยละ ประเภทยาที ผู้ป่วยได้รับ Inhaled corticosteroid (ICS) ICS + short acting beta 2 agonist (SABA) ICS / long acting beta 2 agonist (LABA) + SABA 4 31 27 6.5 50 33.5 ผลการศึกษา
  • 12. ผลลัพธ์ จ่านวนผู้ป่วย (ร้อยละ) ก่อนได้รับการ บริบาล 3 เดือนหลัง ได้รับการ บริบาล p-value 6 เดือนหลัง ได้รับการบริบาล p-value ผลการควบคุมโรคหืด Controlled Partly control Uncontrolled 9 (14.5) 38 (61.3) 15 (24.2) 11 (17.7) 39 (62.9) 12 (19.4) 0.625 0.853 0.514 14 (22.6) 36 (58.1) 12 (19.4) 0.248 0.714 0.514 - 3 และ 6 เดือนหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม มีผู้ป่วยที่ สามารถควบคุมโรคหืดได้ เพิ่มมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเริ่มต้น การศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมา4,5
  • 13. ผลลัพธ์ จ่านวนผู้ป่วย (ร้อยละ) ก่อนได้รับการ บริบาล 3 เดือนหลัง ได้รับการ บริบาล p-value 6 เดือนหลัง ได้รับการบริบาล p-value สามารถใช้ยาสูดได้ถูกต้อง 47 (75.8) 52 (83.8) 0.263 56 (90.3) 0.031* - ที่ 3 และ 6 เดือนหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม มีผู้ป่วยสามารถใช้ ยาสูดได้ถูกต้อง เพิ่มมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเริ่มต้นการศึกษา โดยเฉพาะที่ 6 เดือนหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมพบว่าเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ สอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมา4,6,7
  • 14. ผลลัพธ์ จ่านวนผู้ป่วย (ร้อยละ) ก่อนได้รับการ บริบาล 3 เดือนหลัง ได้รับการ บริบาล p-value 6 เดือนหลัง ได้รับการบริบาล p-value ปัญหาเกี ยวกับการใช้ยา ไม่พ่นยาตามสั ง ขาดยา เกิดผลข้างเคียงจากยา 2 (3.2) 1 (1.6) 1 (1.6) 1 (3.2) 0 1 (3.2) 0.559 0.315 1 0 0 0 0.154 0.315 0.315 - ปัญหาเกี่ยวกับการใช้ยานั้นพบได้น้อยกว่าการศึกษาอื่น4 เป็นเพราะผู้วิจัยเก็บ ข้อมูลเฉพาะปัญหาที่เกิดจากตัวผู้ป่วยเองได้แก่ การไม่พ่นยาตามสั่งหรือขาดยา ไม่ได้เก็บข้อมูลในส่วนของปัญหาที่เกิดจากการเลือกใช้ยา
  • 15. สรุปผลการศึกษา การศึกษานี้สามารถประเมินผลในการควบคุมโรคหืด ทักษะและ ความสามารถในการใช้ยาสูดของผู้ป่วยหลังจากได้รับการบริบาลทาง เภสัชกรรมได้ โดยพบว่า การบริบาลทางเภสัชกรรม สามารถเพิ่ม ความสามารถในการใช้ยาสูดของผู้ป่วย ซึ่งส่งผลให้ผู้ป่วยสามารถ ควบคุมโรคหืดได้มากขึ้น และสามารถลดปัญหาเกี่ยวกับการใช้ยาที่เกิด จากผู้ป่วยได้
  • 16. ข้อเสนอแนะและการนาไปใช้ประโยชน์ เนื่องจากการศึกษานี้ไม่ได้มีการเก็บข้อมูลในเรื่องของการเลือกใช้ ยาว่าเป็นไปตามแนวทางการรักษา GINA guideline หรือไม่ และไม่ได้ ศึกษาความตระหนักต่อปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมโรคหืดของผู้ป่วย ได้แก่ ความรู้ด้านโรค การใช้ยา การมาคลินิกตามนัด สิ่งกระตุ้นให้โรค กาเริบ และการออกกาลังกาย ทั้งก่อนและหลังการบริบาลทางเภสัช กรรม จึงไม่สามารถบอกได้ว่าผลลัพธ์ในการควบคุมโรคที่ดีขึ้น เกิดจาก การเพิ่มขึ้นในปัจจัยด้านใด จึงเสนอแนะให้มีการเก็บข้อมูลเหล่านี้ใน การศึกษาที่จะทาต่อไปในอนาคต
  • 17. 1.อภิชาต คณิตทรัพย์ และ มุกดา หวังวีรวงศ์, แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย สาหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555, 5th ed. กรุงเทพฯ: สมาคมสภา โรคหืดแห่งประเทศไทย; 2555. 2.The Global Initiative for Asthma. GINA report, Global Strategy for Asthma Management and Prevention. Available at: http://www.ginasthma.org/documents/4. Accessed Aug 31, 2013. 3.World Health Organization. Fact sheet No 307 Asthma. Available at: http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs307/en. Accessed Aug 31, 2013. เอกสารอ้างอิง
  • 18. เอกสารอ้างอิง 4.ปิยวรรณ กุวลัยรัตน์, ภารดี มยาเศส, อนุ ทองแดง, ณกานต์ชญาน์ นววัชรินทร์. การประเมินผลการบริบาลทางเภสัชกรรมสาหรับผู้ป่วยโรคหืดโดยเภสัชกรใน ทีมสหวิชาชีพ. วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล. 2555; 22(1): 22 – 32. 5.Boonsawat W, Charoenphan P, Kiatboonsri S, Wongtim S, Viriyachaiyo V, Pothirat C, Survey of asthma control in Thailand. Respirology 2004; 9:373-8. 6.ชาญชัย จันทร์วรชัยกุล. ผลลัพธ์ของการจัดคลินิกโรคหืดอย่างง่ายในโรงพยาบาล ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์. ศรีนครินทร์เวชสาร. 2550; 22(4):449-58. 7.เกรียงศักดิ์ หาญสิทธิพร. ผลลัพธ์ของการจัดคลินิกโรคหืดแบบง่ายใน โรงพยาบาลเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม. ศรีนครินทร์เวชสาร. 2555; 27(2):167- 71.