SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ใบความรู้
เรือง เครืองมือและหน่วยวัดอุณหภูมิ
อุณหภูมิ คือ คุณสมบัติทางกายภาพของระบบ โดยจะใช้เพือแสดงถึงระดับพลังงานความร้อน
เป็นการแทนความรู้สึกทัวไปของคําว่า "ร้อน" และ "เย็น" โดยสิงทีมีอุณหภูมิสูงกว่าจะถูกกล่าวว่าร้อน
กว่า หน่วย SI ของอุณหภูมิ คือ เคลวิน
เครืองมือทีใช้วัดอุณหภูมิ คือ เทอร์โมมิเตอร์ โดยใช้วัดระดับความร้อน หรืออุณหภูมิของสิง
ต่าง ๆ ซึงสามารถวัดได้ถูกต้องกว่าการวัดโดยใช้ประสาทสัมผัสทางผิวกาย แบ่งตามลักษณะการใช้ได้
2 ประเภท
1. เทอร์โมมิเตอร์แบบธรรมดา
ทีใช้กันทัวไปนันทําด้วยหลอดแก้วยาวปลายทังสองข้างปิด ปลายหลอดข้างหนึง
พองออกเป็นกระเปาะสําหรับบรรจุปรอท หรือแอลกอฮอล์ บนหลอดแก้วมีขีดมาตราส่วนสําหรับ
บอกอุณหภูมิ เมือต้องการวัดสิงใดให้จุ่มกระเปาะอยู่ในสิงนันหรือสัมผัสกับสิงทีจะวัดให้มากทีสุด
และก้านเทอร์โมมิเตอร์ต้องตังตรง เมือระดับปรอทหรือระดับของเหลวในหลอดแก้วคงที จึงอ่าน
2. เทอร์โมมิเตอร์วัดไข้
2.1 แบบดิจิตอล จะแสดงอุณหภูมิออกมาเป็นตัวเลข
2.2 แบบบรรจุปรอท จะมีลักษณะคล้ายกับเทอร์โมมิเตอร์แบบธรรมดา แต่การ
แบ่งช่วงอุณหภูมิจะอยู่ระหว่าง 35 – 42 องศาเซลเซียส และมีขนาดสันกว่า
หลักการใช้เทอร์โมมิเตอร์
1. กระเปาะเทอร์โมมิเตอร์ต้องสัมผัสกับสิงทีจะวัด
2. ขณะอ่านค่าอุณหภูมิ เทอร์โมมิเตอร์ต้องตังตรง และสายตาต้องให้อยู่ในระดับเดียวกับ
ของเหลวในเทอร์โมมิเตอร์ และของเหลวต้องคงที
3. ระวังไม่ให้กระเปาะเทอร์โมมิเตอร์กระทบกับของแข็ง
4. เมือใช้เทอร์โมมิเตอร์เสร็จแล้ว ทําความสะอาดให้แห้ง และเก็บเข้ากล่อง
5. ในการวัดอุณหภูมิไม่ควรใช้เทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิทีแตกต่างกันมากในระยะเวลา
ทีต่อเนือง
หน่วยวัดอุณหภูมิ เทอร์โมมิเตอร์ทีใช้วัดโดยทัวไปมีอยู่หลายหน่วย
1. เซลเซียส เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิทีกําหนดให้จุดเยือกแข็งอยู่ที 0 องศา จุดเดือดอยู่ที
100องศา ตัวย่อ ºC
2. ฟาเรนไฮต์ เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิทีกําหนดให้จุดเยือกแข็งอยู่ที 32 องศา จุดเดือดอยู่ที 212
องศา สัญลักษณ์ ใช้ตัวย่อ ºF
3. เคลวิน กําหนดให้จุดเยือกแข็งอยู่ที 273 องศา จุดเดือดอยู่ที 373 องศา ใช้ตัวย่อ K
4. โรเมอร์ กําหนดให้จุดเยือกแข็งอยู่ที 0 องศา จุดเดือดอยู่ที 80 องศา ใช้ตัวย่อ ºR
มาตรฐานวัดหลัก ได้แก่
ภาษาอังกฤษ จุดเยือกแข็งของนํา จุดเดือดของนํา
องศาเซลเซียส Celsius (℃) 0 100
องศาฟาเรนไฮต์ Fahrenheit (℉ ) 32 212
เคลวิน Kelvin (K) 273 373
องศาโรเมอร์ Réaumur (°R) 0 80
โดยมีสูตรการแปลงหน่วยดังนี
•
•
•
เซลเซียส (A. Celsius) เป็นผู้กําหนดเมือปี พ.ศ. 2285 (ค.ศ. 1742) ว่าจุดเยือกแข็งอยู่ที 0 จุด
เดือดอยู่ที 100 หน่วยวัดอุณหภูมิ เซลเซียสนีใช้กันทัวโลกเมือปี พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) (ยกเว้นกลุ่ม
ประเทศ Anglo-Americans)
หน่วยทีใช้วัด อุณหภูมิมีหลายหน่วย เช่น องศาเซลเซียส (°C) องศาฟาเรนไฮต์ (°F)
เคลวิน (K) เป็นต้น ในระบบ SI ใช้หน่วยของอุณหภูมิเป็นเคลวินความสัมพันธ์ของอุณหภูมิองศา
เซลเซียส และเคลวิน คือ T = t + 273
เมือ T คืออุณหภูมิในหน่วยเคลวิน
t คืออุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส
เช่น อุณหภูมิ 27 °C จะมีค่าเป็น 300 K
ความสัมพันธ์ของอุณหภูมิองศาเซลเซียสและองศาฟาเรนไฮต์ เป็นดังนี
จากสเกลแสดงอุณหภูมิทีจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของนําในอุณหภูมิองศาเซลเซียสและ
อุณหภูมิองศาฟาเรนไฮด์ จะได้ว่า 100 ช่วงสเกลของอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียสจะเท่ากับ 180
ช่องสเกลของอุณหภูมิในหน่วยองศาฟาเรนไฮต์เมือ C คือ อุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส
F คือ อุณหภูมิในหน่วยองศาฟาเรนไฮต์
ตัวอย่าง จงเปลียนค่าอุณหภูมิ 30◦
C ให้เป็นหน่วยเคลวิน ฟาเรนไฮต์ และโรเมอร์
วิธีทํา จาก
5
C
=
5
273K −
แทนค่า
5
30
=
5
273K −
∴ K = (6 × 5) + 273 = 303 K
จาก
5
C
=
9
32F −
แทนค่า
5
30
=
9
32F −
∴ F = (6 × 9) + 30 = 86 ◦
F
จาก
5
C
=
4
R
แทนค่า
5
30
=
4
R
∴ R = 6 × 4 = 24◦
R
04 เครื่องมือและหน่วยวัดอุณหภูมิ

More Related Content

What's hot

สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานTanachai Junsuk
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศkrupornpana55
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2dnavaroj
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 

What's hot (20)

สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
หู
หูหู
หู
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 

More from dnavaroj

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisdnavaroj
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...dnavaroj
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559dnavaroj
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...dnavaroj
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.dnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2dnavaroj
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1dnavaroj
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)dnavaroj
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันdnavaroj
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 

More from dnavaroj (20)

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 

04 เครื่องมือและหน่วยวัดอุณหภูมิ

  • 1. ใบความรู้ เรือง เครืองมือและหน่วยวัดอุณหภูมิ อุณหภูมิ คือ คุณสมบัติทางกายภาพของระบบ โดยจะใช้เพือแสดงถึงระดับพลังงานความร้อน เป็นการแทนความรู้สึกทัวไปของคําว่า "ร้อน" และ "เย็น" โดยสิงทีมีอุณหภูมิสูงกว่าจะถูกกล่าวว่าร้อน กว่า หน่วย SI ของอุณหภูมิ คือ เคลวิน เครืองมือทีใช้วัดอุณหภูมิ คือ เทอร์โมมิเตอร์ โดยใช้วัดระดับความร้อน หรืออุณหภูมิของสิง ต่าง ๆ ซึงสามารถวัดได้ถูกต้องกว่าการวัดโดยใช้ประสาทสัมผัสทางผิวกาย แบ่งตามลักษณะการใช้ได้ 2 ประเภท 1. เทอร์โมมิเตอร์แบบธรรมดา ทีใช้กันทัวไปนันทําด้วยหลอดแก้วยาวปลายทังสองข้างปิด ปลายหลอดข้างหนึง พองออกเป็นกระเปาะสําหรับบรรจุปรอท หรือแอลกอฮอล์ บนหลอดแก้วมีขีดมาตราส่วนสําหรับ บอกอุณหภูมิ เมือต้องการวัดสิงใดให้จุ่มกระเปาะอยู่ในสิงนันหรือสัมผัสกับสิงทีจะวัดให้มากทีสุด และก้านเทอร์โมมิเตอร์ต้องตังตรง เมือระดับปรอทหรือระดับของเหลวในหลอดแก้วคงที จึงอ่าน 2. เทอร์โมมิเตอร์วัดไข้ 2.1 แบบดิจิตอล จะแสดงอุณหภูมิออกมาเป็นตัวเลข 2.2 แบบบรรจุปรอท จะมีลักษณะคล้ายกับเทอร์โมมิเตอร์แบบธรรมดา แต่การ แบ่งช่วงอุณหภูมิจะอยู่ระหว่าง 35 – 42 องศาเซลเซียส และมีขนาดสันกว่า หลักการใช้เทอร์โมมิเตอร์ 1. กระเปาะเทอร์โมมิเตอร์ต้องสัมผัสกับสิงทีจะวัด 2. ขณะอ่านค่าอุณหภูมิ เทอร์โมมิเตอร์ต้องตังตรง และสายตาต้องให้อยู่ในระดับเดียวกับ ของเหลวในเทอร์โมมิเตอร์ และของเหลวต้องคงที 3. ระวังไม่ให้กระเปาะเทอร์โมมิเตอร์กระทบกับของแข็ง 4. เมือใช้เทอร์โมมิเตอร์เสร็จแล้ว ทําความสะอาดให้แห้ง และเก็บเข้ากล่อง 5. ในการวัดอุณหภูมิไม่ควรใช้เทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิทีแตกต่างกันมากในระยะเวลา ทีต่อเนือง หน่วยวัดอุณหภูมิ เทอร์โมมิเตอร์ทีใช้วัดโดยทัวไปมีอยู่หลายหน่วย 1. เซลเซียส เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิทีกําหนดให้จุดเยือกแข็งอยู่ที 0 องศา จุดเดือดอยู่ที 100องศา ตัวย่อ ºC
  • 2. 2. ฟาเรนไฮต์ เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิทีกําหนดให้จุดเยือกแข็งอยู่ที 32 องศา จุดเดือดอยู่ที 212 องศา สัญลักษณ์ ใช้ตัวย่อ ºF 3. เคลวิน กําหนดให้จุดเยือกแข็งอยู่ที 273 องศา จุดเดือดอยู่ที 373 องศา ใช้ตัวย่อ K 4. โรเมอร์ กําหนดให้จุดเยือกแข็งอยู่ที 0 องศา จุดเดือดอยู่ที 80 องศา ใช้ตัวย่อ ºR มาตรฐานวัดหลัก ได้แก่ ภาษาอังกฤษ จุดเยือกแข็งของนํา จุดเดือดของนํา องศาเซลเซียส Celsius (℃) 0 100 องศาฟาเรนไฮต์ Fahrenheit (℉ ) 32 212 เคลวิน Kelvin (K) 273 373 องศาโรเมอร์ Réaumur (°R) 0 80 โดยมีสูตรการแปลงหน่วยดังนี • • • เซลเซียส (A. Celsius) เป็นผู้กําหนดเมือปี พ.ศ. 2285 (ค.ศ. 1742) ว่าจุดเยือกแข็งอยู่ที 0 จุด เดือดอยู่ที 100 หน่วยวัดอุณหภูมิ เซลเซียสนีใช้กันทัวโลกเมือปี พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) (ยกเว้นกลุ่ม ประเทศ Anglo-Americans)
  • 3. หน่วยทีใช้วัด อุณหภูมิมีหลายหน่วย เช่น องศาเซลเซียส (°C) องศาฟาเรนไฮต์ (°F) เคลวิน (K) เป็นต้น ในระบบ SI ใช้หน่วยของอุณหภูมิเป็นเคลวินความสัมพันธ์ของอุณหภูมิองศา เซลเซียส และเคลวิน คือ T = t + 273 เมือ T คืออุณหภูมิในหน่วยเคลวิน t คืออุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส เช่น อุณหภูมิ 27 °C จะมีค่าเป็น 300 K ความสัมพันธ์ของอุณหภูมิองศาเซลเซียสและองศาฟาเรนไฮต์ เป็นดังนี จากสเกลแสดงอุณหภูมิทีจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของนําในอุณหภูมิองศาเซลเซียสและ อุณหภูมิองศาฟาเรนไฮด์ จะได้ว่า 100 ช่วงสเกลของอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียสจะเท่ากับ 180 ช่องสเกลของอุณหภูมิในหน่วยองศาฟาเรนไฮต์เมือ C คือ อุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส F คือ อุณหภูมิในหน่วยองศาฟาเรนไฮต์
  • 4. ตัวอย่าง จงเปลียนค่าอุณหภูมิ 30◦ C ให้เป็นหน่วยเคลวิน ฟาเรนไฮต์ และโรเมอร์ วิธีทํา จาก 5 C = 5 273K − แทนค่า 5 30 = 5 273K − ∴ K = (6 × 5) + 273 = 303 K จาก 5 C = 9 32F − แทนค่า 5 30 = 9 32F − ∴ F = (6 × 9) + 30 = 86 ◦ F จาก 5 C = 4 R แทนค่า 5 30 = 4 R ∴ R = 6 × 4 = 24◦ R