SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
1
บทความงานวิจัยเรื่อง
พฤติกรรมการออกกาลังกายก่อนและหลังการใช้โปรแกรมให้ความรู้ เรื่อง
อาหาร อารมณ์ อกกาลังกายของผู้สูงอายุ
บ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
รศ.ลาวัณย์ ผลสมภพ* นีรชา อินนวล** จันทรรัศม์ ไตรย์ปักษ์**
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น กาญจนบุรี
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการออกกาลังกาย
ของผู้สูงอายุบ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ก่อนและหลังการให้ความรู้เรื่อง 3 อ. (
อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป จานวน 60
คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ได้มาจากการสมัครใจของผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไปชาวบ้านใหม่
ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังการให้ความรู้
เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย ) และแบบวัดพฤติกรรมการออกกาลังกาย การวิเคราะห์ข้อมูล โดย
นาแบบสอบถามข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างมาแจกแจงค่าความถี่และค่าร้อยละ เปรียบเทียบความ
แตกต่างของค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบความรู้ก่อนและหลังให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย )
เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการออกกาลังกายก่อนและหลังให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ( อาหาร
อารมณ์ ออกกาลังกาย ) เป็นเวลา 3 สัปดาห์ และติดตามผลหลังการให้ความรู้ ผลการศึกษาพบว่า พบว่า หลัง
การทดลองผู้สูงอายุมีค่าเฉลี่ยด้านความรู้เรื่อง 3 อ. และพฤติกรรมการออกกาลังกายเพิ่มขึ้นจากก่อนการทดลอง
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p< 0.05)
จากผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการออกกาลังกายคือต้องการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี
ลดอาการปวดเมื่อยจากการทางาน ควรมีหน่วยงานที่จะให้ความรู้ สร้างสุขภาพกับพฤติกรรมการออกกาลังกาย
ของประชาชน เพื่อปลูกจิตสานึกในการให้ความสาคัญต่อสุขภาพและการออกกาลังกาย
2
Effects of the knowledge of the food emotions and exercise to the exercise behavior of
Aging in Banmai Donca Uthong Suphanburi
ABSTRACT
This study is an semi experimental study to investigate the effect of the exercise behaviors
of aging at Banmai Donca Uthong Suphanburi. Before and after the knowledge of the third
factors (food emotions and exercise ) The sample used in the study were aged 60 years and
older were 60 samples used in this study were derived from the application. minds of elderly
people aged 60 years at Banmai Donca Uthong Suphanburi. The tool uses a knowledge test
before and after the knowledge of the third factors (based on exercise) and exercise behavior.
Analysis of the survey data are the basis of the samples was analyzed using frequency and
percentage. Compare the difference of the average of the test results before and after the
application of knowledge to the knowledge of the third factors (food, emotions exercise,) to
compare the difference in mean exercise behavior before and after the application of
knowledge. for 3 weeks, and follow after knowledge. The results revealed that the aging have
found that the experimental value of the knowledge of the third factors, and exercise behavior
increased from the pretest. Statistical significance (p <0.05).
The results of this study show that exercise is like a healthy body and good mental health.
Relieve pain from work. Agencies should be aware of. Health and exercise behavior of
individuals. To raise awareness of the importance of health and fitness.
3
บทนา
การออกกาลังกายเป็นพฤติกรรมสุขภาพที่ดีต่อทุกเพศทุกวัย ซึ่งมีประโยชน์ทาให้ระบบต่างๆ ของร่างกาย
ทางานดีขึ้น ทาให้คลายเครียดและทาให้อายุยืน ( กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2548 : 9 ) ผู้ที่ขาดการ
ออกกาลังกายจะมีปัญหาสุขภาพและเป็นสาเหตุให้ตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็น 2 เท่าของคนออกกาลัง
กาย ( ประมาณ 2 ล้านคนต่อปี ) และเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด 2 เท่า โรคเบาหวาน
type 2 ( ร้อยละ 90 ) โรคอ้วน ( ร้อยละ 40 ) ความดันโลหิตสูง ( ร้อยละ 30 ) ฯลฯ ( WHO. 2002 : 23-25 )
ประเทศไทยพบว่าสาเหตุการตายจากโรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคเบาหวานอยู่ในระดับต้น ๆ ของประเทศ
นอกจากนี้การสารวจพฤติกรรมการออกกาลังกายของประชากรไทยปี พ.ศ. 2540 พบว่า ประชากรทั่วประเทศ
ประมาณ 53.9 ล้านคน จะมีผู้ออกกาลังกายเพียงประมาณ 16.6 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 30.7 ล้านคนและมีผู้
ไม่ออกกาลังกายถึงประมาณ 37.4 ล้านคน ร้อยละ 69.93 และยังพบว่าการเล่นกีฬาลดลงเมื่ออายุเพิ่มขึ้น คือ
ประชากรตั้งแต่อายุ 60 ปีขึ้นไป ออกกาลังกายเพียงร้อยละ 3.9 ( ประพิณพันธ์ ศรีสวรรค์. 2549 : 25 ) ส่วนใหญ่
ในกลุ่มอายุ 25-59 ปี ซึ่งเป็นคนที่อยู่ในวัยทางาน ออกกาลังกายเพียงร้อยละ 9.6 ในขณะที่เด็กอายุ 6-14 ปีจะ
ออกกาลังกายมากที่สุดคือร้อยละ 82.2 สาเหตุของผู้ไม่ออกกาลังกายเนื่องจากไม่มีเวลา ร้อยละ 51.4 และไม่สนใจ
ร้อยละ 40.4 ( สานักงานสถิติแห่งชาติ. 2540 : 36 ) จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าคนไทยส่วนใหญ่ขาดการ
ออกกาลังกาย จะส่งผลให้กลุ่มคนเหล่านี้เป็นโรคได้ง่ายเมื่ออายุมากขึ้น
ผู้สูงอายุมีจานวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในปี พ.ศ. 2543 พบว่ามีประชากร 62.3 ล้านคน มีประชากรอายุ
60 ปีขึ้นไป 5.7 ล้านคน ทาให้จานวนผู้สูงอายุเจ็บป่วยเพิ่มขึ้นด้วยมีการเจ็บป่วยจากสาเหตุต่างๆ ในแต่ละเดือน
ถึงร้อยละ 43.6 นอกจากนี้จากการสารวจสาเหตุการตายที่สาคัญในผู้สูงอายุพบว่าผู้สูงอายุตายโรคหัวใจ ในปี
พ.ศ. 2542 - 2544 มีอัตราตายต่อประชากร 100,000 คน เท่ากับ 257.7,179.9,182.2 ตามลาดับ ผู้สูงอายุตาย
ด้วยโรคเบาหวานในปี พ.ศ. 2542 - 2544 มีอัตราการตาย 74.8,82.1,88.4ตามลาดับ ( กระทรวงสาธารณสุข.
2545 : 10 ) ดังนั้น จึงควรมีการส่งเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุเพื่อให้สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้
จากการสารวจข้อมูลประชากรหมู่บ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า ประชากร
มีผู้สูงอายุในปีงบประมาณ 2555 จานวน 137 คน จากประชากรทั้งหมด 435 คน คิดเป็นร้อยละ 31.49 และมี
ผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังจานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 29.92 นอกจากนี้ผลการสารวจข้อมูลผู้สูงอายุใน
หมู่บ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ในปี 2555 จานวน60 คน พบว่ามีความรู้เกี่ยวกับ
การออกกาลังกายในระดับปานกลาง ( ร้อยละ 30 ) ด้านการปฏิบัติเกี่ยวกับการออกกาลังกายส่วนใหญ่ไม่ค่อย
4
ออกกาลังกาย ( ร้อยละ 94.16 ) และผู้สูงอายุที่จะออกกาลังกายเป็นกลุ่ม มีผู้นาในการออกกาลังกายและมีการ
ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
แนวทางในการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับกลุ่ม การรับรู้ความเชื่อด้าน
สุขภาพ เป็นทฤษฏีที่ใช้ในการอธิบายและทานายพฤติกรรมการป้องกันโรค โดยกล่าวว่าการที่บุคคลจะมี
พฤติกรรมสุขภาพหลีกเลี่ยงจากการเป็นโรค จะต้องมีความเชื่อหรือรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคและรับรู้ว่าโรค
นั้นมีความรุนแรงและมีผลกระทบต่อการดารงชีวิต การปฏิบัติที่เหมาะสมจะเกิดผลดีในการลดโอกาสเสี่ยงต่อการ
เกิดโรคหรือช่วยลดความรุนแรงของการเกิดโรคโดยไม่มีอุปสรรคต่อการปฏิบัติ ( Rosenstock ,1947 ) ซึ่งหาก
ผู้สูงอายุมีการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคจะมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการบริโภคอาหาร ออกกาลังกาย
และการผ่อนคลายความเครียดอย่างเหมาะสมช่วยป้องกันการเกิดโรคได้
ความสาคัญและประโยชน์ของการออกกาลังกายที่เกิดขึ้นกับร่างกายนั้น คือ ระบบการทางานต่าง ๆ
ภายในร่างกายมีประสิทธิภาพสูงขึ้นสามารถเป็นเกราะป้องกันภัยจากโรคร้ายต่าง ๆ ได้เสริมสร้างสติปัญญา สุขุม
รอบคอบ อารมณ์เยือกเย็น ส่วนอีกด้านหนึ่งที่เกิดกับสังคม การออกกาลังกายร่วมกันหลาย ๆ คน ก่อให้เกิด
สังคมสมานฉันท์อาทรต่อกัน เป็นสังคมพึ่งพาเกื้อกูลกันเพื่อความอยู่ดีมีสุขของคนในสังคม
ดังนั้น กล่าวไก้ว่า การออกกาลังกาย หมายถึง การที่ร่างกายได้มีการเคลื่อนไหว ระบบ ต่าง ๆ ของร่างกาย
ทาให้ระบบการไหลเวียนของเลือดได้มีการสูบฉีดเลือดเพิ่มมากขึ้น และระบบ กล้ามเนื้อทุกส่วนของร่างกายได้มี
การยืดหดและคลายกล้ามเนื้อ โดยใช้กิจกรรมต่าง ๆ เช่น วิ่งเบาๆ เดิน การบริหารร่างกาย การยกน้าหนัก แอโร
บิกแดนซ์ ว่ายน้า ขี่จักรยาน เกมและการละเล่นพื้นเมืองเป็นต้น ทาให้สามารถประกอบกิจกรรมงานประจาวันได้
อย่างกระฉับกระเฉง มีภูมิต้านทานโรคสูง มีสมรรถภาพทางกายที่ดี การออกกาลังกายที่ถูกต้องควรมีหลักการ
ออกกาลังกายเพราะหลักการออกกาลังกายจะช่วยบ่งบอกว่าก่อนออกกาลังกายนั้นควรทาอย่างไร บ้าง และ
ลักษณะไหนที่ไม่สมควรออกกาลังกาย เช่น บุคคลที่เจ็บป่วยด้วยโรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคกระดูก ฯลฯ เป็นต้น
การเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวก็จะมีหลัก การออกกาลังกายที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้น หลักการออกกาลังกายจึง
มีความสาคัญอย่างมากสาหรับบุคคลที่จะออกกาลังกายควรที่จะมีการศึกษาถึงความสาคัญของการออกกาลังกายที่
ถูกต้องและเหมาะสมกับตนเอง
นอกจากการออกกาลังกายแล้ว การบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุก็มีผลทาให้ร่งกายแข็งแรงตามวัย
และอารมณ์ก็ยังมีผลต่อสุขภาพด้วยผลแห่งอารมณ์ ไม่ว่าอารมณ์สุข หรือ อารมณ์ทุกข์ จะทาให้ร่างกาย
เปลี่ยนแปลงไปจากปกติและจะมีการแสดงออกของพฤติกรรมและความรู้สึกตามอารมณ์ที่เกิดขึ้น
5
พยาบาลหน้าที่ในการสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบกับประชาชนในพื้นที่บ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง
จังหวัดสุพรรณบุรี มีปัญหาเรื่องการออกกาลังกายจึงมีความจาเป็นต้องศึกษาผลของการให้ความรู้ เรื่อง 3 อ. (
อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย ) ต่อพฤติกรรมการออกกาลังกายอย่างต่อเนื่องของผู้สูงอายุบ้านใหม่ ตาบลดอน
คา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักความรู้ประโยชน์ความสนใจในการออกกาลัง
กายเพื่อให้มีการออกกาลังกายมากยิ่งขึ้นต่อไปในอนาคต
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของผลการทดสอบความรู้ของผู้สูงอายุบ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่
ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ก่อนและหลังให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย )
2. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างพฤติกรรมการออกกาลังกายของผู้สูงอายุบ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่
ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ก่อนและหลังการใช้โปรแกรมให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย )
วิธีการวิจัย
ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไป บ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง
จังหวัดสุพรรณบุรี จานวน 137 คน
2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไปชาวบ้านใหม่ ตาบล ดอนคา อาเภออู่ทอง
จังหวัดสุพรรณบุรี จานวน 60 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ได้มาจากการสมัครใจของผู้สูงอายุ อายุ 60 ปี ขึ้นไปชาวบ้านใหม่
ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีขั้นตอนในการดาเนินงาน ดังนี้
1. เตรียมกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุจานวน 60 คน ทั้งเพศหญิงและเพศชาย อาศัยอยู่ในบ้านใหม่ ต.ดอนคา
อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสมัคiใจเข้าร่วม โดยกาหนดคุณสมบัติเป็นผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60
ปี ขึ้นไป ซึ่งไม่มีอาการของโรคที่เป็นข้อห้ามในการออกกาลังกาย และไม่เป็นโรคจิตหรือประสาท สามารถโต้ตอบ
สื่อความหมายกันได้ทั้งในการตอบสัมภาษณ์รวมทั้งการเข้าร่วมกระบวนการกลุ่มและการออกกาลังกาย
2. ผู้วิจัยและคณะผู้วิจัย สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการออกกาลังกายและความรู้
ก่อนการใช้โปรแกรม
3. จัดกิจกรรมตามโปรแกรมในกลุ่มทดลอง ระยะเวลา 3 สัปดาห์ ดังนี้ แบ่งประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ
ศึกษาทั้งหมด 60 คน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 20 คนให้ประชากรกลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่ม เข้าฐานการ
6
ใช้โปรแกรมให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย ) ซึ่งมีด้วยกันทั้งหมด 3 ฐาน ได้แก่ ฐานที่ 1
เรื่องอาหาร ฐานที่ 2 เรื่องการออกกาลังกาย ฐานที่ 3 เรื่องอารมณ์ โดยแต่ละฐานใช้เวลาฐานละ 15 นาที แล้ว
ให้แต่ละกลุ่มเปลี่ยนฐานจนครบทั้ง 3 ฐาน จากนั้นนามารวมกลุ่มกันเป็นกลุ่มเดียว โดยแต่ละฐานใช้เวลาฐานละ
15 นาที แล้วให้แต่ละกลุ่มเปลี่ยนฐานจนครบทั้ง 3 ฐาน จากนั้นมารวมกลุ่มกันเป็นกลุ่มเดียวที่ลานกว้างเพื่อดูการ
สาธิตวิธีการออกกาลังกายและปฏิบัติตามแบบแผนการออกกาลังกายที่เรากาหนดให้เพื่อนากลับไปปฏิบัติต่อเนื่อง
ที่บ้าน จากนั้นให้กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุทั้งหมดจานวน 60 คน ทาแบบสอบถามความรู้หลังให้ความรู้เรื่อง 3 อ.
ผู้วิจัยและผู้ช่วยวิจัย ติดตามสังเกต ผู้สูงอายุมีการออกกาลังกายเป็นกลุ่มในหมู่บ้านและด้วยตัวเองที่บ้าน บันทึก
การปฏิบัติตัวในการออกกาลังกาย โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ติดต่อกัน 3 สัปดาห์ดา แล้วใช้
แบบสอบถามสัมภาษณ์ผู้สูงอายุ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ติดต่อทาหนังสือถึงผู้ใหญ่บ้าน บ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อขอความ
ร่วมมือในการเก็บข้อมูล
2. ผู้วิจัยดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กาหนดไว้ เมื่อได้กลุ่มตัวอย่างแล้ว
ผู้วิจัยขอความร่วมมือในการทาวิจัยพร้อมทั้งชี้แจงวัตถุประสงค์ของการทาวิจัยให้ทราบ
3. ผู้วิจัยนาแบบสอบถามและแบบทดสอบความรู้ไปดาเนินการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
จานวน 60 คน โดยผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง
4. ผู้วิจัยนาแบบสอบถามและแบบทดสอบความรู้ที่ได้แล้วมาตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูล เพื่อนามา
จัดกระทาและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติต่อไป
การวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลดังนี้
1. นาแบบสอบถามข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างมาแจกแจงค่าความถี่และค่าร้อยละ
2. เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบความรู้ก่อนและหลังให้ความรู้เรื่อง 3 อ. (
อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย )
3. ปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการออกกาลังกายก่อนและหลังให้ความรู้เรื่อง 3 อ. (
อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย )
7
ผลการวิจัย
ผลของความรู้ของผู้สูงอายุบ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรีก่อนและหลังให้ความรู้
เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย ) ผู้สูงอายุ มีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับ อาหาร อารมณ์ และ การ
ออกกาลังกายก่อนและหลังใช้โปรแกรมแตกต่างกันโดยใช้สถิติ paired samples T Test ได้ดังนี้ ค่าเฉลี่ย
( Mean ) ก่อนการใช้โปรแกรม 2.4500 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D. ) .72311 , ค่าเฉลี่ย ( Mean ) หลัง
การใช้โปรแกรม 2.8667 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) . 34280 ( ตาราง 4.2.2 ) พอทดสอบความแตกต่าง
ก่อนและหลังให้ความรู้กลุ่มตัวอย่างได้ค่า เฉลี่ย ( Mean ) .41667 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน( S.D. ) .61868 ค่า
t = 5.217 , df = 59 , sig. = .000 ( ตาราง 4.2.3 ) แสดงว่ายอมรับสมมติฐานที่ว่า ความรู้ก่อนและหลังการใช้
โปรแกรมให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย ) ของผู้สูงอายุบ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่
ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
Score level จานวนคน(n=60) จานวนคน(n=60)
Pre-test percent Post-test percent
0-3
4-6
7-8
8
17
35
13.3
28.3
58.3
0
8
52
0
13.3
86.7
total 60 100 60 100
ตาราง 1 แสดงระดับคะแนนก่อนและหลังให้ความรู้
Mean Std.
Deviation
Pair
1
postTes
t
2.8667 .34280
preTest 2.4500 .72311
8
ตาราง 2 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าเฉลี่ยมาตรฐานของ ความรู้ก่อนและหลังให้ความรู้เรื่อง 3 อ.
Pair 1 Post-Test - Pre-
Test
Mean Std. Deviation t df Sig.
.41667 .61868 5.217 59 .000
ตาราง 3 แสดงค่าความแตกต่างระหว่าง Post-Test - Pre-Test โดยใช้ pair sample T Test
เห็นได้ชัดว่ากลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับอาหาร อารมณ์ และการออกกาลังกาย
ก่อนการทดลองและหลังการทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) และกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ย
พฤติกรรมการออกกาลังกาย ก่อนการทดลองกับหลังการทดลองใช้โปรแกรมให้ความรู้เรื่อง 3 อ. แตกต่างกันอย่าง
มีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05)
อภิปรายผล
การวิจัยกึ่งทดลอง โดยทาการวัดก่อนและหลังการทดลอง ใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ 60 ตน ซึ่งได้จาก
ความสมัครใจ ดาเนินการวิจัยตั้งแต่ วันที่ 3 สิงหาคม - 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้กลุ่ม
ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมการออกกาลังกาย ในพื้นที่บ้านใหม่ ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.
สุพรรณบุรี จานวน 60 คน โดยในการศึกษาใช้การสัมภาษณ์ประกอบแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บ
รวบรวมข้อมูล โดยแบ่งแบบสอบถามเป็น 2 ส่วนคือ ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกาลังกาย ของ
บ้านใหม่ ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรีรวมทั้งใช้ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิงงานวิจัยต่างๆ
รวมถึงบทความต่างๆที่เกี่ยวข้อง คลอดจนการสืบค้น จากทางสื่ออิเลคทรอนิคส์ต่างๆนอกจากนี้ยังใช้ข้อมูลที่ได้
จากการสังเกตการอย่างมีส่วนร่วมมาใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์และในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยได้
วิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลโดยอาศัยแนวคิดทฤษฎีที่กาหนดไว้ ผลการศึกษาพบว่า. ผู้สูงอายุ กลุ่มทดลองมี
ค่าเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับอาหาร อารมณ์ และการออกกาลังกายก่อนการทดลองและหลังการทดลองแตกต่างกัน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ศราวัลย์ อิ่มอุดม (2548) ได้ศึกษาการ
ประยุกต์รูปแบบพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการออกกาลังกายที่ถูกต้องใน
ผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านสาราญ อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น พบว่า หลังการทดลองกลุ่มผู้สูงอายุในกลุ่มทดลองมี
9
ค่าเฉลี่ยของคะแนนด้านความรู้เกี่ยวกับการออกกาลังกายสูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่าง
มีนัยสาคัญทางสถิติ. ผู้สูงอายุกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการออกกาลังกาย ก่อนการทดลองกับหลังการ
ทดลองใช้โปรแกรมให้ความรู้เรื่อง 3 อ. แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ(p<0.05)ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษา
ของ สุรศักดิ์ อธิคมานนท์ (2541) ที่ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาซึ่งประยุกต์แนวคิดแบบจาลอง
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ในกลุ่มผู้สูงอายุในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่ม
เปรียบเทียบโดยกลุ่มทอลองจะได้รับกิจกรรมตามโปรแกรมสุขศึกษาประกอบ ด้วยการจัดประสบการณ์เรียนรู้ การ
สาธิตและการฝึกปฏิบัติรวมทั้งกระตุ้นเตือน การปฏิบัติส่งเสริมสุขภาพ พบว่าผู้สูงอายุกลุ่มทดลองมีการปฏิบัติ
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพคัดสรรโดยรวมสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
สรุปผล
พบว่า หลังการทดลองผู้สูงอายุมีค่าเฉลี่ยด้านความรู้เรื่อง 3 อ. และพฤติกรรมการออกกาลังกายเพิ่มขึ้นจากก่อน
การทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p< 0.05)
10
บรรณานุกรม
กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๔๒). คูมือดูแลตนเองเบื้องตนเรื่องเบาหวานสาหรับผู เสี่ยงตอโรค
และผูเปนโรค. พิมพครั้งที่ ๖. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จากัด.
จันทรา บริสุทธิ์. (๒๕๔0). การศึกษาพฤติกรรมสุขภาพของผูหญิงโรคเบาหวานในภาคเหนือตอนล่าง. วิทยานิ
พนธปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผูใหญ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล.
จิริยา อินทนา และนิตยา พันธุเวช. (๒๕๔๒). ความสัมพันธระหวางปจจัยที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง
ของผูปวยเบาหวานชนิดไมพึ่งอินซูลิน โรงพยาบาลราชบุรี. ภาควิชาการพยาบาลผูใหญและผูสูงอายุ
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีราชบุรี.
นอมจิตย สกุลพันธุ. (๒๕๓๕). ความสัมพันธระหวางการสนับสนุนทางสังคมปจจัยที่เกี่ยวของกับ พฤติกรรมการ
ดูแลตนเองโรคเบาหวาน. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตรบัณฑิต
วิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล.
เพ็ญจันทร เสรีนิวิวัฒนา. (๒๕๔๑). การศึกษาพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของผูสูงอายุโรคเบาหวาน, คณะ
แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช. วารสารพยาบาลศาสตร ปที่16 ฉบับที่
4., กรุงเทพฯ.
พรทิวา อินทรพรหม. (๒๕๓๙). ผลการดูแลสุขภาพอนามัยที่บานตอการรับรูความสามารถในการดูแล ตนเองและ
ภาวะสุขภาพของผูปวยเบาหวาน. วิทยานิพนธปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาล
อายุรศาสตรและศัลยศาสตรบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล.
พวงพะยอม การภิญโญ. (๒๕๓๕). การศึกษาความสัมพันธระหวางความเชื่อดานสุขภาพกับความรวมมือในการ
รักษาของผูปวยโรคเบาหวาน. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขา พยาบาลศาสตรบัณฑิต
วิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล.

More Related Content

What's hot

คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิUtai Sukviwatsirikul
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCChuchai Sornchumni
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557Utai Sukviwatsirikul
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11wichien wongwan
 
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทยขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทยVorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sarita Witesd
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderlytaem
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขChuchai Sornchumni
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (18)

คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
 
In side-100 story-001-248[1][19]
In side-100 story-001-248[1][19]In side-100 story-001-248[1][19]
In side-100 story-001-248[1][19]
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
 
District Health System : DHS
District Health System : DHSDistrict Health System : DHS
District Health System : DHS
 
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทยขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
 
Work com602 28&amp;41
Work com602 28&amp;41Work com602 28&amp;41
Work com602 28&amp;41
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
Ortho osteoarthritis
Ortho osteoarthritisOrtho osteoarthritis
Ortho osteoarthritis
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 

Similar to 58210401213 งาน 1 ss

แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 Phet103
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยDMS Library
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1sonsukda
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136Makin Puttaisong
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23Phet103
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01Bunsita Baisang
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01Bunsita Baisang
 
2562 final-project 40
2562 final-project 402562 final-project 40
2562 final-project 40ssuserceb50d
 
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชนแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชนChakkraphan Phetphum
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินัง
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินังSlide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินัง
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินังAiman Sadeeyamu
 

Similar to 58210401213 งาน 1 ss (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลายสุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 
Sample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyesSample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyes
 
2562 final-project 40
2562 final-project 402562 final-project 40
2562 final-project 40
 
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชนแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินัง
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินังSlide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินัง
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินัง
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Simenar Project
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
 

58210401213 งาน 1 ss

  • 1. 1 บทความงานวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการออกกาลังกายก่อนและหลังการใช้โปรแกรมให้ความรู้ เรื่อง อาหาร อารมณ์ อกกาลังกายของผู้สูงอายุ บ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี รศ.ลาวัณย์ ผลสมภพ* นีรชา อินนวล** จันทรรัศม์ ไตรย์ปักษ์** คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น กาญจนบุรี บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการออกกาลังกาย ของผู้สูงอายุบ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ก่อนและหลังการให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป จานวน 60 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ได้มาจากการสมัครใจของผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไปชาวบ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังการให้ความรู้ เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย ) และแบบวัดพฤติกรรมการออกกาลังกาย การวิเคราะห์ข้อมูล โดย นาแบบสอบถามข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างมาแจกแจงค่าความถี่และค่าร้อยละ เปรียบเทียบความ แตกต่างของค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบความรู้ก่อนและหลังให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย ) เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการออกกาลังกายก่อนและหลังให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย ) เป็นเวลา 3 สัปดาห์ และติดตามผลหลังการให้ความรู้ ผลการศึกษาพบว่า พบว่า หลัง การทดลองผู้สูงอายุมีค่าเฉลี่ยด้านความรู้เรื่อง 3 อ. และพฤติกรรมการออกกาลังกายเพิ่มขึ้นจากก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p< 0.05) จากผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการออกกาลังกายคือต้องการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี ลดอาการปวดเมื่อยจากการทางาน ควรมีหน่วยงานที่จะให้ความรู้ สร้างสุขภาพกับพฤติกรรมการออกกาลังกาย ของประชาชน เพื่อปลูกจิตสานึกในการให้ความสาคัญต่อสุขภาพและการออกกาลังกาย
  • 2. 2 Effects of the knowledge of the food emotions and exercise to the exercise behavior of Aging in Banmai Donca Uthong Suphanburi ABSTRACT This study is an semi experimental study to investigate the effect of the exercise behaviors of aging at Banmai Donca Uthong Suphanburi. Before and after the knowledge of the third factors (food emotions and exercise ) The sample used in the study were aged 60 years and older were 60 samples used in this study were derived from the application. minds of elderly people aged 60 years at Banmai Donca Uthong Suphanburi. The tool uses a knowledge test before and after the knowledge of the third factors (based on exercise) and exercise behavior. Analysis of the survey data are the basis of the samples was analyzed using frequency and percentage. Compare the difference of the average of the test results before and after the application of knowledge to the knowledge of the third factors (food, emotions exercise,) to compare the difference in mean exercise behavior before and after the application of knowledge. for 3 weeks, and follow after knowledge. The results revealed that the aging have found that the experimental value of the knowledge of the third factors, and exercise behavior increased from the pretest. Statistical significance (p <0.05). The results of this study show that exercise is like a healthy body and good mental health. Relieve pain from work. Agencies should be aware of. Health and exercise behavior of individuals. To raise awareness of the importance of health and fitness.
  • 3. 3 บทนา การออกกาลังกายเป็นพฤติกรรมสุขภาพที่ดีต่อทุกเพศทุกวัย ซึ่งมีประโยชน์ทาให้ระบบต่างๆ ของร่างกาย ทางานดีขึ้น ทาให้คลายเครียดและทาให้อายุยืน ( กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2548 : 9 ) ผู้ที่ขาดการ ออกกาลังกายจะมีปัญหาสุขภาพและเป็นสาเหตุให้ตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็น 2 เท่าของคนออกกาลัง กาย ( ประมาณ 2 ล้านคนต่อปี ) และเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด 2 เท่า โรคเบาหวาน type 2 ( ร้อยละ 90 ) โรคอ้วน ( ร้อยละ 40 ) ความดันโลหิตสูง ( ร้อยละ 30 ) ฯลฯ ( WHO. 2002 : 23-25 ) ประเทศไทยพบว่าสาเหตุการตายจากโรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคเบาหวานอยู่ในระดับต้น ๆ ของประเทศ นอกจากนี้การสารวจพฤติกรรมการออกกาลังกายของประชากรไทยปี พ.ศ. 2540 พบว่า ประชากรทั่วประเทศ ประมาณ 53.9 ล้านคน จะมีผู้ออกกาลังกายเพียงประมาณ 16.6 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 30.7 ล้านคนและมีผู้ ไม่ออกกาลังกายถึงประมาณ 37.4 ล้านคน ร้อยละ 69.93 และยังพบว่าการเล่นกีฬาลดลงเมื่ออายุเพิ่มขึ้น คือ ประชากรตั้งแต่อายุ 60 ปีขึ้นไป ออกกาลังกายเพียงร้อยละ 3.9 ( ประพิณพันธ์ ศรีสวรรค์. 2549 : 25 ) ส่วนใหญ่ ในกลุ่มอายุ 25-59 ปี ซึ่งเป็นคนที่อยู่ในวัยทางาน ออกกาลังกายเพียงร้อยละ 9.6 ในขณะที่เด็กอายุ 6-14 ปีจะ ออกกาลังกายมากที่สุดคือร้อยละ 82.2 สาเหตุของผู้ไม่ออกกาลังกายเนื่องจากไม่มีเวลา ร้อยละ 51.4 และไม่สนใจ ร้อยละ 40.4 ( สานักงานสถิติแห่งชาติ. 2540 : 36 ) จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าคนไทยส่วนใหญ่ขาดการ ออกกาลังกาย จะส่งผลให้กลุ่มคนเหล่านี้เป็นโรคได้ง่ายเมื่ออายุมากขึ้น ผู้สูงอายุมีจานวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในปี พ.ศ. 2543 พบว่ามีประชากร 62.3 ล้านคน มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป 5.7 ล้านคน ทาให้จานวนผู้สูงอายุเจ็บป่วยเพิ่มขึ้นด้วยมีการเจ็บป่วยจากสาเหตุต่างๆ ในแต่ละเดือน ถึงร้อยละ 43.6 นอกจากนี้จากการสารวจสาเหตุการตายที่สาคัญในผู้สูงอายุพบว่าผู้สูงอายุตายโรคหัวใจ ในปี พ.ศ. 2542 - 2544 มีอัตราตายต่อประชากร 100,000 คน เท่ากับ 257.7,179.9,182.2 ตามลาดับ ผู้สูงอายุตาย ด้วยโรคเบาหวานในปี พ.ศ. 2542 - 2544 มีอัตราการตาย 74.8,82.1,88.4ตามลาดับ ( กระทรวงสาธารณสุข. 2545 : 10 ) ดังนั้น จึงควรมีการส่งเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุเพื่อให้สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ จากการสารวจข้อมูลประชากรหมู่บ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า ประชากร มีผู้สูงอายุในปีงบประมาณ 2555 จานวน 137 คน จากประชากรทั้งหมด 435 คน คิดเป็นร้อยละ 31.49 และมี ผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังจานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 29.92 นอกจากนี้ผลการสารวจข้อมูลผู้สูงอายุใน หมู่บ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ในปี 2555 จานวน60 คน พบว่ามีความรู้เกี่ยวกับ การออกกาลังกายในระดับปานกลาง ( ร้อยละ 30 ) ด้านการปฏิบัติเกี่ยวกับการออกกาลังกายส่วนใหญ่ไม่ค่อย
  • 4. 4 ออกกาลังกาย ( ร้อยละ 94.16 ) และผู้สูงอายุที่จะออกกาลังกายเป็นกลุ่ม มีผู้นาในการออกกาลังกายและมีการ ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ แนวทางในการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับกลุ่ม การรับรู้ความเชื่อด้าน สุขภาพ เป็นทฤษฏีที่ใช้ในการอธิบายและทานายพฤติกรรมการป้องกันโรค โดยกล่าวว่าการที่บุคคลจะมี พฤติกรรมสุขภาพหลีกเลี่ยงจากการเป็นโรค จะต้องมีความเชื่อหรือรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคและรับรู้ว่าโรค นั้นมีความรุนแรงและมีผลกระทบต่อการดารงชีวิต การปฏิบัติที่เหมาะสมจะเกิดผลดีในการลดโอกาสเสี่ยงต่อการ เกิดโรคหรือช่วยลดความรุนแรงของการเกิดโรคโดยไม่มีอุปสรรคต่อการปฏิบัติ ( Rosenstock ,1947 ) ซึ่งหาก ผู้สูงอายุมีการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคจะมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการบริโภคอาหาร ออกกาลังกาย และการผ่อนคลายความเครียดอย่างเหมาะสมช่วยป้องกันการเกิดโรคได้ ความสาคัญและประโยชน์ของการออกกาลังกายที่เกิดขึ้นกับร่างกายนั้น คือ ระบบการทางานต่าง ๆ ภายในร่างกายมีประสิทธิภาพสูงขึ้นสามารถเป็นเกราะป้องกันภัยจากโรคร้ายต่าง ๆ ได้เสริมสร้างสติปัญญา สุขุม รอบคอบ อารมณ์เยือกเย็น ส่วนอีกด้านหนึ่งที่เกิดกับสังคม การออกกาลังกายร่วมกันหลาย ๆ คน ก่อให้เกิด สังคมสมานฉันท์อาทรต่อกัน เป็นสังคมพึ่งพาเกื้อกูลกันเพื่อความอยู่ดีมีสุขของคนในสังคม ดังนั้น กล่าวไก้ว่า การออกกาลังกาย หมายถึง การที่ร่างกายได้มีการเคลื่อนไหว ระบบ ต่าง ๆ ของร่างกาย ทาให้ระบบการไหลเวียนของเลือดได้มีการสูบฉีดเลือดเพิ่มมากขึ้น และระบบ กล้ามเนื้อทุกส่วนของร่างกายได้มี การยืดหดและคลายกล้ามเนื้อ โดยใช้กิจกรรมต่าง ๆ เช่น วิ่งเบาๆ เดิน การบริหารร่างกาย การยกน้าหนัก แอโร บิกแดนซ์ ว่ายน้า ขี่จักรยาน เกมและการละเล่นพื้นเมืองเป็นต้น ทาให้สามารถประกอบกิจกรรมงานประจาวันได้ อย่างกระฉับกระเฉง มีภูมิต้านทานโรคสูง มีสมรรถภาพทางกายที่ดี การออกกาลังกายที่ถูกต้องควรมีหลักการ ออกกาลังกายเพราะหลักการออกกาลังกายจะช่วยบ่งบอกว่าก่อนออกกาลังกายนั้นควรทาอย่างไร บ้าง และ ลักษณะไหนที่ไม่สมควรออกกาลังกาย เช่น บุคคลที่เจ็บป่วยด้วยโรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคกระดูก ฯลฯ เป็นต้น การเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวก็จะมีหลัก การออกกาลังกายที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้น หลักการออกกาลังกายจึง มีความสาคัญอย่างมากสาหรับบุคคลที่จะออกกาลังกายควรที่จะมีการศึกษาถึงความสาคัญของการออกกาลังกายที่ ถูกต้องและเหมาะสมกับตนเอง นอกจากการออกกาลังกายแล้ว การบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุก็มีผลทาให้ร่งกายแข็งแรงตามวัย และอารมณ์ก็ยังมีผลต่อสุขภาพด้วยผลแห่งอารมณ์ ไม่ว่าอารมณ์สุข หรือ อารมณ์ทุกข์ จะทาให้ร่างกาย เปลี่ยนแปลงไปจากปกติและจะมีการแสดงออกของพฤติกรรมและความรู้สึกตามอารมณ์ที่เกิดขึ้น
  • 5. 5 พยาบาลหน้าที่ในการสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบกับประชาชนในพื้นที่บ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี มีปัญหาเรื่องการออกกาลังกายจึงมีความจาเป็นต้องศึกษาผลของการให้ความรู้ เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย ) ต่อพฤติกรรมการออกกาลังกายอย่างต่อเนื่องของผู้สูงอายุบ้านใหม่ ตาบลดอน คา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักความรู้ประโยชน์ความสนใจในการออกกาลัง กายเพื่อให้มีการออกกาลังกายมากยิ่งขึ้นต่อไปในอนาคต วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของผลการทดสอบความรู้ของผู้สูงอายุบ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ก่อนและหลังให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย ) 2. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างพฤติกรรมการออกกาลังกายของผู้สูงอายุบ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ก่อนและหลังการใช้โปรแกรมให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย ) วิธีการวิจัย ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไป บ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จานวน 137 คน 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไปชาวบ้านใหม่ ตาบล ดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จานวน 60 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ได้มาจากการสมัครใจของผู้สูงอายุ อายุ 60 ปี ขึ้นไปชาวบ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีขั้นตอนในการดาเนินงาน ดังนี้ 1. เตรียมกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุจานวน 60 คน ทั้งเพศหญิงและเพศชาย อาศัยอยู่ในบ้านใหม่ ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสมัคiใจเข้าร่วม โดยกาหนดคุณสมบัติเป็นผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป ซึ่งไม่มีอาการของโรคที่เป็นข้อห้ามในการออกกาลังกาย และไม่เป็นโรคจิตหรือประสาท สามารถโต้ตอบ สื่อความหมายกันได้ทั้งในการตอบสัมภาษณ์รวมทั้งการเข้าร่วมกระบวนการกลุ่มและการออกกาลังกาย 2. ผู้วิจัยและคณะผู้วิจัย สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการออกกาลังกายและความรู้ ก่อนการใช้โปรแกรม 3. จัดกิจกรรมตามโปรแกรมในกลุ่มทดลอง ระยะเวลา 3 สัปดาห์ ดังนี้ แบ่งประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ ศึกษาทั้งหมด 60 คน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 20 คนให้ประชากรกลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่ม เข้าฐานการ
  • 6. 6 ใช้โปรแกรมให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย ) ซึ่งมีด้วยกันทั้งหมด 3 ฐาน ได้แก่ ฐานที่ 1 เรื่องอาหาร ฐานที่ 2 เรื่องการออกกาลังกาย ฐานที่ 3 เรื่องอารมณ์ โดยแต่ละฐานใช้เวลาฐานละ 15 นาที แล้ว ให้แต่ละกลุ่มเปลี่ยนฐานจนครบทั้ง 3 ฐาน จากนั้นนามารวมกลุ่มกันเป็นกลุ่มเดียว โดยแต่ละฐานใช้เวลาฐานละ 15 นาที แล้วให้แต่ละกลุ่มเปลี่ยนฐานจนครบทั้ง 3 ฐาน จากนั้นมารวมกลุ่มกันเป็นกลุ่มเดียวที่ลานกว้างเพื่อดูการ สาธิตวิธีการออกกาลังกายและปฏิบัติตามแบบแผนการออกกาลังกายที่เรากาหนดให้เพื่อนากลับไปปฏิบัติต่อเนื่อง ที่บ้าน จากนั้นให้กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุทั้งหมดจานวน 60 คน ทาแบบสอบถามความรู้หลังให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ผู้วิจัยและผู้ช่วยวิจัย ติดตามสังเกต ผู้สูงอายุมีการออกกาลังกายเป็นกลุ่มในหมู่บ้านและด้วยตัวเองที่บ้าน บันทึก การปฏิบัติตัวในการออกกาลังกาย โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ติดต่อกัน 3 สัปดาห์ดา แล้วใช้ แบบสอบถามสัมภาษณ์ผู้สูงอายุ การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ติดต่อทาหนังสือถึงผู้ใหญ่บ้าน บ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อขอความ ร่วมมือในการเก็บข้อมูล 2. ผู้วิจัยดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กาหนดไว้ เมื่อได้กลุ่มตัวอย่างแล้ว ผู้วิจัยขอความร่วมมือในการทาวิจัยพร้อมทั้งชี้แจงวัตถุประสงค์ของการทาวิจัยให้ทราบ 3. ผู้วิจัยนาแบบสอบถามและแบบทดสอบความรู้ไปดาเนินการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จานวน 60 คน โดยผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง 4. ผู้วิจัยนาแบบสอบถามและแบบทดสอบความรู้ที่ได้แล้วมาตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูล เพื่อนามา จัดกระทาและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติต่อไป การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ 1. นาแบบสอบถามข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างมาแจกแจงค่าความถี่และค่าร้อยละ 2. เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบความรู้ก่อนและหลังให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย ) 3. ปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการออกกาลังกายก่อนและหลังให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย )
  • 7. 7 ผลการวิจัย ผลของความรู้ของผู้สูงอายุบ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรีก่อนและหลังให้ความรู้ เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย ) ผู้สูงอายุ มีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับ อาหาร อารมณ์ และ การ ออกกาลังกายก่อนและหลังใช้โปรแกรมแตกต่างกันโดยใช้สถิติ paired samples T Test ได้ดังนี้ ค่าเฉลี่ย ( Mean ) ก่อนการใช้โปรแกรม 2.4500 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D. ) .72311 , ค่าเฉลี่ย ( Mean ) หลัง การใช้โปรแกรม 2.8667 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) . 34280 ( ตาราง 4.2.2 ) พอทดสอบความแตกต่าง ก่อนและหลังให้ความรู้กลุ่มตัวอย่างได้ค่า เฉลี่ย ( Mean ) .41667 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน( S.D. ) .61868 ค่า t = 5.217 , df = 59 , sig. = .000 ( ตาราง 4.2.3 ) แสดงว่ายอมรับสมมติฐานที่ว่า ความรู้ก่อนและหลังการใช้ โปรแกรมให้ความรู้เรื่อง 3 อ. ( อาหาร อารมณ์ ออกกาลังกาย ) ของผู้สูงอายุบ้านใหม่ ตาบลดอนคา อาเภออู่ ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 Score level จานวนคน(n=60) จานวนคน(n=60) Pre-test percent Post-test percent 0-3 4-6 7-8 8 17 35 13.3 28.3 58.3 0 8 52 0 13.3 86.7 total 60 100 60 100 ตาราง 1 แสดงระดับคะแนนก่อนและหลังให้ความรู้ Mean Std. Deviation Pair 1 postTes t 2.8667 .34280 preTest 2.4500 .72311
  • 8. 8 ตาราง 2 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าเฉลี่ยมาตรฐานของ ความรู้ก่อนและหลังให้ความรู้เรื่อง 3 อ. Pair 1 Post-Test - Pre- Test Mean Std. Deviation t df Sig. .41667 .61868 5.217 59 .000 ตาราง 3 แสดงค่าความแตกต่างระหว่าง Post-Test - Pre-Test โดยใช้ pair sample T Test เห็นได้ชัดว่ากลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับอาหาร อารมณ์ และการออกกาลังกาย ก่อนการทดลองและหลังการทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) และกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ย พฤติกรรมการออกกาลังกาย ก่อนการทดลองกับหลังการทดลองใช้โปรแกรมให้ความรู้เรื่อง 3 อ. แตกต่างกันอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) อภิปรายผล การวิจัยกึ่งทดลอง โดยทาการวัดก่อนและหลังการทดลอง ใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ 60 ตน ซึ่งได้จาก ความสมัครใจ ดาเนินการวิจัยตั้งแต่ วันที่ 3 สิงหาคม - 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมการออกกาลังกาย ในพื้นที่บ้านใหม่ ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ. สุพรรณบุรี จานวน 60 คน โดยในการศึกษาใช้การสัมภาษณ์ประกอบแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูล โดยแบ่งแบบสอบถามเป็น 2 ส่วนคือ ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกาลังกาย ของ บ้านใหม่ ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรีรวมทั้งใช้ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิงงานวิจัยต่างๆ รวมถึงบทความต่างๆที่เกี่ยวข้อง คลอดจนการสืบค้น จากทางสื่ออิเลคทรอนิคส์ต่างๆนอกจากนี้ยังใช้ข้อมูลที่ได้ จากการสังเกตการอย่างมีส่วนร่วมมาใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์และในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยได้ วิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลโดยอาศัยแนวคิดทฤษฎีที่กาหนดไว้ ผลการศึกษาพบว่า. ผู้สูงอายุ กลุ่มทดลองมี ค่าเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับอาหาร อารมณ์ และการออกกาลังกายก่อนการทดลองและหลังการทดลองแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ศราวัลย์ อิ่มอุดม (2548) ได้ศึกษาการ ประยุกต์รูปแบบพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการออกกาลังกายที่ถูกต้องใน ผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านสาราญ อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น พบว่า หลังการทดลองกลุ่มผู้สูงอายุในกลุ่มทดลองมี
  • 9. 9 ค่าเฉลี่ยของคะแนนด้านความรู้เกี่ยวกับการออกกาลังกายสูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติ. ผู้สูงอายุกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการออกกาลังกาย ก่อนการทดลองกับหลังการ ทดลองใช้โปรแกรมให้ความรู้เรื่อง 3 อ. แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ(p<0.05)ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษา ของ สุรศักดิ์ อธิคมานนท์ (2541) ที่ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาซึ่งประยุกต์แนวคิดแบบจาลอง พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ในกลุ่มผู้สูงอายุในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่ม เปรียบเทียบโดยกลุ่มทอลองจะได้รับกิจกรรมตามโปรแกรมสุขศึกษาประกอบ ด้วยการจัดประสบการณ์เรียนรู้ การ สาธิตและการฝึกปฏิบัติรวมทั้งกระตุ้นเตือน การปฏิบัติส่งเสริมสุขภาพ พบว่าผู้สูงอายุกลุ่มทดลองมีการปฏิบัติ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพคัดสรรโดยรวมสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ สรุปผล พบว่า หลังการทดลองผู้สูงอายุมีค่าเฉลี่ยด้านความรู้เรื่อง 3 อ. และพฤติกรรมการออกกาลังกายเพิ่มขึ้นจากก่อน การทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p< 0.05)
  • 10. 10 บรรณานุกรม กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๔๒). คูมือดูแลตนเองเบื้องตนเรื่องเบาหวานสาหรับผู เสี่ยงตอโรค และผูเปนโรค. พิมพครั้งที่ ๖. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จากัด. จันทรา บริสุทธิ์. (๒๕๔0). การศึกษาพฤติกรรมสุขภาพของผูหญิงโรคเบาหวานในภาคเหนือตอนล่าง. วิทยานิ พนธปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผูใหญ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล. จิริยา อินทนา และนิตยา พันธุเวช. (๒๕๔๒). ความสัมพันธระหวางปจจัยที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง ของผูปวยเบาหวานชนิดไมพึ่งอินซูลิน โรงพยาบาลราชบุรี. ภาควิชาการพยาบาลผูใหญและผูสูงอายุ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีราชบุรี. นอมจิตย สกุลพันธุ. (๒๕๓๕). ความสัมพันธระหวางการสนับสนุนทางสังคมปจจัยที่เกี่ยวของกับ พฤติกรรมการ ดูแลตนเองโรคเบาหวาน. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล. เพ็ญจันทร เสรีนิวิวัฒนา. (๒๕๔๑). การศึกษาพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของผูสูงอายุโรคเบาหวาน, คณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช. วารสารพยาบาลศาสตร ปที่16 ฉบับที่ 4., กรุงเทพฯ. พรทิวา อินทรพรหม. (๒๕๓๙). ผลการดูแลสุขภาพอนามัยที่บานตอการรับรูความสามารถในการดูแล ตนเองและ ภาวะสุขภาพของผูปวยเบาหวาน. วิทยานิพนธปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาล อายุรศาสตรและศัลยศาสตรบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล. พวงพะยอม การภิญโญ. (๒๕๓๕). การศึกษาความสัมพันธระหวางความเชื่อดานสุขภาพกับความรวมมือในการ รักษาของผูปวยโรคเบาหวาน. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขา พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล.